SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การเขียน คือ ศิลปะการสื่อสารขอมูลที่กระชับ และชัดเจน         1                                    (ตัวอยางการเขียนบทความยุววิจย)
                                                                                                                                ั
ทุกขอความมีหนาที่และความสําคัญ ไมสามารถตัดได หากตัดออกจะทําใหความหมายเปลี่ยน

           การควบคุมโรครากขาวจากเชื้อรา Rigidoporus lignosus ของตนยางพาราโดยใช
ระยะหางจากขอบกระดาษ
                            เชื้อจุลินทรียปฏิปกษ                     (ชื่อ: Browallia ขนาด 16)
        ขอบบน 2.5 cm
        ขอบซาย 3.0 cm                     อรวรรณ ปยะบุญ* ธนพร จิระวิชชเลิศ และศุทธินี เผือกขาวผอง                        (ที่เหลือ : Browallia ขนาด 12)
        ขอบขวา 1.0 cm                        โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ อ.พุธมณฑล จ.นครปฐม 73170
        ขอบลาง 1.0 cm                                 *E-mail : orawan_bio@mwit.ac.th

บทคัดยอ (เขียนแบบยอเรื่อง บอกวาทําทําไม ทําอยางไร และไดอะไร               microorganisms in laboratory scale, we found, T. harzianum
ไมมีการอางอิง ไมบอกวิธีการ บอกผลเชิงเปรียบเทียบกับปจจุบัน เขียน            (CBPIN01), T. harzianum (PM 51) and G. virens could inhibit
ใหอานรูเรื่องโดยไมตองอานทั้งหมด)                                         the growth of P. parasitica without significantly different
              ยางพาราเป นพื ช เศรษฐกิ จที่ สํ า คั ญ ของประเทศไทย             efficiency (p=0.05). Compared with 100% Calixin, the
เนื่ อ งด ว ยในป จ จุ บั น เกษตรกรประสบป ญ หาโรครากขาว จาก                  antagonistic fungi were equally efficient. For B.
การศึกษาประสิ ทธิ ภาพของจุ ลินทรี ยป ฏิป กษ คือ Trichoderma                 amyloliquefaciens was significantly equally efficient (p=0.05)
harzianum (CBPIN01) Trichoderma harzianum (PM 51)                              with 100% Calixin. After Trichoderma harzianum (CBPIN01),
Chaetomium globosum Gliocladium virens Bacillus subtilis                       Trichoderma harzianum (PM 51), Gliocladium virens, and
Bacillus amyloliquefaciens และStreptomyces aureofaciens ใน                     Bacillus amyloliquefaciens were used to inhibit the growth of
การควบคุมโรครากขาวที่เกิดจากเชื้อรา Rigidoporus lignosus                       P. parasitica on the leaves of Para rubber. We found that T.
ดวยวิธี dual culture โดยมีการวางชิ้นวุนของเชื้อรา R. lignosus                harzianum (CBPIN01), T. harzianum (PM 51), G. virens, and
กั บ จุ ลิ น ทรี ย ป ฏิ ป ก ษ ร ว มกั น ในห อ งปฏิ บั ติ ก าร พบว า T.   Bacillus amyloliquefaciens was significantly equally efficient
harzianum (CBPIN01) T. harzianum (PM 51) และ G. virens                         (p=0.05) with 100% Calixin.
ไมแตกตางกันและมีประสิทธิภาพดีกวาสารเคมี Calixin ความ
เขมขน 100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) สําหรับการ                      Keywords: White root, Antagonistic microorganism, Bioilogical
ยับยั้งเชื้อรา R. lignosus ของเชื้อแบคทีเรีย B. amyloliquefaciens                        control
มีประสิทธิภาพการยับยั้งเทียบเทาสารเคมี Calixin ความเขมขน
100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) หลังจากนั้นจากการ                       1. บทนํา ( แนะนําเขียนบอกใหทราบสถาณการณปจจุบัน มีปญหามีโทษ
ทดลองการควบคุมเชื้อรา R. lignosus ดวยเชื้อรา G. virens เชื้อ                  หรือ ผลกระทบอะไรบาง คาดวาจะคนพบอะไร แสดงความใหมดวยการ
รา T. harzianum (CB-Pin01) เชื้อรา Trichoderma harzianum                       ทบทวนเอกสาร          และชี้ชองวางของความรูที่ขาดเขี้นเปนหัวขอหลังสุด
(PM 51) เชื้อแบคทีเรีย B. amyloliquaefaciens บนใบยางพารา                       เพื่อใหสามารถนําเสนอความคิดเชื่อมไปสูหวขออื่น ๆที่ตามมาไดอยางลื่น
                                                                                                                       ั
                                                                               ไหล )
พบวาประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อรา R. lignosus สาเหตุเกิดโรค
                                                                                        ยางพาราเปนพืชที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ
รากขาวดวยเชื้อรา G. virens เชื้อรา T. harzianum (CB-Pin01)
                                                                               ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเปนพืชเศรษฐกิจหลักของเกษตรกร
เชื้อรา T. harzianum (PM 51) และเชื้อแบคทีเรีย B.
                                                                               ในภาคใต เนื่องจากหลายจังหวัดในภาคใตไดประสบปญหาน้ํา
amyloliquefaciens มีผลเทียบเทากับสารเคมี Calixin ความ
                                                                               ทวม ทําใหเกิดการแพรระบาดของโรครากของยางพาราตามมา
เขมขน100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05)
                                                                               สาเหตุเ กิ ด จากเชื้ อ ราโดยจะเข า ทํ า ลายระบบราก ซึ่ ง หากเกิ ด
คําสําคัญ: โรครากขาว จุลินทรียปฏิปกษ โรคทาทางชีวภาพ                         ระบาดรุนแรงมีผลทําใหตนยางตายกอนกําหนด เกษตรกรตอง
                                                                               สูญเสียทั้งผลผลิตและรายไดไป อีกทั้งการใชสารกําจัดศัตรูพืชใน
Abstract (เขียนหรือไมเขียน abstract ก็ได)                                    การแก ปญ หาเป น ผลให สภาพแวดล อ มถู ก ทํ า ลาย โรครากของ
          Para rubber is an important economic plant of                        ยางพาราที่สําคัญ คือ โรครากขาวซึ่งมีสาเหตุมาจากเชื้อรา
Thailand. However, Para rubber farmers confront a problem of                   Rigidoporus lignosus
white root disease. We studied the efficiency of antagonistic                            ดังนั้นการศึกษาคนควาในการควบคุมเชื้อรา R. lignosus
microorganisms, such as Trichoderma harzianum (CBPIN01),                       มีสวนชวยเหลือเกษตรกรไทยผูปลูกยางพาราใหไดผลผลิตมากขึ้น
Trichoderma harzianum (PM 51), Chaetomium globosum,                            เนื่ อ งจากโรครากขาวมี สว นทําให ผ ลผลิ ตที่ ได จากต น ยางพารา
Gliocladium virens, Bacillus subtilis Bacillus amyloliquefaciens               ลดลง ทั้ ง นี้ การควบคุม โรครากขาวโดยชี ววิ ธี เ ป นอี ก ทางหนึ่ ง ที่
and Streptomyces aureofaciens. In this study, Trichoderma                      น า ส น ใ จ โ ด ย ใ ช เ ชื้ อ จุ ลิ น ท รี ย ป ฏิ ป ก ษ ต า ง ๆ ไ ด แ ก B.
harzianum (CBPIN01), Trichoderma harzianum (PM 51),                            amyloliquefaciens B. subtilis C. globosum G.virens S.
Chaetomium globosum, Gliocladium virens, Bacillus subtilis                     aureofaciens และ T. harzianum ในการเขายับยั้งเชื้อรากอโรค
Bacillus amyloliquefaciens and Streptomyces aureofaciens                       ดวยเหตุนี้การศึกษาเชื้อ จุลินทรียปฏิปกษที่ควบคุมโรครากขาว
were used to inhibit the growth of P. parasitica by dual                       จากเชื้อรา R. lignosus ของตนยางพารา จะเปนขอมูลสําคัญเพื่อ
culture, which placed the P. parasitica with the                               นําไปใชในการแกปญหาโรครากขาวในอนาคต
การเขียน คือ ศิลปะการสื่อสารขอมูลที่กระชับ และชัดเจน         2                                 (ตัวอยางการเขียนบทความยุววิจย)
                                                                                                                             ั
