SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 39
Downloaden Sie, um offline zu lesen
วว.
เทคโนโลยีการปลูกพืชไรดิน (Soilless Culture)




                    ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ
  สถาบันวิจยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)
           ั
              กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
เทคโนโลยีการปลูกพืชไรดิน (Soilless Culture)


หนวยงาน          :     ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ
                        สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

คณะผูจัดทํา      :     นายราเชนทร วิสุทธิแพทย
                        นายสยาม สินสวัสดิ์
                        นายศิริธรรม สิงหโต
                        นายประธาน โพธิสวัสดิ์

พิมพครั้งที่ 2   :     พฤษภาคม 2548

จํานวนเลม        :     200 เลม

จํานวนหนา        :     35 หนา

พิมพที่          :     สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย
                        196 ถนนพหลโยธิน จตุจกร กรุงเทพฯ 10900
                                               ั
คํานํา


         การปลูกพืชไรดิน เปนการปลูกพืชแบบหนึ่งซึ่งเปนที่นิยมกันอยางมากในปจจุบัน สามารถ
ปลูกพืชไดในทุกสถานที่โดยไมมีขอบเขตจํากัด ไมวาจะปลูกจํานวนนอยหรือการปลูกแบบเศรษฐกิจ
เชิงการคา สามารถใชเทคนิคการปลูกพืชโดยไมใชดินกับพืชไดแทบทุกชนิด ตั้งแตผัก ผลไม ไมดอก
ไมประดับ พืชไมเลื้อย จนถึงพืชยืนตน แตสวนมากนิยมปลูกกับพืชผัก ไมผลที่มีระยะเก็บเกี่ยวในชวง
อายุสั้น การปลูกพืชไรดินสามารถหลีกเลี่ยงสภาวะตาง ๆ ที่ไมอํานวยในสภาพการผลิตจากวิธีการปลูก
พืชโดยทั่ว ๆ ไป อาทิเชน สภาพดินที่ไมเหมาะสม ดินเค็ม ดินเปรี้ยว สภาพอากาศ ฤดูกาล รวมถึงการ
ขยายตัวของชุมชนทําใหพื้นที่ทําการเกษตรลดลง และราคาที่ดินสูงขึ้น นอกจากนี้การปลูกพืชไรดินยัง
สามารถควบคุมสภาพแวดลอมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการเจริญเติบโตของพืชไดอยางถูกตองและแนนอน
จึงทําใหผลผลิตและคุณภาพของพืชที่ปลูกแบบไรดินสูงกวาการปลูกพืชในดิน ยิ่งไปกวานั้นการปลูกพืช
ไรดินยังประหยัดเวลา แรงงาน และคาใชจายที่ไมตองเตรียมดินและกําจัดวัชพืชกอนการเพาะปลูก
เกษตรกรสามารถปลูกพืชไดตอเนื่องตลอดปในพื้นที่เดิม โดยไมมีปญหาการทําลายสภาพความอุดม
สมบูรณของดินมาเกี่ยวของ ในเรื่องการตลาดเกษตรกรสามารถควบคุมคุณภาพ ปริมาณของผลผลิตให
ไดตรงกับความตองการของตลาดมากยิ่งขึ้น ดวยเหตุนี้จึงมีแนวโนมวาการปลูกพืชไรดินจะเปนทางเลือก
หนึ่งในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรของประเทศไทย

        สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) โดยฝายเทคโนโลยีชีวภาพได
จัดทําหนังสือ “ เทคโนโลยีการปลูกพืชไรดิน (Soilless Culture) ” เพื่อเผยแพรความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ
การปลูกพืชไรดิน สําหรับเกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่สนใจ ไดนําไปศึกษาและสามารถนําไป
ทดลองปฏิบัติไดจริง ทางคณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเลมนี้จะเปนเสมือนการจุดประกายเรื่อง
การปลูกพืชแนวใหมโดยไมใชดนใหแกทุกทานตอไปในอนาคต
                            ิ




                                                                                       คณะผูจัดทํา
                                                                                    พฤษภาคม 2548
สารบัญ


                                                                               หนา
ประวัติการปลูกพืชไรดน ิ                                                         1
ประโยชนของการปลูกพืชไรดิน                                                      3
ขอดีและขอดอยของการปลูกพืชไรดิน                                               4
ความแตกตางระหวางการปลูกพืชบนดินตามธรรมชาติกับปลูกพืชไรดิน                     5
ปจจัยที่ควบคุมการเจริญเติบโตของการปลูกพืชแบบไรดิน                              6
การควบคุมความเปนกรดดาง (pH) และคาการนําไฟฟา (EC) ของสารละลายธาตุอาหารพืช    10
การเพาะตนกลา                                                                  12
อุปกรณที่จาเปนสําหรับการปลูกพืชไรดิน
           ํ                                                                    13
เทคนิคการปลูกพืชไรดิน                                                          14
ปญหาและแนวทางแกไขสําหรับการผลิตในประเทศไทย                                    21
การวิเคราะหเพื่อการตัดสินใจในการปลูกพืชไรดิน                                  28
เอกสารอางอิง                                                                   29
ภาคผนวก                                                                         31
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                               สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)



                                            การปลูกพืชไรดิน
         การปลูกพืชไรดินหมายถึง วิธีการใดก็ตามที่ทําใหการปลูกพืชได
โดยไมตองใชดิน แตจะใชวัสดุอื่นๆ แทน เชน การปลูกพืชใหรากลอยอยู
ในอากาศ การปลูกพืชในสารละลาย หรือการปลูกพืชในวัสดุปลูกเชน
ทราย แกลบ และวัสดุอื่นๆ โดยใหสารละลายธาตุอาหารที่จําเปนตอการ
เจริญเติบโตแกรากโดยตรง ในปริมาณที่เหมาะสมแทนธาตุอาหารที่มีอยู
ในดิน ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงปญหาการปลูกในสวนที่เกี่ยวของกับดิน เชน
ดินมีคุณภาพต่ํา มีความเค็มสูงหรือมีโรคระบาด อีกทั้งการปลูกพืชไรดิน
นี้ยังสามารถควบคุมคุณภาพและปริมาณของผลผลิตใหไดตามตองการ

ประวัติการปลูกพืชไรดิน

           การปลูกพืชแบบไรดินมีมานานแลว เชน สวนลอยฟาของบาบิโลน ถือวาเปนหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย
ของโลก ถูกสรางขึ้นในป 372-287 กอนคริสตศักราช สวนลอยฟาของชาวพื้นเมือง Aztec ที่อาศัยอยูในเม็กซิโก
และสวนลอยฟาของประเทศจีน ในประเทศอียิปตก็มีการบันทึกวา รอยปกอนคริสตศักราชชาวอียิปตมีการ
ปลูกพืชในน้ํา แตตามประวัติที่ไดกลาวถึงการปลูกพืชไรดินที่เขาหลักการทางวิทยาศาสตร ดูเหมือนจะเริ่ม
มาตั้งแตป ค.ศ. 1600 โดย นายเฮลมอนท นักวิทยาศาสตรชาวเบลเยี่ยม แสดงใหเห็นวาพืชไดรับ
สารประกอบจากน้ําโดยปลูกตนวิลโล หนัก 5 ปอนด ในทอที่มีดินแหงอยู 200 ปอนด แลวรดดวยน้ําฝนเปน
เวลา 5 ป พบวาตนวิลโลมีนํ้าหนักเพิ่มขึ้นถึง 169 ปอนด ในขณะที่น้ําหนักดินหายไปนอยกวา 2 ออนซ เขา
สรุ ป ว า พื ช ได รับ สารประกอบจากน้ํ า เพื่ อ ใช ใ นการเจริ ญเติ บ โต แต ไ ม ไ ด ส รุ ปว า พื ช ต อ งการก า ซ
คารบอนไดออกไซดและออกซิเจนจากอากาศดวย ในป ค.ศ. 1699 นายวูดวาดชาวอังกฤษไดพิสูจนวา
สามารถปลูกพืชในน้ําที่ใชละลายดิน ซึ่งน้ํานี้จะมีธาตุอาหารพืชตางๆ จากดินละลายอยู สวน Nicolas de
Saussure (1804) กลาววาพืชตองการธาตุอาหารเพื่อใชในการเจริญเติบโต ในชวงกลางศตวรรษที่ 19 นายบู
ซิงเกาล ไดแนะนําการปลูกพืชในทราย หิน และถาน โดยมีการใหสารละลายธาตุอาหารพืช ตอมาวิธีนี้ถูก
พัฒนาโดย Horstmar ในป ค.ศ. 1856-60 ผูที่คิดคนสารละลายธาตุอาหารพืชมาตรฐานขึ้นเปนคนแรก คือ
Sachs ในป ค.ศ. 1860 หลังจากนั้นก็มีการคนควาธาตุอาหารพืชสูตรตางๆ กันเรื่อยมา จนกระทั่งในป ค.ศ.
1925 ศาสตราจารยเกอริค ชาวอเมริกนแหงมหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย ไดพัฒนาเทคโนโลยีเพิ่มเติม จนกระทั่ง
                                    ั
สามารถนําเอาเทคโนโลยีนี้ออกมาใชนอกหองปฏิบัติการได และเริ่มศักราชของการปลูกพืชโดยวิธีไฮโดร
โปนิกส (Hydroponics) ทั้งนี้เปนสวนครัวและเชิงพาณิชย ตอมา ศาสตราจารยเกอริคไดรับการยกยองใหเปน
บิดาของเทคโนโลยีไฮโดร-โปนิกสสมัยใหม


                                                          1
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                                  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


      จากการสํารวจพื้นที่การปลูกพืชไรดินในประเทศตางๆ ทั่วโลกเมื่อป พ.ศ. 2535 พบวามีพื้นที่ปลูก
ประมาณ 8,386 เฮกแตร หรือประมาณ 52,406 ไร ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 พื้นที่การปลูกพืชไรดินในประเทศตางๆ เมื่อ ป พ.ศ. 2535
                    ประเทศ                       พื้นที่ปลูก (เฮกแตร)                          พื้นที่ปลูก (ไร)
 เนเธอรแลนด                                                    3,600                              22,500
 อิสราเอล                                                           650                              4,063
 ฝรั่งเศส                                                           600                              3,750
 สเปน                                                               500                              3,125
 สหราชอาณาจักร                                                      500                              3,125
 เบลเยี่ยม                                                          400                              2,500
 ญี่ปุน                                                            400                              2,500
 แอฟริกาใต                                                         400                              2,500
 เยอรมันนี                                                          250                              1,563
 ออสเตรเลีย                                                         200                              1,250
 แคนาดา                                                             200                              1,250
 รัสเซีย                                                            150                                938
 นิวซีแลนด                                                         100                                625
 สวีเดน                                                             100                                625
 อิตาลี                                                               50                               313
 สหรัฐอเมริกา                                                         50                               313
 โปรตุเกส                                                             40                               250
 ไตหวัน                                                              35                               219
 บัลกาเรีย                                                            30                               188
 ไอรแลนด                                                            25                               156
 อามิเนีย                                                             20                               125
 สวิสเซอรแลนด                                                       20                               125
 ฟนแลนด                                                             15                                94
 กรีก                                                                 15                                94
 โปแลนด                                                              15                                94
 จีน                                                                  10                                63
 อินโดนีเซีย                                                           5                                31
 สิงคโปร                                                             5                                31
 ฮองกง                                                                1                                 6
 รวม                                                             8,386                              52,413
ที่มา : International Congress on Soilless Culture. 1993. หมายเหตุ 1 เฮกแตร เทากับ 6.25 ไร


                                                            2
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                           สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


ประโยชนของการปลูกพืชไรดิน

            การปลูกพืชไรดินนี้ สามารถปลูกพืชไดในทุก
สถานที่โดยไมมีขอบเขตจํากัดไมวาจะปลูกจํานวนนอย
หรือการปลูกแบบเศรษฐกิจเชิงการคา สามารถปลูกได
ในเมืองที่แออัดคับแคบ เชน การปลูกแบบเชิงการคาใน
เมื อ งที่ แ ออั ด คั บ แคบในประเทศญี่ ปุ น และไต ห วั น
เนเธอร แ ลนด เบลเยี่ ย ม เป น วิ ธี ท่ี เ หมาะสมกั บ ความ
ตองการสําหรับผูปลูกที่มีพื้นที่ปลูกนอย พืชปลูกดวยการ
ใหสารละลายที่ไมเปอนดินจึงมีความสะอาดสวยงามกวา
การปลูกในดินแลวยังใหความเพลิดเพลินตาความสุขใหแกผูปลูกและผูที่พบเห็น อีกทั้งพืชผลเก็บเกี่ยวมี
ความนารับประทาน
            สําหรับการปลูกแบบเล็กๆ หรือปลูกเปนงานอดิเรกก็มีความยุงยากไมมากนัก เปนเหมือนกับการทํา
สวนตามปกติ แตสําหรับการปลูกแบบเปนเชิงการคานั้นก็เปนอีกลักษณะหนึ่งที่ตองมีเทคนิคตางๆ ในการ
ควบคุมใหรัดกุมมากยิ่งขึ้น
            วิธีการปลูกพืชไรดินสามารถใชปลูกพืชไดหลายชนิด
ทั้งนี้ข้นกับความยากงายของการปลูกพืชแตละชนิด สามารถใช
         ึ
เทคนิคการปลูกพืชไรดินกับพืชไดแทบทุกชนิด ตั้งแตผัก ผลไม
ไมดอก ไมประดับ ไมเลื้อย จนถึงพืชยืนตน แตสวนมากนิยม
ปลู กพวกพื ชผั ก ไม ผลที่ เ ป นพื ชที่ เ ก็ บเกี่ ย วช ว งอายุ สั้ น ดั ง
ตัวอยางที่แสดงใหเห็นใน ตารางตอไปนี้

ตารางที่ 2 ตัวอยางของพืชที่สามารถปลูกโดยการปลูกพืชไรดิน

       พืชผัก            ไมผล/ผักรับประทานผล        ไมดอก          พืชสมุนไพร              พืชอาหารสัตว
 มะเขือเทศ            สม                       กุหลาบ           วานหางจระเข           หญา
 ผักกาดขาว            สตรอเบอรี่                คารเนชั่น       พืชสวนครัว              บารเลย
 คื่นฉาย             กลวย                                      ตางๆ เชน              ขาวโพดเลี้ยงสัตว
 ผักชี                แตงกวา                                     กระเพรา
 ผักบุง              แตงแคนตาลูบ                                แมงลัก
 ผักสลัด              ถั่วฝกยาว                                 โหรพา
                      พริก
                      มะเขือ


                                                       3
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                     สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


        อนึ่ง การปลูกพืชไรดิน มิใชจะกอใหเกิดประโยชนตอชีวิตและความเปนอยูในปจจุบันเทานั้น แต
อาจจะกอใหเกิดประโยชนในการพัฒนาชีวิตในอนาคต ดังที่อดีตประธานาธิบดีโลแนน เรแกน แหงสหรัฐ-
อเมริกาไดกลาววา การปลูกพืชไรดิน (Hydroponics) จะเปนเทคโนโลยีที่ดีเดนใชในการผลิตอาหารใน
อนาคตแลว ยังมีนักวิทยาศาสตรหลายทานกําลังวิจัยเกี่ยวกับการใชประโยชนการปลูกพืชไรดิน (Soilless
Culture) ในดานตางๆ เชน มหาวิทยาลัยเพอรดู และสถาบันวิจัยสิ่งแวดลอมของมหาวิทยาลัยอลิโซนากําลัง
พัฒนาสิ่งที่ใชในการชวยเหลือโครงการอวกาศใหแกองคการนาซา (National Aeronautic and Space
Administration, NASA) ในโครงการ Controlled Ecologycal Life Support Systems (CELSS) ซึ่งงานวิจัยนี้
จะใชในโครงการเดินทางอวกาศ เชนโครงการเดินทางไปยังดาวพุธ

ขอดีและขอดอยของการปลูกพืชไรดิน

    ขอดี
        1. สามารถทําการเพาะปลูกพืชในบริเวณพื้นที่ดินไมดีหรือสภาพแวดลอมไมเหมาะสมตอการปลูก
        2. ใชพื้นที่เพาะปลูกนอยและสามารถทําการผลิตไดอยางสม่ําเสมอ
        3. ลดคาขนสงเพราะสามารถเลือกผลิตใกลเขตชุมชนหรือโรงงาน
            อุตสาหกรรมฯ ที่รับซื้อ ทําใหมีศักยภาพในเชิงการคาสูง
        4. ประหยัดเวลา แรงงาน และคาใชจายในการเตรียมดินและกําจัด
            วัชพืช
        5. ใชแรงงานนอยแตมีประสิทธิภาพสูง
        6. สามารถปลูกพืชอยางตอเนื่องไดตลอดปในพื้นที่เดียวกัน
        7. พืชเจริญเติบโตไดเร็วและใหผลผลิตที่มากกวาการปลูกแบบธรรมดาอยางนอย 2 สัปดาห
        8. สามารถตัดปญหาเกี่ยวกับศัตรูพืชที่เกิดจากดิน ทําใหสามารถปลูกพืชในพื้นที่เดียวกันไดตลอดป
            ถึงแมจะเปนพืชชนิดเดียวกัน
        9. สามารถใชนํ้าและธาตุอาหารพืชอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด เชน ปริมาณน้ําใชลดลงไมต่ํา
            กวา 10 เทาตัวของการปลูกแบบธรรมดา
        10. สามารถควบคุมสภาพแวดลอมตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเจริญของพืชไดอยางถูกตองแนนอน
            และรวดเร็ว โดยเฉพาะในระดับรากพืช ไดแก การควบคุมปริมาณธาตุอาหาร คาความเปนกรด
            ดาง อุณหภูมิความเขมขนของออกซิเจน ฯลฯ ซึ่งการปลูกพืชแบบทั่วไปทําไดยาก ทําให
            ผลผลิตและคุณภาพของพืชที่ไดจึงสูงกวาการปลูกแบบทั่วๆ ไปมาก
    ขอดอย
        1. เปนระบบที่มีตนทุนการผลิตเริ่มตนคอนขางสูง เนื่องจากประกอบดวยอุปกรณตางๆ มากมาย
            และมีราคาแพง

                                                 4
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                     สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


         2. จะตองใชผูที่มีความชํานาญและประสบการณมากพอสมควรในการควบคุมดูแล
         3. ตองมีการควบคุมดูแลอยางสม่ําเสมอ
         4. ถาหากไมมีความรูและความสามารถในการจัดการที่ดีพอ อาจทําใหผลผลิตมีปริมาณธาตุอาหาร
            ในผลผลิตพืช เชน ไนเตรท สูงจนเปนอันตรายตอการบริโภคได
         5. วัสดุปลูกบางชนิดเนาเปอยหรือเนาสลายตัวยาก ทําใหอาจมีปญหาตอสิ่งแวดลอมได นอกจากนี้
            สารอาหารพืชที่ใชแลวหากไมมการจัดการที่ดีก็อาจสรางปญหาใหนํา เชน ไนเตรท เปนตน
                                           ี                               ้

ความแตกตางระหวางการปลูกพืชบนดินตามธรรมชาติกับปลูกพืชไรดิน

           ปกติแลวพืชจะเจริญเติบโตไดดีนั้นตองมีการเจริญเติบโตที่
เหมาะสม คือ แสง น้ํา ธาตุอาหารพืช อุณหภูมิ ความเปนกรดดาง
(pH) ออกซิเจน และคารบอนไดออกไซด ทั้งที่รากสวนเหนือดิน
           การปลู ก พื ช บนดิ น โดยทั่ ว ไปแม ดิ น จะมี ธ าตุ อ าหารและ
อากาศอั น เป น ป จ จั ย ที่ พื ช ต อ งการนั้ น มั ก มี ข อ เสี ย คื อ ดิ น จะมี
คุณสมบัติที่ไมแนนอนแตกตางกันไปตามสภาพพื้นที่ เชน โครงสราง
ของดิน ปริมาณธาตุอาหารหรือความอุดมสมบูรณต่ํา ความเปนกรด
ดางไมเหมาะสม ยุงยากตอการปรับปรุงและเสียคาใชจายสูง ปญหา
เหลานี้ทําใหไดผลผลิตที่ไมแนนอน
           สวนการปลูกพืชไรดินนั้นพืชจะไดรับสารละลายที่มีธาตุอาหารเรียกวาสารละลายธาตุอาหารพืชที่
ประกอบดวยธาตุอาหารที่จําเปนตอพืช ที่อยูในรูปที่พืชสามารถนําไปใชไดทันทีเพราะมีการปรับคาการนํา
ไฟฟา (EC) และความเปนกรดดาง (pH) ใหอยูในระดับที่เหมาะสมตอการนําไปใชประโยชนของพืชอยู
ตลอดเวลา ที่จริงแลวไมมีความแตกตางทางสรีรวิทยาระหวางพืชที่ปลูกบนดินตามธรรมชาติและการปลูก
พืชไรดิน
           ในการปลูกพืชบนดินตามธรรมชาติ “สารอาหารในดิน” เปนอาหารพืชที่อยูในน้ําในดิน ซึ่งมาจาก
วัตถุที่เปนสิ่งที่เนาเปอยผุพังยอยสลาย ที่มาจากอนินทรียสาร และอินทรียสาร
           ในขณะที่การปลูกพืชที่ไรดินนั้น พืชจะไดรับ “สารละลายธาตุอาหาร มาจากการละลายของปุยเคมี
ในน้ําเรียกวา “สารละลายธาตุอาหารพืช”
           ทั้งสารอาหารในดินของการปลูกพืชบนดินที่ไดจาก
การเนาเปอยผุผังตามธรรมชาติ และสารละลายธาตุอาหาร
จากการปลูกพืชไรดิน จะสัมผัสกับรากพืชซึ่งพืชจะดูดเอาไป
ใชในการเจริญเติบโตดวยกระบวนการตางๆ ตอไป



                                                 5
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                         สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


ปจจัยที่ควบคุมการเจริญเติบโตของพืชไรดิน

     1. ปจจัยทางดานพันธุกรรม
         ยีน (gene) เปนตัวกําหนดลักษณะการเจริญเติบโตของพืช ไมวาจะเปนสวนของราก ลําตน กิ่ง กาน
ใบ ตลอดจนดอกและผล การสะสมมวลชีวภาพไดมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับพันธุกรรมของพืชเอง พันธุพืช
ที่จะใชกับการปลูกพืชดวยวิธีไฮโดรโปนิกสโดยเฉพาะยังไมมีหรือมีนอยมาก

     2. ปจจัยทางดานสิ่งแวดลอม
        2.1 แสง
            ตามธรรมชาติพืชจะใชแสงอาทิตยเปนแหลงพลังงาน เพื่อทําใหเกิดกระบวนการสังเคราะหแสง
ที่ใบหรือสวนที่มีสีเขียว โดยมีคลอโรฟลล (Chlorophyll) ซึ่งเปนรงควัตถุสีเขียวชนิดหนึ่งที่มีหนาที่เปน
ตัวรับแสงเพื่อเปลี่ยนกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) และน้ํา (H2O) เปนกลูโคส (C6H12O6) และกาซ
ออกซิเจน (O2) พืชที่ปลูกในบานหรือเรือนทดลอง อาจใชแสงสวางจากไฟฟาทดแทนแสงอาทิตยไดแตก็
เปนการสิ้นเปลืองและไมสมบูรณเมื่อเปรียบเทียบกับแสงธรรมชาติ

         2.2 อากาศ
             พืชจําเปนตองใชกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ที่มีอยูประมาณ 0.033 เปอรเซ็นต ในบรรยากาศ
ในการผลิตกลูโคส (C6H12O6) ซึ่งเปนสารอินทรียเริ่มตน เหตุการณที่พืชจะขาดคารบอนไดออกไซด เปนไป
ไดยาก เนื่องจากมีแหลงคารบอนไดออกไซดอยางเหลือเฟอ เชน การเผาไหมเชื้อเพลิงจากโรงงานและ
รถยนต ตลอดจนการผลิตไฟฟา เปนตน สวนกาซออกซิเจน (O2) พืชตองการเพื่อใชในกระบวนการหายใจ
(Respiration) เพื่อเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยซึ่งถูกเก็บไวในรูปพลังงานเคมี ในรูปของน้ําตาลกลูโคสและ
สามารถใหเปนพลังงานเพื่อใชในการขับเคลื่อนกระบวนการเมตาโบลิซึม (Metabolism) ตางๆ การหายใจ
ของส ว นเหนื อ ดิ น ของพื ช มั ก ไม มี ป ญ หา เพราะในบรรยากาศมี อ อกซิ เ จนเป น องค ป ระกอบอยู ถึ ง 20
เปอรเซ็นต สําหรับรากพืชมักจะขาดออกซิเจน โดยเฉพาะการปลูกพืชไรดินดวยเทคนิคการปลูกดวย
สารละลาย (Water Culture หรือ Liquid Culture) จําเปนตองใหออกซิเจนในจํานวนที่เพียงพอตอความ
ตองการของพืช การใหออกซิเจนแกรากพืชจะใหในรูปของฟองอากาศที่แทรกอยูในสารละลายธาตุอาหาร
พืช ซึ่งใหโดยใชเครื่องสูบลม หรือการใชระบบน้ําหมุนเวียน