ทุกขอความมีหนาที่และความสําคัญ ไมสามารถตัดได หากตัดออกจะทําใหความหมายเปลี่ยน
2. วัสดุอุปกรณและวิธีการ (เขียนบอกวิธีการที่ถูกตองและแมนยํา                          หาค า เฉลี่ ย ความยาวรั ศ มี ข องโคโลนี แ ล ว นํ า มา
บอกใหละเอียดสามารถทําซ้ําได เปนสวนที่เขียนไดกอน)                        คํ า นวณหาค า PIRG แล ว นํ า ข อ มู ล มาวิ เ คราะห ท างสถิ ติ โ ดย
                                                                              Duncan’s multiple range ดวยโปรแกรม SPSS for Windows
2.1 เชื้อจุลินทรียและสารเคมี
             R. lignosus ไดรับความอนุเคราะหจากศูนยวิจัย                    2.5 การทดสอบประสิทธิภาพ ในการควบคุมเชื้อราบนใบยางพารา
ยางพารา ฉะเชิงเทรา T. harzianum สายพันธุ CB-PIN01 และ                                        เตรี ย มเชื้อ ราสาเหตุ เ กิ ด โรครากขาวบนใบยางพารา
PM51 รวมทั้ง B. amyloliquefaciens ไดรับความอนุเคราะหจาก                     บริเวณที่เกิดแผล เลี้ยงไวที่อุณหภูมิหองเปนเวลา 3 วัน จากนั้นนํา
ภาควิชาจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต                            เชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย ป ฏิ ป ก ษ แ ขวนลอยของ         G.     virens
กําแพงแสน B. subtilis ไดรับความอนุเคราะหจากโรงพยาบาล                        T. harzianum (CB-PIN01) T. harzianum (PM51) และ B.
รามาธิบดี C. globosum G. virens และ S. aureofaciens ไดรับ                    amyloliquefaciens ที่ความเขมขน 108 cell/ml ฉีดพนลงบนใบ
ความอนุเคราะหจาก สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สวน                     ยางพารา สั ง เกตผลการควบคุ ม การเกิ ด โรคของเชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย
สารเคมีที่ใชในการทดลองคือ สารเคมี Calixin                                    ปฏิปกษ และทําการวิเคราะหจาก
2.2 การศึกษาลักษณะทั่วไปของเชื้อจุลินทรีย 5 ชนิด                             ดัชนีความรุนแรงของโรค =
            แบคทีเรีย ทําการศึกษาลักษณะโคโลนี รูปรางเซลล                          ∑(ระดับอาการ x จํานวนตนที่เปนโรคในระดับนั้น) X 100
และการติดสีแบบแกรมของเชื้อแบคทีเรีย B. amyloliquefaciens                                          ระดับอาการสูงสุด X จํานวนตนทั้งหมด
B. subtilis และ S. aureofaciens
             เชื้ อ รา ทํ า ศึ ก ษาลั กษณะสปอรแ ละเส น ใยเชื้ อ รา          3. ผลการทดลอง (และอภิปรายผล)                   (เขียนใหผอานมองเห็น
                                                                                                                                       ู
C. globosum G. virens T. harzianum (CB-PIN01) และ T.                          ความรู โดยการเชื่อมโยงขอมูลกับขอมูล หรือกับทฤษฎี ดวยตรรกะ การ
harzianum (PM51) รวมทั้งเชื้อรากอโรคราขาว R. lignosus                        วิเคราะห(แยกแยะ) การสังเคราะห (สรุปรวมความรูที่แยกแยะ) ใชการ
                                                                              เปรียบเทียบกับผลงานผูอื่นเพื่อเพิ่มคุณคา คือหาพวกมาชวยยืนยันเพิ่ม
2.3 การทดสอบการควบคุมและยับยั้งรา R. lignosus                                 คุณคาทางวิชาการ)
           การใชแบคทีเรียปฏิปกษ
                                                                              3.1 ลักษณะทั่วไปของเชื้อจุลินทรีย
           นํา cork borer ที่ผานการฆาเชื้อแลวเจาะเพื่อนําชิ้นวุน
                                                                                          จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ลั ก ษ ณ ะ เ ส น ใ ย ข อ ง เ ชื้ อ ร า
เชื้อรา R. lignosus ที่บมไว 7 วันวางในจานเพาะเชื้อตรงจุด
                                                                              C. globosum พบวา เสนใยสีขาว การเจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อ
ศูนยกลาง บมเชื้อไว 2 วัน หลังจากนั้นจึงวางเชื้อแบคทีเรีย B.
                                                                              แบบรางแห มีผนังกั้นตามขวาง จะแบงเสนใยออกเปนชองๆแตละ
amyloliquefaciens B. subtilis และ S. aureofaciens ไว 4 จุดใน
                                                                              ชองอาจเปน uninucleate เชื้อรา G. virens พบวาการสรางสปอร
แนวจัตุรัสโดยหางจากขอบจานเพาะเชื้อ 1.5 เซนติเมตรและในชุด
                                                                              มีสีเขียวเขม conidiophoresใน phialides (อัปสปอร) กระจุกอยู
ควบคุ ม จะไม มี ก ารวางเชื้ อ แบคที เ รี ย จากนั้ น บ ม เชื้ อ ไว 7 วั น
                                                                              อยางหนาแนนและสปอรชูตั้งตร เชื้อรา T. harzianum (CB-Pin
จากนั้นจึงทําการวัดความยาวรัศมีเสนใยของรา R. lignosus ทํา
                                                                              01) และเชื้อรา T. harzianum (PM 51) พบวาพบ conidiophores
การทดลองซ้ํา 3 ครั้ง
                                                                              มีสีจาง แตกแขนงมาก phialides เกิดเดี่ยวๆ หรือ เปนกลุม
            การใช เชื้อราปฏิปกษ
                                                                              conidia (phialospore) เปนแบบเซลลเดียวรูปไข ไมมีสี เกิดเปน
           นํา cork borer ที่ผานการฆาเชื้อแลวเจาะเพื่อนําชิ้นวุน
                                                                              กลุมเล็กๆ ที่ปลาย phialides โคโลนีสามารถเจริญบนอาหารได
เชื้อรา R. lignosus ที่บมไว 7 วันวางในจานเพาะเชื้อตรงจุ ด
                                                                              อยางรวดเร็ว ลักษณะของเสนใย ที่เจริญออกมาเริ่มแรกจะมีสีขาว
ศูนยกลาง บมเชื้อไว 3 วัน หลังจากนั้นจึงวาง เชื้อรา C.
                                                                              เมื่อเชื้อรามีอายุมากขึ้นจะเปลี่ยนเปนสีเขียวเขม เนื่องจากมีการ
globosum G. virens T. harzianum (CB-PIN01) และ T.
                                                                              สรางสปอรมากขึ้น กานชู สปอรจะแตกกิ่งกานเปนชอ โดยลักษณะ
harzianum (PM51) ไว 1 จุดในแนวเดียวกันกับ R. lignosus โดย
                                                                              ของโคโลนีมีความตางกันที่เสนใยของ T. harzianum (CB-Pin 01)
หางจากขอบจานเพาะเชื้อ 1.5 เซนติเมตร และในชุดควบคุมจะไม
                                                                              มีความหนาแนนมากกวา เชื้อรา T. harzianum (PM 51)
มีการวางเชื้อรา T. harzianum จากนั้นบมเชื้อ ไว 7 วัน จากนั้น
                                                                                          เชื้อแบคทีเรีย B. amyloliquefaciens รูปรางโคโลนีเปน
จึงทําการวัดความยาวรัศมีเสนใยของรา R. lignosus ทําการ
                                                                              รูปกลม ขอบของโคโลนีเรียบ มีสีเหลืองออน สวน B. subtilis
ทดลองซ้ํา 3 ครั้ง
                                                                              รูปรางโคโลนีเปนรูปกลม มีสีเหลือง ขอบของโคโลนีเปนคลื่นเวา
                                                                              เขาไปมากคลายนิ้วมือ (Lobate)
2.4 เปอรเซ็นตการยับยั้งการเจริญ
                                                                                          เชื้อแบคทีเรีย S. aureoliquefaciens โคโลนีใน
           เปอรเซ็นตการยับยั้งการเจริญ (percent inhibition of
                                                                              ระยะแรกผิวโคโลนีเรียบ เมื่ออายุมากขึ้นเสนใยอากาศจะพัฒนา
radial growth-PIRG) คํานวณไดดังนี้
                                                                              เปนสปอร ทําใหผิวโคโลนีมีลักษณะคลายแปง (powdery) หรือ
                     PIRG = (R1-R2) x100