       2.3 น้ํา
           คุณภาพน้ําเปนเรื่องสําคัญมากเรื่องหนึ่ง การปลูกพืชเพียงเล็กนอยเพื่อการทดลองจะไมมีปญหา
แตการปลูกเปนการคา จะตองพิจารณาเรื่องของน้ํากอนอื่น หากใชน้ําคุณภาพไมดีทั้งองคประกอบทางเคมี
และความสะอาด จะกอใหเกิดความลมเหลว น้ําเปนตัวประกอบที่สําคัญ โดยจะถูกนําไปใช 2 ทาง คือ



                                                     6
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                         สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


              1. ใชเปนองคประกอบของพืช พืชมีน้ําเปนองคประกอบประมาณ 90-95 เปอรเซ็นตโดย
                 น้ําหนัก พืชใชนําเพื่อกอใหเกิดกิจกรรมที่มีประโยชน
                                  ้
              2. ใชเปนตัวทําละลายธาตุอาหารพืชใหอยูในรูปไอออนหรือสารละลายธาตุอาหารพืชโมเลกุล
                 เล็ก เพื่อใหรากดูดกินเขาไป ปกติน้ําประปาถือวาใชได แตสําหรับการทดลอง มักใชน้ํา
                 กลั่นหรือน้ําประปาที่ทิ้งใหคลอรีนหมดไป แหลงของน้ําที่ดีสุด สําหรับการปลูกพืชไรดิน
                 เชิงพาณิชย คือ น้ําฝนหรือน้ําจากคลองชลประทาน

          2.4 วัสดุปลูก
              วัสดุปลูก หมายถึงวัตถุ (material) ตางๆ ที่เลือกสรรมา เพื่อ
ใชปลูกพืชและทําใหตนพืชเจริญเติบโตไดเปนปกติ วัสดุดังกลาวอาจ
เปนชนิดเดียวกันหรือหลายชนิดผสมกัน ชนิดของวัสดุปลูกอาจเปน
อินทรียวัตถุก็ได โดยทั่วไปวัสดุปลูกจะมีบทบาทตอการเจริญเติบโต
และการใหผลผลิตพืช 4 ประการ ไดแก
              ก. ค้ําจุนสวนของพืชที่อยูเหนือวัสดุปลูกใหตั้งตรงอยูได
              ข. เก็บสํารองธาตุอาหารพืช
              ค. กักเก็บน้ําเพื่อเปนประโยชนตอพืช
              ง. แลกเปลี่ยนอากาศระหวางรากพืชกับบรรยากาศเหนือวัสดุปลูก
              การปลูกพืชไรดินดวยเทคนิควัสดุปลูก (Substrate Culture) วัสดุปลูกพืชนับวามีความสําคัญยิ่ง
วัสดุปลูกอาจจะเปนวัสดุอนินทรีย (Inorganic media) เชน ทราย กรวด หินภูเขาไฟ เปอรไลท (Perlite)
เวอรมิคิวไลท (Vermiculite) และร็อกวูล (Rockwool) เปนตน หรือวัสดุอินทรีย (Organic media) เชน ขี้เลื่อย
ขุยมะพราว เปลือกไมและแกลบ เปนตน วัสดุปลูกควรมีอนุภาคสม่ําเสมอ ราคาถูก ปราศจากพิษ และศัตรูพืช
และเปนวัสดุที่หางายในทองถิ่นนั้น ในญี่ปุนสวนใหญจะใชแกลบเปนวัสดุปลูก แตแกลบจะมีรูพรุนมากจึง
ไมดูดซับน้ํา ควรเก็บไวระยะหนึ่ง หรือผสมกับวัสดุอ่ืนที่กักเก็บน้ําได เชน ขุยมะพราว ความสามารถในการ
อุมน้ําของวัสดุปลูก เปนคุณสมบัติอยางหนึ่งที่มีผลตอการเจริญเติบโตของพืช เพราะเกี่ยวของกับสัดสวนของ
อากาศและน้ํา ในชองวางที่เหมาะสม

              วัสดุปลูกที่เปนของแข็ง สามารถจําแนกตามที่มาและแหลงกําเนิดของวัสดุไดดังตอไปนี้
              1. วัสดุปลูกที่เปนอนินทรียสาร เชน
                  - วัสดุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ทราย กอนกรวด หินภูเขาไฟ หินซีลท ฯลฯ
                  - วัสดุที่ผานขบวนการโดยใชความรอน ทําใหวัสดุเหลานี้มีคุณสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม
                       เชน ดินเผา เม็ดดินเผา ที่ไดจากการเผาเม็ดดินเหนียวที่อุณหภูมิสูง 1,100 องศา-
                       เซลเซียส ใยหิน ที่ไดจากการหลอมหินภูเขาไฟที่ทําใหเปนเสนใยแลวผสมดวยสาร
                       เลซิน เปอรไลท ที่ไดจากทรายที่มีตนกําเนิดจากภูเขาที่อุณหภูมิสูง 1,200 องศา-

                                                    7
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                         สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


                         เซลเซียส เวอรมิคูไลท (vermiculite) ที่ไดจากการเผาแรไมกาที่อุณหภูมิสูง 800 องศา
                         เซลเซียส เปนตน
                    - วั ส ดุ เ หลื อ ใช จ ากโรงงานอุ ต สาหกรรม
                         เช น เศษจากการทํ า อิ ฐ มอญ เศษดิ น เผา
                         จากโรงงานเครื่องปนดินเผา
               2. วัสดุปลูกที่เปนอินทรียสาร เชน วัสดุที่เกิดขึ้น
เองตามธรรมชาติ เชน ฟางขาว ขุยและเสนใยมะพราว แกลบ
และขี้ เ ถ า เปลื อ กถั่ ว พี ท หรื อ วั ส ดุ เ หลื อ ใช จ ากโรงงาน
อุตสาหกรรม เชน ชานออย กากตะกอนจากโรงงานน้ําตาล วัสดุเหลือใชจากโรงงานกระดาษ
               3. วัสดุสังเคราะห เชน เม็ดโฟม แผนฟองน้ํา และเสนใยพลาสติก
               ลักษณะของวัสดุปลูกที่ดี ภาพรวมในการเลือกใชวัสดุปลูกใหคํานึงถึง คือ ตองสะอาด และทํา
ความสะอาดงาย มีความแข็งแรง มีคุณสมบัติทางกายภาพที่ดี เชน ไมทรุดตัวงาย ถายเทน้ําและอากาศไดดี
มีคุณสมบัติที่เหมาะสมทางเคมี เชน ระดับของความเปนกรดดาง ไมมีสารทําลายรากพืช เปนวัสดุที่สามารถ
เพาะเมล็ดไดทุกขนาดและทุกประเภท ควรเปนวัสดุที่มีราคาถูกที่สามารถหาไดในทองถิ่น และไมกอใหเกิด
ปญหาตอสิ่งแวดลอม

       2.5 สารละลายธาตุอาหารพืช
            ธาตุอาหารที่พืชตองการในการเจริญเติบโตและใหผลผลิต มีทั้งหมด 16 ธาตุ ซึ่ง 3 ธาตุ คือ
คารบอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ไดจากน้ําและอากาศ และอีก 13 ธาตุ ไดจากการดูดกินผานทางราก ทั้ง
13 ธาตุแบงออกเปน 2 กลุม ตามปริมาณที่พืชตองการ คือ ธาตุอาหารที่พืชตองการเปนปริมาณมากและ
ธาตุอาหารที่พชตองการเปนปริมาณนอย
             ื

            ก. ธาตุอาหารที่พชตองการเปนปริมาณมาก (macronutrient elements)
                            ื
               ไนโตรเจน (N) พืชสามารถดูดกินไนโตรเจนไดทั้งในรูปของแอมโมเนียมไอออน (NH4+)
และไนเตรทไอออน (NO3-) ซึ่งไนโตรเจนสวนใหญในสารละลายธาตุอาหารพืชจะอยูในรูปไนเตรทไอออน
เพราะถามีแอมโมเนียมไอออนมากจะเปนอันตรายตอพืชได สารเคมีที่ใหไนเตรทไอออน คือ แคลเซียม
ไอออน และโปแตสเซียมไนเตรท นอกจากนี้ยังอาจไดจากกรดดินประสิว (HNO3-) ที่ใชในการปรับความ
เปนกรดดางของสารละลายธาตุอาหารพืช
               ฟอสฟอรัส (P) ในการปลูกพืชไรดิน พืชตองการธาตุฟอสฟอรัสไมมากเทากับไนโตรเจน
และโปแตสเซียม ประกอบกับไมมปญหาในเรื่องความไมเปนประโยชนของฟอสฟอรัสเหมือนในดิน พืชจึง
                               ี
ไดรับฟอสฟอรัสอยางเพียงพอ รูปของฟอสฟอรัสที่พืชสามารถดูดกินไดคือ mono-hydrogen phosphate ion
(HPO4-2) สวนจะอยูในรูปใดมากกวากันขึ้นอยูกับความเปนกรดดางของสารละลายในขณะนั้น


                                                     8
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                        สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


                 โปแตสเซียม (K) รูปของโปแตสเซียมที่พืชดูดกินได คือ potassium ion (K+) โปแตสเซียม
ที่มีมากเกินพอ จะไปรบกวนการดูดกินแคลเซียมและแมกนีเซียม สารเคมีที่ใหโปแตสเซียม คือ potassuim
nitrate และ potassium phosphate
                 แคลเซียม (Ca) รูปของแคลเซียมที่พืชดูดกินไดคือ calcium ion (Ca+2) แหลง Ca+2 ที่ดีที่สุด
คือ calcium nitrate เนื่องจากละลายงาย ราคาไมแพงและยังใหธาตุไนโตรเจนดวย แคลเซียมที่มีมากใน
สารละลายธาตุอาหารพืช จะไปรบกวนการดูดกินโปแตสเซียมและแมกนีเซียม ในน้ําตามธรรมชาติจะมี
แคลเซียมอยูปริมาณหนึ่ง การเตรียมสารละลายธาตุอาหารพืชจึงควรคิดแคลเซียมในน้ําดวยจะไดไมเกิด
ปญหาในการมีแคลเซียมมากเกินไป
                 แมกนีเซียม (Mg) รูปของแมกนีเซียมที่พืชดูดกินไดคือ magnesium ion (Mg+2) สารเคมีที่
ใหแมกนีเซียมคือ magnesium sulfate (MgSO4) ในน้ําธรรมชาติจะมีแมกนีเซียมอยูดวย ฉะนั้นในการเตรียม
สารละลายธาตุอาหารพืชจึงควรคํานึงถึงดวย แมกนีเซียมที่มีมากเกินพอในสารละลายจะไปรบกวนการดูด
กินธาตุโปแตสเซียมและแคลเซียม
                 กํามะถัน (S) รูปของกํามะถันที่พืชสามารถดูดกินได คือ sulfate ion (SO4-2) พบวาไมคอยมี
ปญหาการขาดกํามะถันในระบบการปลูกพืชไรดิน เพราะพืชตองการกํามะถันในปริมาณนอย และจะไดรับ
จากสารเคมีพวกเกลือซัลเฟตของ K, Mg, Fe, Cu, Mn และ Zn เปนตน