                                                                              กํามะหยี่ (velvet) มีหลายสี
                                 R1
                                                                                          จากการศึกษา R. lignosus มีเสนใยสีขาวและสปอรสี
เมื่อ      R1 = ความยาวรัศมีของโคโลนีเชื้อในจานควบคุม
          R2 = ความยาวรัศมีของโคโลนีเชื้อในจานทดสอบ                           ขาว เสนใยมีผนังกั้น (septate hypha) และอัดตัวกันแนนเปนแทง
                                                                              คลายลําตน ความสามารถในการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว โดย
การเขียน คือ ศิลปะการสื่อสารขอมูลที่กระชับ และชัดเจน         3                                     (ตัวอยางการเขียนบทความยุววิจย)
                                                                                                                                 ั
ทุกขอความมีหนาที่และความสําคัญ ไมสามารถตัดได หากตัดออกจะทําใหความหมายเปลี่ยน
เส น ใยเจริ ญ เติ บ โตแผ ข ยายโดยรอบจนมองเห็ น ลั ก ษณะเป น                    ตารางที่ 2 เปอรเซ็นตการยับยั้งการเกิดโรคของเชื้อราปฏิปกษ
วงกลม เมื่ อ ย อ มเส น ใยด ว ยสี ย อ มพบว า เส น ใยติ ด สี ย อ มสี ฟ า    เปรียบเทียบกับสารเคมี Calixin
conidiospore หรือ conidia เปนสปอรที่ไมมีสิ่งหุม เคลื่อนที่ไมได              1
                                                                                      อักษรหลังคาเฉลียแสดงความแตกตางทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ
                                                                                                      ่
เกิดที่ปลายเสนใยconidiophore ที่ปลายของเสนใยมี sterigma
สราง conidia                                                                        เชื้อราปฏิปกษและสารเคมี                     คา PIRG (%)1
                                                                                 C. globosum                                      39.30 ± 10.83 bc
                                                                                 G. virens                                        100.00 ± 0.00 a
                                                                                 T. hazianium (CB-PIN01)                           87.39 ± 8.36 a
                                                                                 T. hazianium (PM 51)                    97.27 ± 4.50 a
                รูปที่ 1 ลักษณะเสนใยของ R. lignosus                             Calixin 0.25% (ความเขมขนที่
                                                                                                                        28.57 ± 11.20 c
                                                                                 เกษตรกรใช)2
                                                                                 Calixin 100%2                          45.50 ± 16.80 b
                                                                                             2
                                                                                 R. lignosus                             0.00 ± 0.00 d
                                                                                     ทดสอบโดยDuncan’s multiple range (P=0.05)
                                                                                   2
                                                                                      ชุดควบคุม
        รูปที่ 2 ลักษณะเสนใย R. lignosus ที่ยอมสี ภายใต
                  กลองจุลทรรศน กําลังขยาย 200X                                  3.4 ผลของการควบคุมเชื้อรา R. lignosus บนใบยางพารา
                                                                                             ในการควบคุมเชื้อรา R. lignosus บนใบยางพารา
3.2 ผลของ B. subtilis และ B. amyloliquefaciens และ                                ดวยเชื้อรา G. virens เชื้อรา T. hazianium (CB-PIN01) เชื้อรา T.
S. aureoliquefaciens                                                              harzianum (PM 51) เชื้อแบคทีเรีย B. amyloliquaefaciens และ
           B. amyloliquefaciens มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ                    สารเคมี Calixin พบวาการยับยั้งการเกิดโรคไมแตกตางกันอยางมี
รา R. lignosus ไดเทียบเทากับสารเคมี Calixin ความเขมขน                         นัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05)
100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) ดังตารางที่ 1
                                                                                  4. สรุป และอภิปรายผล (เขียนบอกวาไดอะไร ที่เปนของใหม เชน
3.3 ผลของเชื้อรา C. globosum G. viriens T. hazianium                              ความสัมพันธใหม สรุปใหตรงกับปญหาในบทนํา แสดงความชัดเจนเปน
(CB-PIN01) และ T. hazianium (PM 51)                                               ขอ ๆ อานสรุปไมรูเรื่องหากไมอานเนื้อหาตั้งแตตนจนจบ)
           การคํานวณเปนเปอรเซ็นตการยับยั้ง (PIRG) ของ G.                                    เ ชื้ อ แ บ ค ที เ รี ย B. amyloliquefaciens แ ล ะ S.
viriens T. hazianium (CB-PIN01) และ T. hazianium (PM 51)                          aureoliquefaciens มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโต
พบวา G. viriens T. hazianium (CB-PIN01) และ T. hazianium                         ของเชื้ อ R.           lignosus        โดยในอาหารเลี้ ย งเชื้ อ ที่ มี B.
(PM 51) ประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อรา R. lignosus ดีกวาสารเคมี                    amyloliquefaciens เปนแบคทีเรียปฏิปกษ มีเปอรเซ็นตการยับยั้ง
Calixin ความเขมขน 100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05)                        เชื้อรา R. lignosus เทากับ 35.14% ซึ่งเทียบเทาสารเคมี Calixin
ดังตารางที่ 2                                                                     ความเขมขน100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) สวนเชื้อ
                                                                                  B. subtilis ไมมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อรา R. lignosus
ตารางที่ 1 เปอรเซ็นตการยับยั้งการเกิดโรคของเชื้อแบคทีเรีย
                                                                                              เมื่ อ นํ า เชื้ อ รา R.   lignosus ทดสอบกั บ เชื้ อ รา C.
ปฏิปกษเปรียบเทียบกับกลุมควบคุม
                                                                                  globosum G. virens T. harzianum (CB-Pin01) และ T.
 เชื้อแบคทีเรียปฏิปกษและ                                                        harzianum (PM 51) พบวา G. virens T. harzianum (CB-Pin01)
                                                   คา PIRG (%)1
           สารเคมี                                                                และ T.harzianum (PM 51) มีประสิทธิภาพสูงในการยับยั้งการ
B. amyloliquefaciens                              35.14± 27.05 ab                 เจริญของเชื้อ R. lignosus ซึ่งในอาหารเพาะเลี้ยงเชื้อที่มี G.
                                                                                  virens T. harzianum (CB-Pin01) และ T. harzianum (PM 51)
B. subtilis                                          0.00± 0.00c
                                                                                  เปนเชื้อราปฏิปกษ มีเปอรเซ็นตการยับยั้ง 100% 87.39 % และ
S. aureofaciens                     14.11± 21.37 bc                               97.27 % ตามลําดับ ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกวาสารเคมี Calixin
Calixin 0.25%                         2.35± 6.37 c                                ความเขมขน100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05)
              2
Calixin 100%                         55.85± 6.62 a                                             จากการทดลองการควบคุมเชื้อรา R. lignosus ดวย
R. lignosus 2                         0.00± 0.00 c                                เชื้อรา G. virens เชื้อรา T. harzianum (CB-Pin01) เชื้อรา
1
  อักษรหลังคาเฉลียแสดงความแตกตางทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ
                  ่                                                               Trichoderma harzianum (PM 51) เชื้อแบคทีเรีย B.
  ทดสอบโดยDuncan’s multiple range (P=0.05)                                        amyloliquaefaciens บนใบยางพาราพบวา ผลการวิเคราะหทาง
2
   ชุดควบคุม                                                                      สถิติของดัชนีความรุนแรงของโรค เชื้อรา G. virens เชื้อรา T.
การเขียน คือ ศิลปะการสื่อสารขอมูลที่กระชับ และชัดเจน         4                                 (ตัวอยางการเขียนบทความยุววิจย)
                                                                                                                             ั
ทุกขอความมีหนาที่และความสําคัญ ไมสามารถตัดได หากตัดออกจะทําใหความหมายเปลี่ยน
harzianum (CB-Pin01) เชื้อรา T. harzianum (PM 51) และ                         Trichoderma harzianum (PM 51) เชื้อแบคทีเรีย B.
สารเคมี Calixin ความเขมขน100% ไมมีความแตกตางกันอยางมี                    amyloliquaefaciens พบว า เชื้ อ รา G. virens เชื้ อ รา T.
นัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) จากการคํานวณเปอรเซ็นตการยับยั้ง                  harzianum (CB-Pin01) เชื้อรา T. harzianum (PM 51) และเชื้อ
การเกิดโรค พบวาประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อรา R. lignosus                    แบคที เรีย B. amyloliquaefaciens มีผลเทียบเท ากั บสารเคมี
สาเหตุ เ กิ ด โรครากขาวด ว ยเชื้ อ รา G.                  virens เชื้ อ รา   Calixin ความเขมขน100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05)
T. harzianum (CB-Pin01) และเชื้อรา T. harzianum (PM 51) มี                    โดยสอดคลองกับงานวิจัยของปรียาพรและคณะ (2550) ที่พบวา
ผลเทียบเทากับสารเคมี Calixin ความเขมขน100% อยางมี                         เชื้อรา T. harzianum (CB-Pin01) และเชื้อรา T. harzianum (PM
นัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05)                                                    51) มีประสิทธิภาพดีเทียบเทาสารเคมี Metalaxyl
วิจารณผลการทดลอง
                ในการทดลองเชื้อราปฏิปกษในการยับยั้งเชื้อรา R.               5. ขอเสนอแนะ
lignosus พบวา G. virens T. harzianum (CB-Pin01) และ T.                                    1. ทําการทดลองในตนยางพาราที่สภาวะแวดลอมจริง
harzianum (PM 51) มีเปอรเซ็นตการยับยั้งสูงกวาสารเคมี Calixin               เพื่อใหไดขอมูลในสภาพใชงานจริง
ความเขมขน 100% อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p=0.05) ซึ่ ง                                  2. พัฒนาเชื้อเปนผลิตภัณฑสําเร็จรูป สําหรับใชกับตน
สอดคลอ งกั บ งานวิ จัย ของอารมณ โรจน สุจริต และคณะ (2541)                  ยางพาราที่เกิดโรครากขาว
โดยทดลองในสภาพหองปฏิบัติการพบวาเชื้อ Trichoderma spp.
สวนใหฐสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ R. lignosus สวน                        กิตติกรรมประกาศ (เขียนใหเกียรติผูที่ชวยเหลือ และยืนยันการ
Chaetomium spp. ในสภาพหองปฏิบัติการพบวาไมมีสายพันธุใด                     มีตัวตนของงาน)
ที่เปนเชื้อราตอตานเชื้อรา R. lignosus เนื่องจาก G. virens                           โครงการวิ จั ย นี้ ไ ด รั บ การสนั บ สนุ น ทุ น การวิ จั ย จาก
T. harzianum (CB-Pin01) และ T. harzianum (PM 51) เปนเชื้อ                    โครงการยุววิจัยยางพารา สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ราปฏิปกษยับยั้งเชื้อรา R. lignosus โดยใชกลไกการแขงขัน การ                 (สกว.) ได รับ คํ า ปรึ ก ษาและชี้ แ นะ ตลอดจนได รั บการเอื้ อ เฟ อ
เปนปรสิต และปลอยสารปฏิชีวนะ เนื่องกลไกดังกลาวทําใหเชื้อรา                 อุปกรณ และสถานที่ จากสาขาวิชาชีววิทยา โรงเรียนมหิดลวิทยา
ปฏิ ป ก ษ ทั้ ง สามชนิ ด สามารถยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เติ บ โตของเชื้ อ รา    นุสรณ
สาเหตุเกิดโรครากขาวได โดยสอดคลองกับงานวิจัยของจิราเดช
แจมสวาง (2547) พบวาเชื้อรา T. harzianum เปนเชื้อราที่มี                   เอกสารอางอิง (อะไรที่เปนความจริงไมตองอางอิง เชน โลกหมุนรอบ
คุณสมบัติและศักยภาพสูงในการใชควบคุมเชื้อราสาเหตุเกิดโรค                      ดวงอาทิตย ความรูของผูอื่นตองอางถึง)
พืชเพราะความสามารถในการเจริญอยางรวดเร็วสรางสปอรไดใน                       พรพรรณ อูสุวรรณ และโสภณ วงศแกว. 2543. การใชเชื้อ
ปริมาณสูง และมีการรัดพันเสนใย แลวแทงเขาไปในสวนของเสน                               Bacillus spp. และ Streptomyces spp.
ใยของเชื้อราสาเหตุเกิดโรคพืช ทําใหเสนใยตาย สวนสารเคมีจาก                           ในการควบคุมโรคเชื้อราในองุน (Biocontrol of grape
การศึ ก ษาพบว า สารเคมี จ ะทํ า งานได ดี ใ นสภาวะแวดล อ มที่                         fungul diseases by bacillus spp and
เหมาะสม เชน อุณหภูมิไมสูงหรือต่ําจนเกินไป (Sunslow, 1982)                          steptomyce spp) : 149 -156.
จากผลการทดลองจะเห็นไดวาเชื้อราปฏิปกษสามารถยับยั้งเสนใย                   จิระเดช แจมสวาง. 2547. การควบคุมโรคผักโดยชีววิธี.
ของเชื้อราสาเหตุเกิดโรคที่เกิดขึ้นไดดีกวาสารเคมีโดยใชการเจริญ                      (เอกสารประกอบการสอน). กรุงเทพฯ :
คลุมทับเสนใยของเชื้อราสาเหตุเกิดโรคสวนการใชสารเคมีจะยับยั้ง                        ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตรศาสตร
เสนใยของเชื้อราที่เกิดขึ้นใหมเกิดเปนบริเวณยับยั้ง (clear zone)                     มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต
ซึ่งพบวาลักษณะเสนใยใหมที่งอกจะเปนกอนพูนขึ้นตามแนวขอบ                              กําแพงแสน.
รัศมี มีสีขาวและเหลือง                                                        ปรียาพร คงจรรักษ, นภันต สุธารัตนพงษ และวทัญู ตั้งศิริ
                สวนเปอรเซ็นตการยับยั้งเชื้อรา R. lignosus ของเชื้อ                 อํานวย. 2551. การประยุกตใชเชื้อรา
แบคทีเรีย B. subtilis และ S. aureoliquefaciens มีคาต่ํากวา                         Trichoderma harzianum และเชื้อแบคทีเรีย Bacillus sp. เพื่อ
สารเคมี Calixin ความเขมขน 100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ                               ควบคุมโรคใบรวงซึ่งเกิดจากเชื้อรา
(p=0.05) เนื่องดวยปริมาณสารปฏิชีวนะที่แบคทีเรียชนิดนี้หลั่งไม                       Phytophthora parasitica ในตนกลายางพารา.โรงเรียน
เพียงพอตอการยับยั้งเชื้อรา และสารปฏิชีวนะที่หลั่งทํางานไดดีที่                        มหิดลวิทยานุสรณ: 33.
อุณ หภู มิเหมาะสม เช น เอนไซม ไคติเนสทํา งานไดดี ที่ อุณ หภูมิ             Cease K. R., Blanchette R. A., and Highley T. L. 1988.
ประมาณ 30 องศาเซลเซียส pH 7.0 (Han, 2001) นอกจากนี้                                     Interactions between Scytalidium
สภาวะแวดล อ มไม เ หมาะสมต อ การเจริ ญ เติ บ โตของ                     S.             species and brown- or white-rot basidiomycetes in
aureoliquefaciens ซึ่งเจริญไดดีที่อุณหภูมิ 25-30 องศาเซลเซียส                          birch wood: 109-192.
และ pH 6.5-8.0 โดยเจริญไดดีในอาหารเลี้ยงเชื้อ yeast-malt                     Ehrenberg. 1835. Bacillus subtilis Cohn .1872. 2007. Phys.
extract                                                                                 Rev. Lett.: 768-798.
                การควบคุมเชื้อรา R. lignosus บนใบยางพาราดวยเชื้อ
รา G. virens เชื้ อราT. harzianum (CB-Pin01) เชื้อรา