             ข. ธาตุอาหารที่พชตองการเปนปริมาณนอยหรือจุลธาตุ (micronutrient elements)
                                ื
                  โบรอน (B) การแสดงอาการขาดธาตุโบรอนของพืชพบเห็นไดยากเนื่องจากพืชตองการใน
ปริมาณนอย ซึ่งในน้ําธรรมชาติก็มีโบรอนอยูดวย สารเคมีที่ให borate ion (BO3-3) ซึ่งพืชสามารถดูดกินได
คือ boric acid (H3BO3)
                  สังกะสี (Zn) รูปที่พืชสามารถดูดกินไดคือ zinc ion (Zn+2) ซึ่งไดจาก zinc sulfate (ZnSO4)
หรือ zinc chloride (ZnCl2)
                  ทองแดง (Cu) สารเคมีที่ให Copper ion (Cu+2) คือ copper sulfate (CuSO4) หรือ copper
chloride (CuCl2)
                  เหล็ก (Fe) พืชดูดกินในรูป Fe+2 หรือ Fe+3 สารเคมีที่ใหธาตุเหล็กที่มีราคาถูกที่สุดคือ
ferrous sulfate (FeSO4) ซึ่งละลายน้ําไดงาย แตก็จะตกเปนตะกอนไดเร็ว จึงตองควบคุมสภาพความเปนกรด
ดางของสารละลาย เพื่อหลีกเลี่ยงปญหาเหลานี้ โดยการใชเหล็กในรูปคีเลต (Fe-chelate) ซึ่งเปนสารเกิดจาก
การทําปฏิกิริยาระหวางเหล็ กและสารคี เลต ซึ่งเป นสารประกอบอินทรี ย เหล็ก คีเลต เปนสารประกอบ
เชิงซอน สามารถคงตัวอยูในรูปสารละลายธาตุอาหารพืชและพืชดูดกินได เหล็กคีเลตที่นิยมใชกันอยูในรูป
ของ EDTA หรือ EDDHA
                  แมงกานีส (Mn) มีลักษณะเหมือนกับเหล็กคือ ความเปนประโยชนของแมงกานีส จะถูก
ควบคุมโดยความเปนกรดดาง ถาสารละลายธาตุอาหารพืชมีลักษณะดาง ความเปนประโยชนของแมงกานีส

                                                    9
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                      สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


จะลดลง manganese ion (Mn+2) ซึ่งเปนรูปที่พืชสามารถดูดกินได จะไดจากสารเคมี manganese sulfate
(MnSO4) หรือ manganese chloride (MnCl2)
                โมลิบดินัม (Mo) รูปที่พืชสามารถดูดกินไดคือ molybdate ion (MoO4-2) ซึ่งไดจากสาร
sodium molybdate หรือ ammonium molybdate
                คลอรีน (Cl) ในน้ําจะมีคลอรีนในรูปของคลอไรด (chloride ion (Cl-) ซึ่งเปนรูปที่พืชจะ
นํา ไปใชป ระโยชน เ จื อ ปนอยู ด ว ย จากการเตรีย มสารละลายธาตุ อ าหารพื ช จะได ค ลอไรด จ ากสารเคมี
potassium chloride รวมทั้งจากจุลธาตุบางธาตุที่อยูในรูปของสารประกอบคลอไรด ถาสารละลายมี Cl- มาก
เกินพอ จะไปมีผลยับยั้งการดูดกิน anions ตัวอื่น เชน nitrate (NO3-) และซัลเฟต (SO4-2)

การควบคุมความเปนกรดดาง (pH) และคาการนําไฟฟา (EC) ของสารละลายธาตุอาหารพืช
      การรักษาหรือควบคุมความเปนกรดดาง และคาการนําไฟฟาในสารละลายอาหารนี้เพื่อใหพืช
สามารถดูดใชปุยหรือสารอาหารพืชไดดี และเพื่อใหปริมาณสารอาหารแกพืชตามที่ตองการ

     1. การรักษาหรือควบคุม pH
         เนื่องจากคาความเปนกรดดางในสารละลายจะเปนคาที่บอกใหทราบถึงความสามารถของรากที่จะ
ดูดธาตุอาหารตางๆ ที่อยูในสารละลายธาตุอาหารพืชได
         ปกติแลวควรรักษาคาความเปนกรดดางที่ 5.8-7.0 เพราะเปนคาหรือชวงที่ธาตุอาหารพืชตางๆ
สามารถคงรูปในสารละลายที่พืชนําไปใชไดดี
         คาความเปนกรดดางในสารละลายธาตุอาหารพืชเปลี่ยนแปลงไดหลายสาเหตุ เชน การเปลี่ยนแปลง
เนื่องจากการที่รากพืชดูดธาตุอาหารในสารละลายธาตุอาหาร แลวพืชปลดปลอยไฮโดรเจน (H+) และ
ไฮดรอกไซด (OH-) จากรากสูสารละลายธาตุอาหารพืชทําให pH เปลี่ยนแปลงไป เชน
         - ประจุไฟฟาลบ หรือแอนไอออน (anions) เชน ไนเตรท (NO3-), ซัลเฟต (SO4- -), ฟอสเฟต
              (PO4- - -) แลวจะปลดปลอยไฮดรอกไซด (OH-) สูสารละลายธาตุอาหาร
         - ประจุไฟฟาบวก หรือแคตไอออน (cations) เชน แคลเซียม (Ca++), แมกนีเซียม (Mg++),
              โปแตสเซียม (K+), แอมโมเนียม (NH4+) แลวจะปลดปลอยไฮโดรเจน (H+) สูสารละลายธาตุ
              อาหาร
         ปกติแลวธาตุอาหารในสารละลายธาตุอาหารพืช มีประจุไฟฟาบวกหรือแคตไอออนมากกวาคาของ
ประจุไฟฟาลบหรือแอนไอออนแลว คาความเปนกรดดางจะลดลง ในขณะที่การดูดกินแอนไอออนมากกวา
แคตไอออนจะเพิ่มความเปนกรดดางในสารละลายธาตุอาหารพืช
         สําหรับการใหธาตุอาหารบางชนิดที่พืชตองการใชในปริมาณมาก คือ ธาตุไนโตรเจน (Nitrogen, N)
ซึ่งมีการใหทั้ง 2 รูปแบบ คือ ในรูปแบบของประจุลบในสารอาหารในรูปของไนเตรส (NO3-) และในรูปแบบ



                                                  10
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                       สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


ของประจุบวกในสารอาหารในรูปของแอมโมเนียม (NH4+) นั้น ตองพิจารณาถึงอัตราสวนของสารนี้ใหดี
เพราะจะมีอทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงของความเปนกรดดางและการใชประโยชนของพืชมาก
            ิ
        การปรับเพื่อลดหรือเพิ่มคาความเปนกรดดางนั้น สามารถทําไดโดยเติมสารลงไปในสารละลายธาตุ
อาหารพืช เชน
        1.1 การปรับเพื่อลดคาความเปนกรดดาง โดยการเติมสารใดสารหนึ่งตอไปนี้ ลงไปในสารละลาย
ธาตุอาหารพืช เชน Sulfuric acid (H2SO4) หรือ Nitric acid (HNO3) หรือ Hydrochloric acid (HCl) หรือ
Acetic acid
        1.2 การปรับเพื่อเพิ่มคาความเปนกรดดาง ใหสูงขึ้น ทําโดยการเติมสารใดสารหนึ่งตอไปนี้ลงไปใน
สารละลายธาตุอาหารพืช เชน Potassium hydroxide (KOH) หรือ Sodium hydroxide (NaOH) หรือ Sodium
bicarbonate หรือ Bicarbonate of soda (NaHCO3)

     2. การควบคุมคาการนําไฟฟา (Electrical Conductivity)
          เนื่องจากปุยที่ละลายในน้ําที่คาของอิออน (ion) ที่สามารถใหกระแสไฟฟาที่มีหนวยเปนโมท (Mho)
แตคาของการนํากระแสไฟฟานี้คอนขางนอยมาก จึงมีการวัดเปนคาที่มีหนวยเปนมิลลิโมท/เซนติเมตร
(milliMhos/cm) อันเปนคาที่ไดจากการวัดการนํากระแสไฟฟาจากพื้นที่หนึ่งคิวบิกเซนติเมตรของสารอาหาร
          การวัดคาการนําไฟฟาจะทําใหเราทราบเพียงคารวมของการนําไฟฟาของสารละลายธาตุอาหารพืช
(คือน้ํากับปุยที่เปนธาตุอาหารพืชทั้งหมดในถังที่ใสสารอาหารทั้งหมด) เทานั้น แตไมทราบคาของสัดสวน
ของธาตุอาหารใดธาตุอาหารหนึ่งที่อยูในถัง ที่อาจเปลี่ยนไปตามเวลาเนื่องจากพืชนําไปใชหรือตกตะกอน
          ดังนั้นหลังจากมีการปรับคาการนําไฟฟาไปไดระยะหนึ่งแลวจึงควรเปลี่ยนสารละลายในถังใหม
เปนระยะๆ โดยเฉพาะประเทศที่มีอากาศรอนอยางประเทศไทย ควร
เปลี่ยนสารละลายใหมเปนระยะๆ เชน ทุก 3 สัปดาห ซึ่งการเปลี่ยน
สารละลายธาตุอาหารพืชแตละครั้งก็หมายถึงการเสียคาใชจายเพิ่มขึ้น
          ปกติแลวควรรักษาคาการนําไฟฟาของสารอาหารระหวาง
2.0-4.0 มิลลิโมท/เซนติเมตร (milliMhos/cm)
          การเปลี่ยนแปลงคาการนําไฟฟาของสารละลาย แมวาปกติแลวควรรักษาคาการนําไฟฟาของ
สารอาหารระหวาง 2.0-4.0 มิลลิโมท/เซนติเมตร (milliMhos/cm=mMhos/cm)
          1 (mMho/cm) = 1Millisiemen/cm (mS/cm)
          1 Millisiemen/cm (mS/cm) = 650 ppm ของความเขมขนของสารละลาย (salt)
          ปกติแลวความเขมขนของสารอาหารควรอยูในชวง 1,000-1,500 ppm เพื่อใหแรงดันออสโมติกของ
กระบวนการดูดซึมธาตุอาหารของรากพืชไดสะดวก
          คาการนําไฟฟาจะแตกตางกันไปตามชนิดของพืช ระยะการเติบโต และความเขมของแสง เชน
          คาการนําไฟฟาที่ต่ําคือ (1.5-2.0 mMho/cm) เหมาะสมตอการปลูกแตงกวา

                                                  11
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                      สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


         คาการนําไฟฟาที่สูงคือ (2.5-3.5 mMho/cm) เหมาะสมตอการปลูกมะเขือเทศ
         คาการนําไฟฟา (1.8-2.0 mMho/cm) เหมาะสําหรับการปลูกผักและไมดอกไมประดับทั่วไป
         คาการนําไฟฟาจะแตกตางกันไปตามระยะการเจริญเติบโตและความแข็งแรงของตนพืช เพราะคา
การนําไฟฟาที่สูงจะยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช คาการนําไฟฟาที่ต่ําจะเหมาะสมตอการเจริญเติบโตทาง
ลําตนกอนการใหผล (Vegetative growth) และสูงขึ้นเมื่อพืชใหผลผลิต (Reproductive growth) ดังนั้นการ
ปลูกพืชที่ใหผลผลิตเชนมะเขือเทศควรคํานึงถึงขอนี้ดวย
         นอกจากนี้คาการนําไฟฟานี้ จะแตกตางกันไปตามความเขมขนของแสง เชน กลาวคือถาแสงมีความ
เขมขนมาก พืชตองการสารละลายที่มีความเขมขนนอยลง คือพืชจะดูดน้ํามากกวาธาตุอาหาร

        การเปลี่ยนสารละลายใหม เนื่องจากการวัดคาการนําไฟฟา จะทําใหเราทราบเพียงคารวมของการนํา
ไฟฟาของสารอาหารคือน้ํากับธาตุอาหารทั้งหมดในถังที่ใสสารละลายธาตุอาหารพืชเทานั้น แตไมทราบคา
ของสัดสวนของธาตุอาหารแตละชนิดที่เปลี่ยนไปตามเวลาที่ให เนื่องจากธาตุอาหารบางธาตุพืชนําไปใช
นอยจึงเหลือสะสมในสารอาหาร (เชน โซเดียมและคลอรีน) ซึ่งจะมีผลทําใหความเปนประโยชนหรือ
องคประกอบของสารละลายตัวอื่นๆ เปลี่ยนแปลงไปหรือ ตกตะกอน
        ดั งนั้ น จึง ควรเปลี่ ย นสารละลายในถัง ใหม เ ปน ระยะๆ โดยเฉพาะประเทศที่มี อากาศร อ นอยา ง
ประเทศไทย ควรเปลี่ยนสารละลายใหมเปนระยะ เชน ทุก 3 สัปดาห
        การรักษาหรือควบคุมคาความเปนกรดดาง และคาการนําไฟฟาในสารละลายธาตุอาหารพืชนี้ สามารถ
กระทําโดยใชแรงงานหรือใชระบบควบคุมแบบอัตโนมัติก็ได

การเพาะตนกลา

      1. การเพาะในกระบะเพาะกลา อุปกรณปลูกประกอบดวย
         - กระบะเพาะเมล็ดที่ทําจากวัสดุตางๆ เชน ถวยเพาะ
             ถาดพลาสติกที่มีหลุมสําหรับเพาะแบบสําเร็จรูป
         - วัสดุเพาะกลาเพื่อเปนที่สําหรับใหตนกลาโต ที่นิยม
             ใชกันคือ เปอรไลท
      2. การเพาะกลาในแผนฟองน้ํา โดยการเพาะเมล็ดลงบน
แผนฟองน้ําที่มีสารละลายธาตุอาหารพืชอยางเจือจาง
      3. การเพาะกลาในวัสดุปลูก โดยการเพาะเมล็ดลงวัสดุปลูก
ที่มีขนาดเล็ก เมื่อตนกลาโตแลวก็ยายไปปลูกในวัสดุปลูก เชน
การเพาะกลาในใยหิน (rock wool) โดยกอนนํากลาไปปลูกควร
ทําการปรับความพรอมโดยการใหไดรบแสงแดดเพิ่มขึ้นทีละนอยหรือ Hardening เสียกอน
                                     ั


                                                 12
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                               สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


อุปกรณท่จําเปนสําหรับการปลูกพืชไรดิน
         ี

         อุปกรณสําหรับการปลูกพืชไรดินมีหลายชนิด แตกตางกันไปตามลักษณะวิธีปลูกแบบตางๆ ที่ผูจะ
ทําการปลูกสามารถเลือกใชตามความเหมาะสม โดยใหคํานึงถึงราคาต่ําแตมีคุณภาพดีและควรหาซื้อไดใน
ทองถิ่น ปกติแลวอุปกรณสําหรับการปลูกพืชไรดินมีดังตอไปนี้

      1. โรงเรือน
          ตองพิจารณาเพื่อหารูปแบบที่เหมาะสม สิ่งที่ตองคํานึง
คือนอกจากตองมีความแข็งแรงแลวยังตองตอบสนองตอสภาพ
ภูมิอากาศที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชและปองกัน
ศัตรูพืชเขามารบกวนอีกดวย นอกจากนี้ก ารเลือกทําเลที่ตั้ง
โรงเรือนเปนสิ่งที่ควรพิจารณาอยางรอบคอบ ควรเปนพื้นที่ที่มี
ศักยภาพในการผลิตคือสภาพพื้นที่ สภาพแวดลอมและสภาพ
ภู มิ อ ากาศ การคมนาคมสะดวก มี ไ ฟฟ า และแหล ง น้ํ า ที่ มี
คุณภาพ เปนตน

     2. ภาชนะ
           ภาชนะที่ใชในการปลูก เชน รางปลูก ควรเนนวัสดุที่มี
ความเหมาะสมตามความประสงคของระบบปลูก อาจเปนวัสดุ
ที่หาไดในทองถิ่น สารที่สังเคราะห เชน แผนโลหะ พลาสติก
ในการเลือกใชวัสดุใหคํานึงถึงความสะอาด ไมผุหรือถูกกัด
กร อ นง า ย โดยเฉพาะจากสารละลายธาตุ อ าหารพื ช มี ค วาม
แข็งแรง ควรเปนวัสดุที่มีราคาถูกที่สามารถหาไดในทองถิ่น
สะดวกในการติดตั้งและใชงาน ทําความสะอาดงาย และไม
กอใหเกิดปญหาตอสิ่งแวดลอม

    3. ปม
         เป น อุ ป กรณ สํ า คั ญ ที่ ก อ ให เ กิ ด พลั ง งานในการ
กอใหเกิดการไหลเวียนของสารละลายธาตุอาหารพืช และให
ออกซิเจนแกรากพืช

    4. ไฟฟา
       เพื่อเปนตนกําลังของพลังงานที่ขาดไมได ดังนั้นถาไมมีกระแสไฟฟาก็ตองจัดหาตนกําลังสํารองไว


                                                         13
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                       สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


   5. อุปกรณสําหรับการเตรียมและตรวจวัดสารละลาย
       เชน เครื่องชั่ง ภาชนะใสสารละลายเขมขน ปุยหรือธาตุอาหาร เครื่องมือ
ตรวจวัดความเปนกรดดาง (pH meter) และวัดคาการนําไฟฟา (EC meter) เปนตน

   6. วัสดุและอุปกรณตางๆ ที่เกี่ยวของ
        6.1 ถั ง ใส ส ารละลายธาตุ อาหารพืช จะมีขนาดเล็ก หรือ ใหญ
แตกตางกันไปตามขนาดของการเก็บกักสารละลายธาตุอาหารพืชกับ
ระบบที่ปลูก
        ปกติแลวระบบการปลูกแบบ Nutrient Film Technique (NFT)
ในยุ โรป จะมี ขนาดถังที่ บรรจุ สารละลายธาตุอาหารพืชทั้ งหมดด ว ย
อัตราสวนระหวางปริมาณสารละลายธาตุอาหารพืชที่ใชในการปลูกตาม
รางปลูก 90% ตอปริมาณสารละลายธาตุอาหารพืชที่อยูในถัง 10%
         สํ า หรั บ ในประเทศไทยเรามี อ ากาศร อ น อาจพิ จ ารณาเพิ่ ม
อัตราสวนปริมาณสารละลายธาตุอาหารพืชที่อยูในถัง (ที่มักฝงในดิน
หรืออยูในที่รมเพื่อลดอุณหภูมิของสารอาหาร) เพิ่มขึ้นเปน 20-30% เพื่อ
เปนแนวทางหนึ่งในการแกปญหาอุณหภูมิและการลดลงของออกซิเจน
ในสารละลายธาตุอาหารพืชที่อยูในถังกอนหมุนเวียนขึ้นไปเลี้ยงตนพืช แตวิธีนี้เปนการเพิ่มตนทุนการผลิต
         6.2 ถุงมือ ใชในการเตรียม/รักษาหรือควบคุมคาความเปนกรดดาง เพราะสารปรับความเปนกรดดาง
ที่กลาวมาเปนกรดที่ทําลาย ผิวหนังและเสื้อผาได
         6.3 เครื่องชั่ง วัด ตวง ปริมาณปุยหรือสารอาหาร
         วัสดุผูกมัดหรือรองรับตนพืช สําหรับพืชที่มีความสูง เชน มะเขือเทศ และรากของพืชไมสามารถ
ยึดแนนกับวัสดุปลูกเหมือนกับการปลูกบนพื้นดินทั่วไป จึงตองมีวัสดุรองรับตนพืช เพื่อเปนสิ่งที่ชวยทําให
ตนพืชที่มีลําตนสูง และใหผลผลิตที่เปนผลที่มีน้ําหนัก (เชน มะเขือเทศ พริก แตง) สามารถทรงตัวอยูได
เชน เชือก ลวด ไมค้ํา และอาจมีสิ่งผูกมัด (ที่ทําดวยพลาสติก) ติดกับตนพืชอีกดวย

เทคนิคการปลูกพืชไรดิน

         การปลูก พื ช ไร ดิ น หมายถึง การผลิตพื ช โดยทํ าการปลูกในสารละลายธาตุอาหารพืช (nutrient
solution) หรือในวัสดุปลูกที่เหมาะสม สามารถจําแนกไดเปน 2 แบบใหญๆ ดังนี้
    I. เทคนิคการปลูกพืชในสารละลาย (Solution Culture หรือ Water Culture)
         เปนการปลูกพืชโดยปลอยรากพืชเจริญเติบโตในสารละลายธาตุอาหารพืช โดยไมมีวัสดุปลูกใดๆ
รองรับรากพืช แบงออกไดหลายวิธี ดังนี้


                                                  14
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                        สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


        1.1 Liquid Culture
        เปนเทคนิคการปลูกพืชไรดินดั้งเดิม โดยศาสตราจารยเกอริค เปนคนแรกที่ใชเทคนิคนี้ มีหลักการ
วารากพืชจะตองแชอยูในสารละลายธาตุอาหารพืช แตสวนตอระหวางรากหรือโคน จะถูกหอหุมดวยวัสดุที่
ไมเปนอันตรายตอพืช และยกไวเหนือระดับน้ํา มีทั้งแบบที่ใชน้ําลึก (Deep Water Culture) ซึ่งมีระดับน้ําสูง
ประมาณ 8 ถึง 20 เซนติเมตร และแบบน้ําตื้น (Semi-Deep Water Culture) ซึ่งมีระดับน้ําสูงประมาณ 5 ถึง 10
เซนติเมตร มีการใหอากาศโดยการพนเปนฟอง ที่แทรกอยูในสารละลายโดยใชเครื่องสูบลม ซึ่งสารละลาย
ธาตุอ าหารพืช จะหมุ น เวีย นอยู ภ ายในภาชนะปลูก โดยการเคลื่อ นไหวของฟองอากาศ (non-circulating
system) อีกแบบหนึ่ง สารละลายธาตุอาหารพืชมีการไหลหมุนเวียนออกไปนอกภาชนะปลูก ลงสูถัง
สารละลายธาตุอาหารพืชและถูกสูบใหไหลกลับสูภาชนะปลูกใหม (circulating system) การที่สารละลาย
ธาตุอาหารพืชไหลเวียนอยางเหมาะสม จะชวยเพิ่มอากาศหรือกาซออกซิเจนลงในสารละลายธาตุอาหารพืช
รวมทั้งสะดวกตอการปรับความเขมขนของสารละลายธาตุอาหารพืช ใหเหมาะสมตอพืชที่ปลูกอีกดวย




รูปที่ 1 การปลูกดวยเทคนิค Liquid Culture

                                                   15
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                    สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)



        1.2 Aeroponics
            เปนการปลูกพืชโดยมีการใหสารละลายธาตุอาหารพืช ในรูปของการพนเปนหมอกหรือละออง
ไปยังรากพืช ที่ถูกแขวนอยูในอากาศในที่มืด ความบอยครั้งและความยาวนานของการฉีดแตละครั้ง อาจ
แตกตางกันไปตามชนิดพืชและสภาพบรรยากาศที่หอหุมรากพืช เชน อาจมีการฉีดสารละลายธาตุอาหารพืช
3 นาที และหยุด 1-2 นาที โดยการตั้งเวลา เพื่อใหภายในหองมืดคงความชุมชื้น 95-100% RH การปลูกพืช
เทคนิคนี้มักใชศึกษาเกี่ยวกับสรีรวิทยาของพืช ขอดีของระบบนี้คือ รากแพรกระจายไดดีเพราะไมมีสิ่งกีด
ขวางและไดรับอากาศเต็มที่




รูปที่ 2 การปลูกพืชใหรากลอยอยูในอากาศ


                                                16
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                                   สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


         1.3 Nutrient Film Technique (NFT)
              เปนเทคนิคการปลูกพืชที่พัฒนาโดย นายคูเปอร บางทีเรียก Trough Culture, Trench Culture,
Gully Culture หรือ Channel Culture ซึ่งเปน Water Culture อีกเทคนิคหนึ่งที่ไดรับความสนใจมาก มีหลักการ
ว า รากพื ช จะแช อ ยู ใ นลํ า รางโลหะที่ มี พ ลาสติ ก ปู พื้ น และใช วั ส ดุ ห อ หุ ม ต น หรื อ ปลู ก ในลํ า รางที่ มี
polyurethane foam รองรับรากพืชที่ปรับความลาดเทไวประมาณ 2 เปอรเซ็นต การใหสารละลายธาตุอาหาร
พืชจะตองใชเครื่องสูบน้ําดูดจากถังเก็บสารละลายธาตุอาหารพืช แลวปลอยใหไหลเปนแผนบางๆ ผานราก
พืชดวยอัตราความเร็ว 2 ลิตรตอนาที รากจะไดรับออกซิเจนอยางเพียงพอ ดานปลายลํารางจะมีรางน้ํารองรับ
สารละลายธาตุอาหารพืชที่ใชแลว ไปรวมที่ถังเพื่อดูดกลับไปใชใหม การปลูกพืชเทคนิคนี้ตอมาไดรับการ
พัฒนาใหมีวัสดุรองรับรากพืช เพื่อชวยลดปญหาการที่รากมีการเจริญแลวจับตัวเปนแผนหนาแนน ทําใหเกิด
การกีดขวางลําราง สารละลายธาตุอาหารพืชไหลผานไมสะดวกเปนผลใหเกิดการชะงักการเจริญเติบโตของ
พืช ในปจจุบันไดมีการพัฒนาแทงปลูก เชน ร็อกวูล (rockwool) และมีการนํามาใชในการปลูกผักเปนเชิง
พาณิชยในหลายประเทศ




รูปที่ 3 การปลูกดวยเทคนิค Nutrient Film Technique (NFT)


                                                             17
ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ                                         สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)


          การใหสารละลายแกพืชแบงออกเปน 2 วิธี คือ
          1. ระบบที่นําสารละลายธาตุอาหารพืชที่ใชแลวกลับมาใชใหม (closed system หรือ recirculating
system) เปนวิธีการที่ใหสารละลายผานรากพืชแลวระบายลงสูถังหรือภาชนะที่บรรจุแลวมีการหมุนเวียน
(เชน ปม) เอาสารละลายธาตุอาหารนี้กลับขึ้นมาใหแกพืชใชใหมอีกอยางตอเนื่อง วิธีนี้เปนวิธีที่ปฏิบัติกัน
โดยทั่วไป
             1.1 แบบสารละลายธาตุอาหารพืชหมุนเวียนแบบไมเติมอากาศ เปนระบบสารละลายหมุนเวียน
ถายเท ไมตองใหออกซิเจนหรือไมตองใชอุปกรณเครื่องปมอากาศ
             1.2 แบบสารละลายธาตุอาหารพืชหมุนเวียนแบบเติมอากาศ หรือเรียกกันทั่วไปวา การเลี้ยง
ปลาตู เพราะมีการใชปมลมชวยในการใหออกซิเจน วิธีน้เี ปนวิธีหนึ่งที่นิยมปลูกในบานเรา โดยการปลูกพืช
ที่เพาะเมล็ดในฟองน้ํา




รูปที่ 4 ระบบที่นําสารละลายธาตุอาหารพืชที่ใชแลวกลับมาใชใหม (closed system หรือ recirculation
         system) (ภาพบนเปนหลักการปลูก ภาพลางเปนการปลูกจริง)

                                                    18
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์
การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555RMUTT
 
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57นางสาวอัมพร แสงมณี
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...รัชศวรรณ มูลหา
 
7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพ7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพnang_phy29
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธPPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธauei angkana
 
ระบบนิเวศ1
ระบบนิเวศ1ระบบนิเวศ1
ระบบนิเวศ1Jiraporn
 
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...chaiwat vichianchai
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจNetsai Tnz
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 

Was ist angesagt? (20)

ดิน มัทนา ป.4
ดิน มัทนา ป.4ดิน มัทนา ป.4
ดิน มัทนา ป.4
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
 
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
 
Lessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduceLessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduce
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
หนังสือราชการ (ใหม่)
หนังสือราชการ (ใหม่)หนังสือราชการ (ใหม่)
หนังสือราชการ (ใหม่)
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
 
7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพ7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพ
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธPPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
 
ระบบนิเวศ1
ระบบนิเวศ1ระบบนิเวศ1
ระบบนิเวศ1
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
 
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 

Mehr von kasetpcc

งานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียนงานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียนkasetpcc
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงkasetpcc
 
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัยตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัยkasetpcc
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง kasetpcc
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง kasetpcc
 
บทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุงบทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุงkasetpcc
 
บทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุงบทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุงkasetpcc
 
2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุงkasetpcc
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนkasetpcc
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนkasetpcc
 
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรมการอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรมkasetpcc
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการkasetpcc
 
บทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุงบทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุงkasetpcc
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงkasetpcc
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงkasetpcc
 
4 สารบัญ
4 สารบัญ4 สารบัญ
4 สารบัญkasetpcc
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศkasetpcc
 
2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุงkasetpcc
 

Mehr von kasetpcc (20)

งานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียนงานมอบหมายนักเรียน
งานมอบหมายนักเรียน
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัยตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
ตัวอย่างการเขียนบทคามวิจัย
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
 
บทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุงบทที่ 5ปรับปรุง
บทที่ 5ปรับปรุง
 
บทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุงบทที่ 4ปรับปรุง
บทที่ 4ปรับปรุง
 
2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง
 
Inno
InnoInno
Inno
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
 
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอนการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
การ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเขียนแผนการสอน
 
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรมการอ้างอิงและบรรณานุกรม
การอ้างอิงและบรรณานุกรม
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
บทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุงบทที่ 3ปรับปรุง
บทที่ 3ปรับปรุง
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
4 สารบัญ
4 สารบัญ4 สารบัญ
4 สารบัญ
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
 
2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง2 บทคัดย่อปรับปรุง
2 บทคัดย่อปรับปรุง
 
1 ปก
1 ปก1 ปก
1 ปก
 

การปลูกพืชไร้ดินจากสถาบันวิทยาศาสตร์

  • 1. วว. เทคโนโลยีการปลูกพืชไรดิน (Soilless Culture) ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) ั กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 2. เทคโนโลยีการปลูกพืชไรดิน (Soilless Culture) หนวยงาน : ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย คณะผูจัดทํา : นายราเชนทร วิสุทธิแพทย นายสยาม สินสวัสดิ์ นายศิริธรรม สิงหโต นายประธาน โพธิสวัสดิ์ พิมพครั้งที่ 2 : พฤษภาคม 2548 จํานวนเลม : 200 เลม จํานวนหนา : 35 หนา พิมพที่ : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย 196 ถนนพหลโยธิน จตุจกร กรุงเทพฯ 10900 ั
  • 3. คํานํา การปลูกพืชไรดิน เปนการปลูกพืชแบบหนึ่งซึ่งเปนที่นิยมกันอยางมากในปจจุบัน สามารถ ปลูกพืชไดในทุกสถานที่โดยไมมีขอบเขตจํากัด ไมวาจะปลูกจํานวนนอยหรือการปลูกแบบเศรษฐกิจ เชิงการคา สามารถใชเทคนิคการปลูกพืชโดยไมใชดินกับพืชไดแทบทุกชนิด ตั้งแตผัก ผลไม ไมดอก ไมประดับ พืชไมเลื้อย จนถึงพืชยืนตน แตสวนมากนิยมปลูกกับพืชผัก ไมผลที่มีระยะเก็บเกี่ยวในชวง อายุสั้น การปลูกพืชไรดินสามารถหลีกเลี่ยงสภาวะตาง ๆ ที่ไมอํานวยในสภาพการผลิตจากวิธีการปลูก พืชโดยทั่ว ๆ ไป อาทิเชน สภาพดินที่ไมเหมาะสม ดินเค็ม ดินเปรี้ยว สภาพอากาศ ฤดูกาล รวมถึงการ ขยายตัวของชุมชนทําใหพื้นที่ทําการเกษตรลดลง และราคาที่ดินสูงขึ้น นอกจากนี้การปลูกพืชไรดินยัง สามารถควบคุมสภาพแวดลอมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการเจริญเติบโตของพืชไดอยางถูกตองและแนนอน จึงทําใหผลผลิตและคุณภาพของพืชที่ปลูกแบบไรดินสูงกวาการปลูกพืชในดิน ยิ่งไปกวานั้นการปลูกพืช ไรดินยังประหยัดเวลา แรงงาน และคาใชจายที่ไมตองเตรียมดินและกําจัดวัชพืชกอนการเพาะปลูก เกษตรกรสามารถปลูกพืชไดตอเนื่องตลอดปในพื้นที่เดิม โดยไมมีปญหาการทําลายสภาพความอุดม สมบูรณของดินมาเกี่ยวของ ในเรื่องการตลาดเกษตรกรสามารถควบคุมคุณภาพ ปริมาณของผลผลิตให ไดตรงกับความตองการของตลาดมากยิ่งขึ้น ดวยเหตุนี้จึงมีแนวโนมวาการปลูกพืชไรดินจะเปนทางเลือก หนึ่งในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรของประเทศไทย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) โดยฝายเทคโนโลยีชีวภาพได จัดทําหนังสือ “ เทคโนโลยีการปลูกพืชไรดิน (Soilless Culture) ” เพื่อเผยแพรความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ การปลูกพืชไรดิน สําหรับเกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่สนใจ ไดนําไปศึกษาและสามารถนําไป ทดลองปฏิบัติไดจริง ทางคณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเลมนี้จะเปนเสมือนการจุดประกายเรื่อง การปลูกพืชแนวใหมโดยไมใชดนใหแกทุกทานตอไปในอนาคต ิ คณะผูจัดทํา พฤษภาคม 2548
  • 4. สารบัญ หนา ประวัติการปลูกพืชไรดน ิ 1 ประโยชนของการปลูกพืชไรดิน 3 ขอดีและขอดอยของการปลูกพืชไรดิน 4 ความแตกตางระหวางการปลูกพืชบนดินตามธรรมชาติกับปลูกพืชไรดิน 5 ปจจัยที่ควบคุมการเจริญเติบโตของการปลูกพืชแบบไรดิน 6 การควบคุมความเปนกรดดาง (pH) และคาการนําไฟฟา (EC) ของสารละลายธาตุอาหารพืช 10 การเพาะตนกลา 12 อุปกรณที่จาเปนสําหรับการปลูกพืชไรดิน ํ 13 เทคนิคการปลูกพืชไรดิน 14 ปญหาและแนวทางแกไขสําหรับการผลิตในประเทศไทย 21 การวิเคราะหเพื่อการตัดสินใจในการปลูกพืชไรดิน 28 เอกสารอางอิง 29 ภาคผนวก 31
  • 5. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) การปลูกพืชไรดิน การปลูกพืชไรดินหมายถึง วิธีการใดก็ตามที่ทําใหการปลูกพืชได โดยไมตองใชดิน แตจะใชวัสดุอื่นๆ แทน เชน การปลูกพืชใหรากลอยอยู ในอากาศ การปลูกพืชในสารละลาย หรือการปลูกพืชในวัสดุปลูกเชน ทราย แกลบ และวัสดุอื่นๆ โดยใหสารละลายธาตุอาหารที่จําเปนตอการ เจริญเติบโตแกรากโดยตรง ในปริมาณที่เหมาะสมแทนธาตุอาหารที่มีอยู ในดิน ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงปญหาการปลูกในสวนที่เกี่ยวของกับดิน เชน ดินมีคุณภาพต่ํา มีความเค็มสูงหรือมีโรคระบาด อีกทั้งการปลูกพืชไรดิน นี้ยังสามารถควบคุมคุณภาพและปริมาณของผลผลิตใหไดตามตองการ ประวัติการปลูกพืชไรดิน การปลูกพืชแบบไรดินมีมานานแลว เชน สวนลอยฟาของบาบิโลน ถือวาเปนหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย ของโลก ถูกสรางขึ้นในป 372-287 กอนคริสตศักราช สวนลอยฟาของชาวพื้นเมือง Aztec ที่อาศัยอยูในเม็กซิโก และสวนลอยฟาของประเทศจีน ในประเทศอียิปตก็มีการบันทึกวา รอยปกอนคริสตศักราชชาวอียิปตมีการ ปลูกพืชในน้ํา แตตามประวัติที่ไดกลาวถึงการปลูกพืชไรดินที่เขาหลักการทางวิทยาศาสตร ดูเหมือนจะเริ่ม มาตั้งแตป ค.ศ. 1600 โดย นายเฮลมอนท นักวิทยาศาสตรชาวเบลเยี่ยม แสดงใหเห็นวาพืชไดรับ สารประกอบจากน้ําโดยปลูกตนวิลโล หนัก 5 ปอนด ในทอที่มีดินแหงอยู 200 ปอนด แลวรดดวยน้ําฝนเปน เวลา 5 ป พบวาตนวิลโลมีนํ้าหนักเพิ่มขึ้นถึง 169 ปอนด ในขณะที่น้ําหนักดินหายไปนอยกวา 2 ออนซ เขา สรุ ป ว า พื ช ได รับ สารประกอบจากน้ํ า เพื่ อ ใช ใ นการเจริ ญเติ บ โต แต ไ ม ไ ด ส รุ ปว า พื ช ต อ งการก า ซ คารบอนไดออกไซดและออกซิเจนจากอากาศดวย ในป ค.ศ. 1699 นายวูดวาดชาวอังกฤษไดพิสูจนวา สามารถปลูกพืชในน้ําที่ใชละลายดิน ซึ่งน้ํานี้จะมีธาตุอาหารพืชตางๆ จากดินละลายอยู สวน Nicolas de Saussure (1804) กลาววาพืชตองการธาตุอาหารเพื่อใชในการเจริญเติบโต ในชวงกลางศตวรรษที่ 19 นายบู ซิงเกาล ไดแนะนําการปลูกพืชในทราย หิน และถาน โดยมีการใหสารละลายธาตุอาหารพืช ตอมาวิธีนี้ถูก พัฒนาโดย Horstmar ในป ค.ศ. 1856-60 ผูที่คิดคนสารละลายธาตุอาหารพืชมาตรฐานขึ้นเปนคนแรก คือ Sachs ในป ค.ศ. 1860 หลังจากนั้นก็มีการคนควาธาตุอาหารพืชสูตรตางๆ กันเรื่อยมา จนกระทั่งในป ค.ศ. 1925 ศาสตราจารยเกอริค ชาวอเมริกนแหงมหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย ไดพัฒนาเทคโนโลยีเพิ่มเติม จนกระทั่ง ั สามารถนําเอาเทคโนโลยีนี้ออกมาใชนอกหองปฏิบัติการได และเริ่มศักราชของการปลูกพืชโดยวิธีไฮโดร โปนิกส (Hydroponics) ทั้งนี้เปนสวนครัวและเชิงพาณิชย ตอมา ศาสตราจารยเกอริคไดรับการยกยองใหเปน บิดาของเทคโนโลยีไฮโดร-โปนิกสสมัยใหม 1
  • 6. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) จากการสํารวจพื้นที่การปลูกพืชไรดินในประเทศตางๆ ทั่วโลกเมื่อป พ.ศ. 2535 พบวามีพื้นที่ปลูก ประมาณ 8,386 เฮกแตร หรือประมาณ 52,406 ไร ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 พื้นที่การปลูกพืชไรดินในประเทศตางๆ เมื่อ ป พ.ศ. 2535 ประเทศ พื้นที่ปลูก (เฮกแตร) พื้นที่ปลูก (ไร) เนเธอรแลนด 3,600 22,500 อิสราเอล 650 4,063 ฝรั่งเศส 600 3,750 สเปน 500 3,125 สหราชอาณาจักร 500 3,125 เบลเยี่ยม 400 2,500 ญี่ปุน 400 2,500 แอฟริกาใต 400 2,500 เยอรมันนี 250 1,563 ออสเตรเลีย 200 1,250 แคนาดา 200 1,250 รัสเซีย 150 938 นิวซีแลนด 100 625 สวีเดน 100 625 อิตาลี 50 313 สหรัฐอเมริกา 50 313 โปรตุเกส 40 250 ไตหวัน 35 219 บัลกาเรีย 30 188 ไอรแลนด 25 156 อามิเนีย 20 125 สวิสเซอรแลนด 20 125 ฟนแลนด 15 94 กรีก 15 94 โปแลนด 15 94 จีน 10 63 อินโดนีเซีย 5 31 สิงคโปร 5 31 ฮองกง 1 6 รวม 8,386 52,413 ที่มา : International Congress on Soilless Culture. 1993. หมายเหตุ 1 เฮกแตร เทากับ 6.25 ไร 2
  • 7. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) ประโยชนของการปลูกพืชไรดิน การปลูกพืชไรดินนี้ สามารถปลูกพืชไดในทุก สถานที่โดยไมมีขอบเขตจํากัดไมวาจะปลูกจํานวนนอย หรือการปลูกแบบเศรษฐกิจเชิงการคา สามารถปลูกได ในเมืองที่แออัดคับแคบ เชน การปลูกแบบเชิงการคาใน เมื อ งที่ แ ออั ด คั บ แคบในประเทศญี่ ปุ น และไต ห วั น เนเธอร แ ลนด เบลเยี่ ย ม เป น วิ ธี ท่ี เ หมาะสมกั บ ความ ตองการสําหรับผูปลูกที่มีพื้นที่ปลูกนอย พืชปลูกดวยการ ใหสารละลายที่ไมเปอนดินจึงมีความสะอาดสวยงามกวา การปลูกในดินแลวยังใหความเพลิดเพลินตาความสุขใหแกผูปลูกและผูที่พบเห็น อีกทั้งพืชผลเก็บเกี่ยวมี ความนารับประทาน สําหรับการปลูกแบบเล็กๆ หรือปลูกเปนงานอดิเรกก็มีความยุงยากไมมากนัก เปนเหมือนกับการทํา สวนตามปกติ แตสําหรับการปลูกแบบเปนเชิงการคานั้นก็เปนอีกลักษณะหนึ่งที่ตองมีเทคนิคตางๆ ในการ ควบคุมใหรัดกุมมากยิ่งขึ้น วิธีการปลูกพืชไรดินสามารถใชปลูกพืชไดหลายชนิด ทั้งนี้ข้นกับความยากงายของการปลูกพืชแตละชนิด สามารถใช ึ เทคนิคการปลูกพืชไรดินกับพืชไดแทบทุกชนิด ตั้งแตผัก ผลไม ไมดอก ไมประดับ ไมเลื้อย จนถึงพืชยืนตน แตสวนมากนิยม ปลู กพวกพื ชผั ก ไม ผลที่ เ ป นพื ชที่ เ ก็ บเกี่ ย วช ว งอายุ สั้ น ดั ง ตัวอยางที่แสดงใหเห็นใน ตารางตอไปนี้ ตารางที่ 2 ตัวอยางของพืชที่สามารถปลูกโดยการปลูกพืชไรดิน พืชผัก ไมผล/ผักรับประทานผล ไมดอก พืชสมุนไพร พืชอาหารสัตว มะเขือเทศ สม กุหลาบ วานหางจระเข หญา ผักกาดขาว สตรอเบอรี่ คารเนชั่น พืชสวนครัว บารเลย คื่นฉาย กลวย ตางๆ เชน ขาวโพดเลี้ยงสัตว ผักชี แตงกวา กระเพรา ผักบุง แตงแคนตาลูบ แมงลัก ผักสลัด ถั่วฝกยาว โหรพา พริก มะเขือ 3
  • 8. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) อนึ่ง การปลูกพืชไรดิน มิใชจะกอใหเกิดประโยชนตอชีวิตและความเปนอยูในปจจุบันเทานั้น แต อาจจะกอใหเกิดประโยชนในการพัฒนาชีวิตในอนาคต ดังที่อดีตประธานาธิบดีโลแนน เรแกน แหงสหรัฐ- อเมริกาไดกลาววา การปลูกพืชไรดิน (Hydroponics) จะเปนเทคโนโลยีที่ดีเดนใชในการผลิตอาหารใน อนาคตแลว ยังมีนักวิทยาศาสตรหลายทานกําลังวิจัยเกี่ยวกับการใชประโยชนการปลูกพืชไรดิน (Soilless Culture) ในดานตางๆ เชน มหาวิทยาลัยเพอรดู และสถาบันวิจัยสิ่งแวดลอมของมหาวิทยาลัยอลิโซนากําลัง พัฒนาสิ่งที่ใชในการชวยเหลือโครงการอวกาศใหแกองคการนาซา (National Aeronautic and Space Administration, NASA) ในโครงการ Controlled Ecologycal Life Support Systems (CELSS) ซึ่งงานวิจัยนี้ จะใชในโครงการเดินทางอวกาศ เชนโครงการเดินทางไปยังดาวพุธ ขอดีและขอดอยของการปลูกพืชไรดิน ขอดี 1. สามารถทําการเพาะปลูกพืชในบริเวณพื้นที่ดินไมดีหรือสภาพแวดลอมไมเหมาะสมตอการปลูก 2. ใชพื้นที่เพาะปลูกนอยและสามารถทําการผลิตไดอยางสม่ําเสมอ 3. ลดคาขนสงเพราะสามารถเลือกผลิตใกลเขตชุมชนหรือโรงงาน อุตสาหกรรมฯ ที่รับซื้อ ทําใหมีศักยภาพในเชิงการคาสูง 4. ประหยัดเวลา แรงงาน และคาใชจายในการเตรียมดินและกําจัด วัชพืช 5. ใชแรงงานนอยแตมีประสิทธิภาพสูง 6. สามารถปลูกพืชอยางตอเนื่องไดตลอดปในพื้นที่เดียวกัน 7. พืชเจริญเติบโตไดเร็วและใหผลผลิตที่มากกวาการปลูกแบบธรรมดาอยางนอย 2 สัปดาห 8. สามารถตัดปญหาเกี่ยวกับศัตรูพืชที่เกิดจากดิน ทําใหสามารถปลูกพืชในพื้นที่เดียวกันไดตลอดป ถึงแมจะเปนพืชชนิดเดียวกัน 9. สามารถใชนํ้าและธาตุอาหารพืชอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด เชน ปริมาณน้ําใชลดลงไมต่ํา กวา 10 เทาตัวของการปลูกแบบธรรมดา 10. สามารถควบคุมสภาพแวดลอมตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเจริญของพืชไดอยางถูกตองแนนอน และรวดเร็ว โดยเฉพาะในระดับรากพืช ไดแก การควบคุมปริมาณธาตุอาหาร คาความเปนกรด ดาง อุณหภูมิความเขมขนของออกซิเจน ฯลฯ ซึ่งการปลูกพืชแบบทั่วไปทําไดยาก ทําให ผลผลิตและคุณภาพของพืชที่ไดจึงสูงกวาการปลูกแบบทั่วๆ ไปมาก ขอดอย 1. เปนระบบที่มีตนทุนการผลิตเริ่มตนคอนขางสูง เนื่องจากประกอบดวยอุปกรณตางๆ มากมาย และมีราคาแพง 4