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPTการปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
Jetsadakorn Luangmanee
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
Kobwit Piriyawat
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
Wichai Likitponrak
 
จีเอ็มโอ
จีเอ็มโอจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอ
heronana
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
peter dontoom
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
Wichai Likitponrak
 

Was ist angesagt? (9)

การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPTการปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคไหม้ PPT
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
 
Infection
InfectionInfection
Infection
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563
Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563
Postharvest Newsletter ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2563
 
จีเอ็มโอ
จีเอ็มโอจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอ
 
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
ภาพข้อสอบเทคโนโลยีชีวภาพ 15 มิย.
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
 

Mehr von kasetpcc

งานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียนงานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียน
kasetpcc
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
kasetpcc
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
kasetpcc
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
kasetpcc
 
บทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุงบทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุง
kasetpcc
 
บทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุงบทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุง
kasetpcc
 
2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง
kasetpcc
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
kasetpcc
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
kasetpcc
 
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรมการอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
kasetpcc
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
kasetpcc
 
บทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุงบทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุง
kasetpcc
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
kasetpcc
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
kasetpcc
 
4 สารบัญ
4 สารบัญ4 สารบัญ
4 สารบัญ
kasetpcc
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
kasetpcc
 
2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง
kasetpcc
 
การออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงานการออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงาน
kasetpcc
 

Mehr von kasetpcc (20)

งานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียนงานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียน
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
 
บทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุงบทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุง
 
บทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุงบทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุง
 
2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง
 
Inno
InnoInno
Inno
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
 
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรมการอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
บทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุงบทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุง
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
4 สารบัญ
4 สารบัญ4 สารบัญ
4 สารบัญ
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
 
2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง
 
1 ปก
1 ปก1 ปก
1 ปก
 
การออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงานการออกแบบโครงงาน
การออกแบบโครงงาน
 

ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย

  • 1. การเขียน คือ ศิลปะการสื่อสารขอมูลที่กระชับ และชัดเจน 1 (ตัวอยางการเขียนบทความยุววิจย) ั ทุกขอความมีหนาที่และความสําคัญ ไมสามารถตัดได หากตัดออกจะทําใหความหมายเปลี่ยน การควบคุมโรครากขาวจากเชื้อรา Rigidoporus lignosus ของตนยางพาราโดยใช ระยะหางจากขอบกระดาษ เชื้อจุลินทรียปฏิปกษ (ชื่อ: Browallia ขนาด 16) ขอบบน 2.5 cm ขอบซาย 3.0 cm อรวรรณ ปยะบุญ* ธนพร จิระวิชชเลิศ และศุทธินี เผือกขาวผอง (ที่เหลือ : Browallia ขนาด 12) ขอบขวา 1.0 cm โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ อ.พุธมณฑล จ.นครปฐม 73170 ขอบลาง 1.0 cm *E-mail : orawan_bio@mwit.ac.th บทคัดยอ (เขียนแบบยอเรื่อง บอกวาทําทําไม ทําอยางไร และไดอะไร microorganisms in laboratory scale, we found, T. harzianum ไมมีการอางอิง ไมบอกวิธีการ บอกผลเชิงเปรียบเทียบกับปจจุบัน เขียน (CBPIN01), T. harzianum (PM 51) and G. virens could inhibit ใหอานรูเรื่องโดยไมตองอานทั้งหมด) the growth of P. parasitica without significantly different ยางพาราเป นพื ช เศรษฐกิ จที่ สํ า คั ญ ของประเทศไทย efficiency (p=0.05). Compared with 100% Calixin, the เนื่ อ งด ว ยในป จ จุ บั น เกษตรกรประสบป ญ หาโรครากขาว จาก antagonistic fungi were equally efficient. For B. การศึกษาประสิ ทธิ ภาพของจุ ลินทรี ยป ฏิป กษ คือ Trichoderma amyloliquefaciens was significantly equally efficient (p=0.05) harzianum (CBPIN01) Trichoderma harzianum (PM 51) with 100% Calixin. After Trichoderma harzianum (CBPIN01), Chaetomium globosum Gliocladium virens Bacillus subtilis Trichoderma harzianum (PM 51), Gliocladium virens, and Bacillus amyloliquefaciens และStreptomyces aureofaciens ใน Bacillus amyloliquefaciens were used to inhibit the growth of การควบคุมโรครากขาวที่เกิดจากเชื้อรา Rigidoporus lignosus P. parasitica on the leaves of Para rubber. We found that T. ดวยวิธี dual culture โดยมีการวางชิ้นวุนของเชื้อรา R. lignosus harzianum (CBPIN01), T. harzianum (PM 51), G. virens, and กั บ จุ ลิ น ทรี ย ป ฏิ ป ก ษ ร ว มกั น ในห อ งปฏิ บั ติ ก าร พบว า T. Bacillus amyloliquefaciens was significantly equally efficient harzianum (CBPIN01) T. harzianum (PM 51) และ G. virens (p=0.05) with 100% Calixin. ไมแตกตางกันและมีประสิทธิภาพดีกวาสารเคมี Calixin ความ เขมขน 100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) สําหรับการ Keywords: White root, Antagonistic microorganism, Bioilogical ยับยั้งเชื้อรา R. lignosus ของเชื้อแบคทีเรีย B. amyloliquefaciens control มีประสิทธิภาพการยับยั้งเทียบเทาสารเคมี Calixin ความเขมขน 100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) หลังจากนั้นจากการ 1. บทนํา ( แนะนําเขียนบอกใหทราบสถาณการณปจจุบัน มีปญหามีโทษ ทดลองการควบคุมเชื้อรา R. lignosus ดวยเชื้อรา G. virens เชื้อ หรือ ผลกระทบอะไรบาง คาดวาจะคนพบอะไร แสดงความใหมดวยการ รา T. harzianum (CB-Pin01) เชื้อรา Trichoderma harzianum ทบทวนเอกสาร และชี้ชองวางของความรูที่ขาดเขี้นเปนหัวขอหลังสุด (PM 51) เชื้อแบคทีเรีย B. amyloliquaefaciens บนใบยางพารา เพื่อใหสามารถนําเสนอความคิดเชื่อมไปสูหวขออื่น ๆที่ตามมาไดอยางลื่น ั ไหล ) พบวาประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อรา R. lignosus สาเหตุเกิดโรค ยางพาราเปนพืชที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ รากขาวดวยเชื้อรา G. virens เชื้อรา T. harzianum (CB-Pin01) ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเปนพืชเศรษฐกิจหลักของเกษตรกร เชื้อรา T. harzianum (PM 51) และเชื้อแบคทีเรีย B. ในภาคใต เนื่องจากหลายจังหวัดในภาคใตไดประสบปญหาน้ํา amyloliquefaciens มีผลเทียบเทากับสารเคมี Calixin ความ ทวม ทําใหเกิดการแพรระบาดของโรครากของยางพาราตามมา เขมขน100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) สาเหตุเ กิ ด จากเชื้ อ ราโดยจะเข า ทํ า ลายระบบราก ซึ่ ง หากเกิ ด คําสําคัญ: โรครากขาว จุลินทรียปฏิปกษ โรคทาทางชีวภาพ ระบาดรุนแรงมีผลทําใหตนยางตายกอนกําหนด เกษตรกรตอง สูญเสียทั้งผลผลิตและรายไดไป อีกทั้งการใชสารกําจัดศัตรูพืชใน Abstract (เขียนหรือไมเขียน abstract ก็ได) การแก ปญ หาเป น ผลให สภาพแวดล อ มถู ก ทํ า ลาย โรครากของ Para rubber is an important economic plant of ยางพาราที่สําคัญ คือ โรครากขาวซึ่งมีสาเหตุมาจากเชื้อรา Thailand. However, Para rubber farmers confront a problem of Rigidoporus lignosus white root disease. We studied the efficiency of antagonistic ดังนั้นการศึกษาคนควาในการควบคุมเชื้อรา R. lignosus microorganisms, such as Trichoderma harzianum (CBPIN01), มีสวนชวยเหลือเกษตรกรไทยผูปลูกยางพาราใหไดผลผลิตมากขึ้น Trichoderma harzianum (PM 51), Chaetomium globosum, เนื่ อ งจากโรครากขาวมี สว นทําให ผ ลผลิ ตที่ ได จากต น ยางพารา Gliocladium virens, Bacillus subtilis Bacillus amyloliquefaciens ลดลง ทั้ ง นี้ การควบคุม โรครากขาวโดยชี ววิ ธี เ ป นอี ก ทางหนึ่ ง ที่ and Streptomyces aureofaciens. In this study, Trichoderma น า ส น ใ จ โ ด ย ใ ช เ ชื้ อ จุ ลิ น ท รี ย ป ฏิ ป ก ษ ต า ง ๆ ไ ด แ ก B. harzianum (CBPIN01), Trichoderma harzianum (PM 51), amyloliquefaciens B. subtilis C. globosum G.virens S. Chaetomium globosum, Gliocladium virens, Bacillus subtilis aureofaciens และ T. harzianum ในการเขายับยั้งเชื้อรากอโรค Bacillus amyloliquefaciens and Streptomyces aureofaciens ดวยเหตุนี้การศึกษาเชื้อ จุลินทรียปฏิปกษที่ควบคุมโรครากขาว were used to inhibit the growth of P. parasitica by dual จากเชื้อรา R. lignosus ของตนยางพารา จะเปนขอมูลสําคัญเพื่อ culture, which placed the P. parasitica with the นําไปใชในการแกปญหาโรครากขาวในอนาคต
  • 2. การเขียน คือ ศิลปะการสื่อสารขอมูลที่กระชับ และชัดเจน 2 (ตัวอยางการเขียนบทความยุววิจย) ั ทุกขอความมีหนาที่และความสําคัญ ไมสามารถตัดได หากตัดออกจะทําใหความหมายเปลี่ยน 2. วัสดุอุปกรณและวิธีการ (เขียนบอกวิธีการที่ถูกตองและแมนยํา หาค า เฉลี่ ย ความยาวรั ศ มี ข องโคโลนี แ ล ว นํ า มา บอกใหละเอียดสามารถทําซ้ําได เปนสวนที่เขียนไดกอน) คํ า นวณหาค า PIRG แล ว นํ า ข อ มู ล มาวิ เ คราะห ท างสถิ ติ โ ดย Duncan’s multiple range ดวยโปรแกรม SPSS for Windows 2.1 เชื้อจุลินทรียและสารเคมี R. lignosus ไดรับความอนุเคราะหจากศูนยวิจัย 2.5 การทดสอบประสิทธิภาพ ในการควบคุมเชื้อราบนใบยางพารา ยางพารา ฉะเชิงเทรา T. harzianum สายพันธุ CB-PIN01 และ เตรี ย มเชื้อ ราสาเหตุ เ กิ ด โรครากขาวบนใบยางพารา PM51 รวมทั้ง B. amyloliquefaciens ไดรับความอนุเคราะหจาก บริเวณที่เกิดแผล เลี้ยงไวที่อุณหภูมิหองเปนเวลา 3 วัน จากนั้นนํา ภาควิชาจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต เชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย ป ฏิ ป ก ษ แ ขวนลอยของ G. virens กําแพงแสน B. subtilis ไดรับความอนุเคราะหจากโรงพยาบาล T. harzianum (CB-PIN01) T. harzianum (PM51) และ B. รามาธิบดี C. globosum G. virens และ S. aureofaciens ไดรับ amyloliquefaciens ที่ความเขมขน 108 cell/ml ฉีดพนลงบนใบ ความอนุเคราะหจาก สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สวน ยางพารา สั ง เกตผลการควบคุ ม การเกิ ด โรคของเชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย สารเคมีที่ใชในการทดลองคือ สารเคมี Calixin ปฏิปกษ และทําการวิเคราะหจาก 2.2 การศึกษาลักษณะทั่วไปของเชื้อจุลินทรีย 5 ชนิด ดัชนีความรุนแรงของโรค = แบคทีเรีย ทําการศึกษาลักษณะโคโลนี รูปรางเซลล ∑(ระดับอาการ x จํานวนตนที่เปนโรคในระดับนั้น) X 100 และการติดสีแบบแกรมของเชื้อแบคทีเรีย B. amyloliquefaciens ระดับอาการสูงสุด X จํานวนตนทั้งหมด B. subtilis และ S. aureofaciens เชื้ อ รา ทํ า ศึ ก ษาลั กษณะสปอรแ ละเส น ใยเชื้ อ รา 3. ผลการทดลอง (และอภิปรายผล) (เขียนใหผอานมองเห็น ู C. globosum G. virens T. harzianum (CB-PIN01) และ T. ความรู โดยการเชื่อมโยงขอมูลกับขอมูล หรือกับทฤษฎี ดวยตรรกะ การ harzianum (PM51) รวมทั้งเชื้อรากอโรคราขาว R. lignosus วิเคราะห(แยกแยะ) การสังเคราะห (สรุปรวมความรูที่แยกแยะ) ใชการ เปรียบเทียบกับผลงานผูอื่นเพื่อเพิ่มคุณคา คือหาพวกมาชวยยืนยันเพิ่ม 2.3 การทดสอบการควบคุมและยับยั้งรา R. lignosus คุณคาทางวิชาการ) การใชแบคทีเรียปฏิปกษ 3.1 ลักษณะทั่วไปของเชื้อจุลินทรีย นํา cork borer ที่ผานการฆาเชื้อแลวเจาะเพื่อนําชิ้นวุน จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ลั ก ษ ณ ะ เ ส น ใ ย ข อ ง เ ชื้ อ ร า เชื้อรา R. lignosus ที่บมไว 7 วันวางในจานเพาะเชื้อตรงจุด C. globosum พบวา เสนใยสีขาว การเจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อ ศูนยกลาง บมเชื้อไว 2 วัน หลังจากนั้นจึงวางเชื้อแบคทีเรีย B. แบบรางแห มีผนังกั้นตามขวาง จะแบงเสนใยออกเปนชองๆแตละ amyloliquefaciens B. subtilis และ S. aureofaciens ไว 4 จุดใน ชองอาจเปน uninucleate เชื้อรา G. virens พบวาการสรางสปอร แนวจัตุรัสโดยหางจากขอบจานเพาะเชื้อ 1.5 เซนติเมตรและในชุด มีสีเขียวเขม conidiophoresใน phialides (อัปสปอร) กระจุกอยู ควบคุ ม จะไม มี ก ารวางเชื้ อ แบคที เ รี ย จากนั้ น บ ม เชื้ อ ไว 7 วั น อยางหนาแนนและสปอรชูตั้งตร เชื้อรา T. harzianum (CB-Pin จากนั้นจึงทําการวัดความยาวรัศมีเสนใยของรา R. lignosus ทํา 01) และเชื้อรา T. harzianum (PM 51) พบวาพบ conidiophores การทดลองซ้ํา 3 ครั้ง มีสีจาง แตกแขนงมาก phialides เกิดเดี่ยวๆ หรือ เปนกลุม การใช เชื้อราปฏิปกษ conidia (phialospore) เปนแบบเซลลเดียวรูปไข ไมมีสี เกิดเปน นํา cork borer ที่ผานการฆาเชื้อแลวเจาะเพื่อนําชิ้นวุน กลุมเล็กๆ ที่ปลาย phialides โคโลนีสามารถเจริญบนอาหารได เชื้อรา R. lignosus ที่บมไว 7 วันวางในจานเพาะเชื้อตรงจุ ด อยางรวดเร็ว ลักษณะของเสนใย ที่เจริญออกมาเริ่มแรกจะมีสีขาว ศูนยกลาง บมเชื้อไว 3 วัน หลังจากนั้นจึงวาง เชื้อรา C. เมื่อเชื้อรามีอายุมากขึ้นจะเปลี่ยนเปนสีเขียวเขม เนื่องจากมีการ globosum G. virens T. harzianum (CB-PIN01) และ T. สรางสปอรมากขึ้น กานชู สปอรจะแตกกิ่งกานเปนชอ โดยลักษณะ harzianum (PM51) ไว 1 จุดในแนวเดียวกันกับ R. lignosus โดย ของโคโลนีมีความตางกันที่เสนใยของ T. harzianum (CB-Pin 01) หางจากขอบจานเพาะเชื้อ 1.5 เซนติเมตร และในชุดควบคุมจะไม มีความหนาแนนมากกวา เชื้อรา T. harzianum (PM 51) มีการวางเชื้อรา T. harzianum จากนั้นบมเชื้อ ไว 7 วัน จากนั้น เชื้อแบคทีเรีย B. amyloliquefaciens รูปรางโคโลนีเปน จึงทําการวัดความยาวรัศมีเสนใยของรา R. lignosus ทําการ รูปกลม ขอบของโคโลนีเรียบ มีสีเหลืองออน สวน B. subtilis ทดลองซ้ํา 3 ครั้ง รูปรางโคโลนีเปนรูปกลม มีสีเหลือง ขอบของโคโลนีเปนคลื่นเวา เขาไปมากคลายนิ้วมือ (Lobate) 2.4 เปอรเซ็นตการยับยั้งการเจริญ เชื้อแบคทีเรีย S. aureoliquefaciens โคโลนีใน เปอรเซ็นตการยับยั้งการเจริญ (percent inhibition of ระยะแรกผิวโคโลนีเรียบ เมื่ออายุมากขึ้นเสนใยอากาศจะพัฒนา radial growth-PIRG) คํานวณไดดังนี้ เปนสปอร ทําใหผิวโคโลนีมีลักษณะคลายแปง (powdery) หรือ PIRG = (R1-R2) x100 กํามะหยี่ (velvet) มีหลายสี R1 จากการศึกษา R. lignosus มีเสนใยสีขาวและสปอรสี เมื่อ R1 = ความยาวรัศมีของโคโลนีเชื้อในจานควบคุม R2 = ความยาวรัศมีของโคโลนีเชื้อในจานทดสอบ ขาว เสนใยมีผนังกั้น (septate hypha) และอัดตัวกันแนนเปนแทง คลายลําตน ความสามารถในการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว โดย
  • 3. การเขียน คือ ศิลปะการสื่อสารขอมูลที่กระชับ และชัดเจน 3 (ตัวอยางการเขียนบทความยุววิจย) ั ทุกขอความมีหนาที่และความสําคัญ ไมสามารถตัดได หากตัดออกจะทําใหความหมายเปลี่ยน เส น ใยเจริ ญ เติ บ โตแผ ข ยายโดยรอบจนมองเห็ น ลั ก ษณะเป น ตารางที่ 2 เปอรเซ็นตการยับยั้งการเกิดโรคของเชื้อราปฏิปกษ วงกลม เมื่ อ ย อ มเส น ใยด ว ยสี ย อ มพบว า เส น ใยติ ด สี ย อ มสี ฟ า เปรียบเทียบกับสารเคมี Calixin conidiospore หรือ conidia เปนสปอรที่ไมมีสิ่งหุม เคลื่อนที่ไมได 1 อักษรหลังคาเฉลียแสดงความแตกตางทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ ่ เกิดที่ปลายเสนใยconidiophore ที่ปลายของเสนใยมี sterigma สราง conidia เชื้อราปฏิปกษและสารเคมี คา PIRG (%)1 C. globosum 39.30 ± 10.83 bc G. virens 100.00 ± 0.00 a T. hazianium (CB-PIN01) 87.39 ± 8.36 a T. hazianium (PM 51) 97.27 ± 4.50 a รูปที่ 1 ลักษณะเสนใยของ R. lignosus Calixin 0.25% (ความเขมขนที่ 28.57 ± 11.20 c เกษตรกรใช)2 Calixin 100%2 45.50 ± 16.80 b 2 R. lignosus 0.00 ± 0.00 d ทดสอบโดยDuncan’s multiple range (P=0.05) 2 ชุดควบคุม รูปที่ 2 ลักษณะเสนใย R. lignosus ที่ยอมสี ภายใต กลองจุลทรรศน กําลังขยาย 200X 3.4 ผลของการควบคุมเชื้อรา R. lignosus บนใบยางพารา ในการควบคุมเชื้อรา R. lignosus บนใบยางพารา 3.2 ผลของ B. subtilis และ B. amyloliquefaciens และ ดวยเชื้อรา G. virens เชื้อรา T. hazianium (CB-PIN01) เชื้อรา T. S. aureoliquefaciens harzianum (PM 51) เชื้อแบคทีเรีย B. amyloliquaefaciens และ B. amyloliquefaciens มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ สารเคมี Calixin พบวาการยับยั้งการเกิดโรคไมแตกตางกันอยางมี รา R. lignosus ไดเทียบเทากับสารเคมี Calixin ความเขมขน นัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) 100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) ดังตารางที่ 1 4. สรุป และอภิปรายผล (เขียนบอกวาไดอะไร ที่เปนของใหม เชน 3.3 ผลของเชื้อรา C. globosum G. viriens T. hazianium ความสัมพันธใหม สรุปใหตรงกับปญหาในบทนํา แสดงความชัดเจนเปน (CB-PIN01) และ T. hazianium (PM 51) ขอ ๆ อานสรุปไมรูเรื่องหากไมอานเนื้อหาตั้งแตตนจนจบ) การคํานวณเปนเปอรเซ็นตการยับยั้ง (PIRG) ของ G. เ ชื้ อ แ บ ค ที เ รี ย B. amyloliquefaciens แ ล ะ S. viriens T. hazianium (CB-PIN01) และ T. hazianium (PM 51) aureoliquefaciens มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโต พบวา G. viriens T. hazianium (CB-PIN01) และ T. hazianium ของเชื้ อ R. lignosus โดยในอาหารเลี้ ย งเชื้ อ ที่ มี B. (PM 51) ประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อรา R. lignosus ดีกวาสารเคมี amyloliquefaciens เปนแบคทีเรียปฏิปกษ มีเปอรเซ็นตการยับยั้ง Calixin ความเขมขน 100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) เชื้อรา R. lignosus เทากับ 35.14% ซึ่งเทียบเทาสารเคมี Calixin ดังตารางที่ 2 ความเขมขน100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) สวนเชื้อ B. subtilis ไมมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อรา R. lignosus ตารางที่ 1 เปอรเซ็นตการยับยั้งการเกิดโรคของเชื้อแบคทีเรีย เมื่ อ นํ า เชื้ อ รา R. lignosus ทดสอบกั บ เชื้ อ รา C. ปฏิปกษเปรียบเทียบกับกลุมควบคุม globosum G. virens T. harzianum (CB-Pin01) และ T. เชื้อแบคทีเรียปฏิปกษและ harzianum (PM 51) พบวา G. virens T. harzianum (CB-Pin01) คา PIRG (%)1 สารเคมี และ T.harzianum (PM 51) มีประสิทธิภาพสูงในการยับยั้งการ B. amyloliquefaciens 35.14± 27.05 ab เจริญของเชื้อ R. lignosus ซึ่งในอาหารเพาะเลี้ยงเชื้อที่มี G. virens T. harzianum (CB-Pin01) และ T. harzianum (PM 51) B. subtilis 0.00± 0.00c เปนเชื้อราปฏิปกษ มีเปอรเซ็นตการยับยั้ง 100% 87.39 % และ S. aureofaciens 14.11± 21.37 bc 97.27 % ตามลําดับ ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกวาสารเคมี Calixin Calixin 0.25% 2.35± 6.37 c ความเขมขน100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) 2 Calixin 100% 55.85± 6.62 a จากการทดลองการควบคุมเชื้อรา R. lignosus ดวย R. lignosus 2 0.00± 0.00 c เชื้อรา G. virens เชื้อรา T. harzianum (CB-Pin01) เชื้อรา 1 อักษรหลังคาเฉลียแสดงความแตกตางทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ ่ Trichoderma harzianum (PM 51) เชื้อแบคทีเรีย B. ทดสอบโดยDuncan’s multiple range (P=0.05) amyloliquaefaciens บนใบยางพาราพบวา ผลการวิเคราะหทาง 2 ชุดควบคุม สถิติของดัชนีความรุนแรงของโรค เชื้อรา G. virens เชื้อรา T.
  • 4. การเขียน คือ ศิลปะการสื่อสารขอมูลที่กระชับ และชัดเจน 4 (ตัวอยางการเขียนบทความยุววิจย) ั ทุกขอความมีหนาที่และความสําคัญ ไมสามารถตัดได หากตัดออกจะทําใหความหมายเปลี่ยน harzianum (CB-Pin01) เชื้อรา T. harzianum (PM 51) และ Trichoderma harzianum (PM 51) เชื้อแบคทีเรีย B. สารเคมี Calixin ความเขมขน100% ไมมีความแตกตางกันอยางมี amyloliquaefaciens พบว า เชื้ อ รา G. virens เชื้ อ รา T. นัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) จากการคํานวณเปอรเซ็นตการยับยั้ง harzianum (CB-Pin01) เชื้อรา T. harzianum (PM 51) และเชื้อ การเกิดโรค พบวาประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อรา R. lignosus แบคที เรีย B. amyloliquaefaciens มีผลเทียบเท ากั บสารเคมี สาเหตุ เ กิ ด โรครากขาวด ว ยเชื้ อ รา G. virens เชื้ อ รา Calixin ความเขมขน100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) T. harzianum (CB-Pin01) และเชื้อรา T. harzianum (PM 51) มี โดยสอดคลองกับงานวิจัยของปรียาพรและคณะ (2550) ที่พบวา ผลเทียบเทากับสารเคมี Calixin ความเขมขน100% อยางมี เชื้อรา T. harzianum (CB-Pin01) และเชื้อรา T. harzianum (PM นัยสําคัญทางสถิติ (p=0.05) 51) มีประสิทธิภาพดีเทียบเทาสารเคมี Metalaxyl วิจารณผลการทดลอง ในการทดลองเชื้อราปฏิปกษในการยับยั้งเชื้อรา R. 5. ขอเสนอแนะ lignosus พบวา G. virens T. harzianum (CB-Pin01) และ T. 1. ทําการทดลองในตนยางพาราที่สภาวะแวดลอมจริง harzianum (PM 51) มีเปอรเซ็นตการยับยั้งสูงกวาสารเคมี Calixin เพื่อใหไดขอมูลในสภาพใชงานจริง ความเขมขน 100% อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p=0.05) ซึ่ ง 2. พัฒนาเชื้อเปนผลิตภัณฑสําเร็จรูป สําหรับใชกับตน สอดคลอ งกั บ งานวิ จัย ของอารมณ โรจน สุจริต และคณะ (2541) ยางพาราที่เกิดโรครากขาว โดยทดลองในสภาพหองปฏิบัติการพบวาเชื้อ Trichoderma spp. สวนใหฐสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ R. lignosus สวน กิตติกรรมประกาศ (เขียนใหเกียรติผูที่ชวยเหลือ และยืนยันการ Chaetomium spp. ในสภาพหองปฏิบัติการพบวาไมมีสายพันธุใด มีตัวตนของงาน) ที่เปนเชื้อราตอตานเชื้อรา R. lignosus เนื่องจาก G. virens โครงการวิ จั ย นี้ ไ ด รั บ การสนั บ สนุ น ทุ น การวิ จั ย จาก T. harzianum (CB-Pin01) และ T. harzianum (PM 51) เปนเชื้อ โครงการยุววิจัยยางพารา สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ราปฏิปกษยับยั้งเชื้อรา R. lignosus โดยใชกลไกการแขงขัน การ (สกว.) ได รับ คํ า ปรึ ก ษาและชี้ แ นะ ตลอดจนได รั บการเอื้ อ เฟ อ เปนปรสิต และปลอยสารปฏิชีวนะ เนื่องกลไกดังกลาวทําใหเชื้อรา อุปกรณ และสถานที่ จากสาขาวิชาชีววิทยา โรงเรียนมหิดลวิทยา ปฏิ ป ก ษ ทั้ ง สามชนิ ด สามารถยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เติ บ โตของเชื้ อ รา นุสรณ สาเหตุเกิดโรครากขาวได โดยสอดคลองกับงานวิจัยของจิราเดช แจมสวาง (2547) พบวาเชื้อรา T. harzianum เปนเชื้อราที่มี เอกสารอางอิง (อะไรที่เปนความจริงไมตองอางอิง เชน โลกหมุนรอบ คุณสมบัติและศักยภาพสูงในการใชควบคุมเชื้อราสาเหตุเกิดโรค ดวงอาทิตย ความรูของผูอื่นตองอางถึง) พืชเพราะความสามารถในการเจริญอยางรวดเร็วสรางสปอรไดใน พรพรรณ อูสุวรรณ และโสภณ วงศแกว. 2543. การใชเชื้อ ปริมาณสูง และมีการรัดพันเสนใย แลวแทงเขาไปในสวนของเสน Bacillus spp. และ Streptomyces spp. ใยของเชื้อราสาเหตุเกิดโรคพืช ทําใหเสนใยตาย สวนสารเคมีจาก ในการควบคุมโรคเชื้อราในองุน (Biocontrol of grape การศึ ก ษาพบว า สารเคมี จ ะทํ า งานได ดี ใ นสภาวะแวดล อ มที่ fungul diseases by bacillus spp and เหมาะสม เชน อุณหภูมิไมสูงหรือต่ําจนเกินไป (Sunslow, 1982) steptomyce spp) : 149 -156. จากผลการทดลองจะเห็นไดวาเชื้อราปฏิปกษสามารถยับยั้งเสนใย จิระเดช แจมสวาง. 2547. การควบคุมโรคผักโดยชีววิธี. ของเชื้อราสาเหตุเกิดโรคที่เกิดขึ้นไดดีกวาสารเคมีโดยใชการเจริญ (เอกสารประกอบการสอน). กรุงเทพฯ : คลุมทับเสนใยของเชื้อราสาเหตุเกิดโรคสวนการใชสารเคมีจะยับยั้ง ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตรศาสตร เสนใยของเชื้อราที่เกิดขึ้นใหมเกิดเปนบริเวณยับยั้ง (clear zone) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต ซึ่งพบวาลักษณะเสนใยใหมที่งอกจะเปนกอนพูนขึ้นตามแนวขอบ กําแพงแสน. รัศมี มีสีขาวและเหลือง ปรียาพร คงจรรักษ, นภันต สุธารัตนพงษ และวทัญู ตั้งศิริ สวนเปอรเซ็นตการยับยั้งเชื้อรา R. lignosus ของเชื้อ อํานวย. 2551. การประยุกตใชเชื้อรา แบคทีเรีย B. subtilis และ S. aureoliquefaciens มีคาต่ํากวา Trichoderma harzianum และเชื้อแบคทีเรีย Bacillus sp. เพื่อ สารเคมี Calixin ความเขมขน 100% อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ควบคุมโรคใบรวงซึ่งเกิดจากเชื้อรา (p=0.05) เนื่องดวยปริมาณสารปฏิชีวนะที่แบคทีเรียชนิดนี้หลั่งไม Phytophthora parasitica ในตนกลายางพารา.โรงเรียน เพียงพอตอการยับยั้งเชื้อรา และสารปฏิชีวนะที่หลั่งทํางานไดดีที่ มหิดลวิทยานุสรณ: 33. อุณ หภู มิเหมาะสม เช น เอนไซม ไคติเนสทํา งานไดดี ที่ อุณ หภูมิ Cease K. R., Blanchette R. A., and Highley T. L. 1988. ประมาณ 30 องศาเซลเซียส pH 7.0 (Han, 2001) นอกจากนี้ Interactions between Scytalidium สภาวะแวดล อ มไม เ หมาะสมต อ การเจริ ญ เติ บ โตของ S. species and brown- or white-rot basidiomycetes in aureoliquefaciens ซึ่งเจริญไดดีที่อุณหภูมิ 25-30 องศาเซลเซียส birch wood: 109-192. และ pH 6.5-8.0 โดยเจริญไดดีในอาหารเลี้ยงเชื้อ yeast-malt Ehrenberg. 1835. Bacillus subtilis Cohn .1872. 2007. Phys. extract Rev. Lett.: 768-798. การควบคุมเชื้อรา R. lignosus บนใบยางพาราดวยเชื้อ รา G. virens เชื้ อราT. harzianum (CB-Pin01) เชื้อรา