  • 9. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) 2. จะตองใชผูที่มีความชํานาญและประสบการณมากพอสมควรในการควบคุมดูแล 3. ตองมีการควบคุมดูแลอยางสม่ําเสมอ 4. ถาหากไมมีความรูและความสามารถในการจัดการที่ดีพอ อาจทําใหผลผลิตมีปริมาณธาตุอาหาร ในผลผลิตพืช เชน ไนเตรท สูงจนเปนอันตรายตอการบริโภคได 5. วัสดุปลูกบางชนิดเนาเปอยหรือเนาสลายตัวยาก ทําใหอาจมีปญหาตอสิ่งแวดลอมได นอกจากนี้ สารอาหารพืชที่ใชแลวหากไมมการจัดการที่ดีก็อาจสรางปญหาใหนํา เชน ไนเตรท เปนตน ี ้ ความแตกตางระหวางการปลูกพืชบนดินตามธรรมชาติกับปลูกพืชไรดิน ปกติแลวพืชจะเจริญเติบโตไดดีนั้นตองมีการเจริญเติบโตที่ เหมาะสม คือ แสง น้ํา ธาตุอาหารพืช อุณหภูมิ ความเปนกรดดาง (pH) ออกซิเจน และคารบอนไดออกไซด ทั้งที่รากสวนเหนือดิน การปลู ก พื ช บนดิ น โดยทั่ ว ไปแม ดิ น จะมี ธ าตุ อ าหารและ อากาศอั น เป น ป จ จั ย ที่ พื ช ต อ งการนั้ น มั ก มี ข อ เสี ย คื อ ดิ น จะมี คุณสมบัติที่ไมแนนอนแตกตางกันไปตามสภาพพื้นที่ เชน โครงสราง ของดิน ปริมาณธาตุอาหารหรือความอุดมสมบูรณต่ํา ความเปนกรด ดางไมเหมาะสม ยุงยากตอการปรับปรุงและเสียคาใชจายสูง ปญหา เหลานี้ทําใหไดผลผลิตที่ไมแนนอน สวนการปลูกพืชไรดินนั้นพืชจะไดรับสารละลายที่มีธาตุอาหารเรียกวาสารละลายธาตุอาหารพืชที่ ประกอบดวยธาตุอาหารที่จําเปนตอพืช ที่อยูในรูปที่พืชสามารถนําไปใชไดทันทีเพราะมีการปรับคาการนํา ไฟฟา (EC) และความเปนกรดดาง (pH) ใหอยูในระดับที่เหมาะสมตอการนําไปใชประโยชนของพืชอยู ตลอดเวลา ที่จริงแลวไมมีความแตกตางทางสรีรวิทยาระหวางพืชที่ปลูกบนดินตามธรรมชาติและการปลูก พืชไรดิน ในการปลูกพืชบนดินตามธรรมชาติ “สารอาหารในดิน” เปนอาหารพืชที่อยูในน้ําในดิน ซึ่งมาจาก วัตถุที่เปนสิ่งที่เนาเปอยผุพังยอยสลาย ที่มาจากอนินทรียสาร และอินทรียสาร ในขณะที่การปลูกพืชที่ไรดินนั้น พืชจะไดรับ “สารละลายธาตุอาหาร มาจากการละลายของปุยเคมี ในน้ําเรียกวา “สารละลายธาตุอาหารพืช” ทั้งสารอาหารในดินของการปลูกพืชบนดินที่ไดจาก การเนาเปอยผุผังตามธรรมชาติ และสารละลายธาตุอาหาร จากการปลูกพืชไรดิน จะสัมผัสกับรากพืชซึ่งพืชจะดูดเอาไป ใชในการเจริญเติบโตดวยกระบวนการตางๆ ตอไป 5
  • 10. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) ปจจัยที่ควบคุมการเจริญเติบโตของพืชไรดิน 1. ปจจัยทางดานพันธุกรรม ยีน (gene) เปนตัวกําหนดลักษณะการเจริญเติบโตของพืช ไมวาจะเปนสวนของราก ลําตน กิ่ง กาน ใบ ตลอดจนดอกและผล การสะสมมวลชีวภาพไดมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับพันธุกรรมของพืชเอง พันธุพืช ที่จะใชกับการปลูกพืชดวยวิธีไฮโดรโปนิกสโดยเฉพาะยังไมมีหรือมีนอยมาก 2. ปจจัยทางดานสิ่งแวดลอม 2.1 แสง ตามธรรมชาติพืชจะใชแสงอาทิตยเปนแหลงพลังงาน เพื่อทําใหเกิดกระบวนการสังเคราะหแสง ที่ใบหรือสวนที่มีสีเขียว โดยมีคลอโรฟลล (Chlorophyll) ซึ่งเปนรงควัตถุสีเขียวชนิดหนึ่งที่มีหนาที่เปน ตัวรับแสงเพื่อเปลี่ยนกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) และน้ํา (H2O) เปนกลูโคส (C6H12O6) และกาซ ออกซิเจน (O2) พืชที่ปลูกในบานหรือเรือนทดลอง อาจใชแสงสวางจากไฟฟาทดแทนแสงอาทิตยไดแตก็ เปนการสิ้นเปลืองและไมสมบูรณเมื่อเปรียบเทียบกับแสงธรรมชาติ 2.2 อากาศ พืชจําเปนตองใชกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ที่มีอยูประมาณ 0.033 เปอรเซ็นต ในบรรยากาศ ในการผลิตกลูโคส (C6H12O6) ซึ่งเปนสารอินทรียเริ่มตน เหตุการณที่พืชจะขาดคารบอนไดออกไซด เปนไป ไดยาก เนื่องจากมีแหลงคารบอนไดออกไซดอยางเหลือเฟอ เชน การเผาไหมเชื้อเพลิงจากโรงงานและ รถยนต ตลอดจนการผลิตไฟฟา เปนตน สวนกาซออกซิเจน (O2) พืชตองการเพื่อใชในกระบวนการหายใจ (Respiration) เพื่อเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยซึ่งถูกเก็บไวในรูปพลังงานเคมี ในรูปของน้ําตาลกลูโคสและ สามารถใหเปนพลังงานเพื่อใชในการขับเคลื่อนกระบวนการเมตาโบลิซึม (Metabolism) ตางๆ การหายใจ ของส ว นเหนื อ ดิ น ของพื ช มั ก ไม มี ป ญ หา เพราะในบรรยากาศมี อ อกซิ เ จนเป น องค ป ระกอบอยู ถึ ง 20 เปอรเซ็นต สําหรับรากพืชมักจะขาดออกซิเจน โดยเฉพาะการปลูกพืชไรดินดวยเทคนิคการปลูกดวย สารละลาย (Water Culture หรือ Liquid Culture) จําเปนตองใหออกซิเจนในจํานวนที่เพียงพอตอความ ตองการของพืช การใหออกซิเจนแกรากพืชจะใหในรูปของฟองอากาศที่แทรกอยูในสารละลายธาตุอาหาร พืช ซึ่งใหโดยใชเครื่องสูบลม หรือการใชระบบน้ําหมุนเวียน 2.3 น้ํา คุณภาพน้ําเปนเรื่องสําคัญมากเรื่องหนึ่ง การปลูกพืชเพียงเล็กนอยเพื่อการทดลองจะไมมีปญหา แตการปลูกเปนการคา จะตองพิจารณาเรื่องของน้ํากอนอื่น หากใชน้ําคุณภาพไมดีทั้งองคประกอบทางเคมี และความสะอาด จะกอใหเกิดความลมเหลว น้ําเปนตัวประกอบที่สําคัญ โดยจะถูกนําไปใช 2 ทาง คือ 6
  • 11. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) 1. ใชเปนองคประกอบของพืช พืชมีน้ําเปนองคประกอบประมาณ 90-95 เปอรเซ็นตโดย น้ําหนัก พืชใชนําเพื่อกอใหเกิดกิจกรรมที่มีประโยชน ้ 2. ใชเปนตัวทําละลายธาตุอาหารพืชใหอยูในรูปไอออนหรือสารละลายธาตุอาหารพืชโมเลกุล เล็ก เพื่อใหรากดูดกินเขาไป ปกติน้ําประปาถือวาใชได แตสําหรับการทดลอง มักใชน้ํา กลั่นหรือน้ําประปาที่ทิ้งใหคลอรีนหมดไป แหลงของน้ําที่ดีสุด สําหรับการปลูกพืชไรดิน เชิงพาณิชย คือ น้ําฝนหรือน้ําจากคลองชลประทาน 2.4 วัสดุปลูก วัสดุปลูก หมายถึงวัตถุ (material) ตางๆ ที่เลือกสรรมา เพื่อ ใชปลูกพืชและทําใหตนพืชเจริญเติบโตไดเปนปกติ วัสดุดังกลาวอาจ เปนชนิดเดียวกันหรือหลายชนิดผสมกัน ชนิดของวัสดุปลูกอาจเปน อินทรียวัตถุก็ได โดยทั่วไปวัสดุปลูกจะมีบทบาทตอการเจริญเติบโต และการใหผลผลิตพืช 4 ประการ ไดแก ก. ค้ําจุนสวนของพืชที่อยูเหนือวัสดุปลูกใหตั้งตรงอยูได ข. เก็บสํารองธาตุอาหารพืช ค. กักเก็บน้ําเพื่อเปนประโยชนตอพืช ง. แลกเปลี่ยนอากาศระหวางรากพืชกับบรรยากาศเหนือวัสดุปลูก การปลูกพืชไรดินดวยเทคนิควัสดุปลูก (Substrate Culture) วัสดุปลูกพืชนับวามีความสําคัญยิ่ง วัสดุปลูกอาจจะเปนวัสดุอนินทรีย (Inorganic media) เชน ทราย กรวด หินภูเขาไฟ เปอรไลท (Perlite) เวอรมิคิวไลท (Vermiculite) และร็อกวูล (Rockwool) เปนตน หรือวัสดุอินทรีย (Organic media) เชน ขี้เลื่อย ขุยมะพราว เปลือกไมและแกลบ เปนตน วัสดุปลูกควรมีอนุภาคสม่ําเสมอ ราคาถูก ปราศจากพิษ และศัตรูพืช และเปนวัสดุที่หางายในทองถิ่นนั้น ในญี่ปุนสวนใหญจะใชแกลบเปนวัสดุปลูก แตแกลบจะมีรูพรุนมากจึง ไมดูดซับน้ํา ควรเก็บไวระยะหนึ่ง หรือผสมกับวัสดุอ่ืนที่กักเก็บน้ําได เชน ขุยมะพราว ความสามารถในการ อุมน้ําของวัสดุปลูก เปนคุณสมบัติอยางหนึ่งที่มีผลตอการเจริญเติบโตของพืช เพราะเกี่ยวของกับสัดสวนของ อากาศและน้ํา ในชองวางที่เหมาะสม วัสดุปลูกที่เปนของแข็ง สามารถจําแนกตามที่มาและแหลงกําเนิดของวัสดุไดดังตอไปนี้ 1. วัสดุปลูกที่เปนอนินทรียสาร เชน - วัสดุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ทราย กอนกรวด หินภูเขาไฟ หินซีลท ฯลฯ - วัสดุที่ผานขบวนการโดยใชความรอน ทําใหวัสดุเหลานี้มีคุณสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม เชน ดินเผา เม็ดดินเผา ที่ไดจากการเผาเม็ดดินเหนียวที่อุณหภูมิสูง 1,100 องศา- เซลเซียส ใยหิน ที่ไดจากการหลอมหินภูเขาไฟที่ทําใหเปนเสนใยแลวผสมดวยสาร เลซิน เปอรไลท ที่ไดจากทรายที่มีตนกําเนิดจากภูเขาที่อุณหภูมิสูง 1,200 องศา- 7
  • 12. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) เซลเซียส เวอรมิคูไลท (vermiculite) ที่ไดจากการเผาแรไมกาที่อุณหภูมิสูง 800 องศา เซลเซียส เปนตน - วั ส ดุ เ หลื อ ใช จ ากโรงงานอุ ต สาหกรรม เช น เศษจากการทํ า อิ ฐ มอญ เศษดิ น เผา จากโรงงานเครื่องปนดินเผา 2. วัสดุปลูกที่เปนอินทรียสาร เชน วัสดุที่เกิดขึ้น เองตามธรรมชาติ เชน ฟางขาว ขุยและเสนใยมะพราว แกลบ และขี้ เ ถ า เปลื อ กถั่ ว พี ท หรื อ วั ส ดุ เ หลื อ ใช จ ากโรงงาน อุตสาหกรรม เชน ชานออย กากตะกอนจากโรงงานน้ําตาล วัสดุเหลือใชจากโรงงานกระดาษ 3. วัสดุสังเคราะห เชน เม็ดโฟม แผนฟองน้ํา และเสนใยพลาสติก ลักษณะของวัสดุปลูกที่ดี ภาพรวมในการเลือกใชวัสดุปลูกใหคํานึงถึง คือ ตองสะอาด และทํา ความสะอาดงาย มีความแข็งแรง มีคุณสมบัติทางกายภาพที่ดี เชน ไมทรุดตัวงาย ถายเทน้ําและอากาศไดดี มีคุณสมบัติที่เหมาะสมทางเคมี เชน ระดับของความเปนกรดดาง ไมมีสารทําลายรากพืช เปนวัสดุที่สามารถ เพาะเมล็ดไดทุกขนาดและทุกประเภท ควรเปนวัสดุที่มีราคาถูกที่สามารถหาไดในทองถิ่น และไมกอใหเกิด ปญหาตอสิ่งแวดลอม 2.5 สารละลายธาตุอาหารพืช ธาตุอาหารที่พืชตองการในการเจริญเติบโตและใหผลผลิต มีทั้งหมด 16 ธาตุ ซึ่ง 3 ธาตุ คือ คารบอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ไดจากน้ําและอากาศ และอีก 13 ธาตุ ไดจากการดูดกินผานทางราก ทั้ง 13 ธาตุแบงออกเปน 2 กลุม ตามปริมาณที่พืชตองการ คือ ธาตุอาหารที่พืชตองการเปนปริมาณมากและ ธาตุอาหารที่พชตองการเปนปริมาณนอย ื ก. ธาตุอาหารที่พชตองการเปนปริมาณมาก (macronutrient elements) ื ไนโตรเจน (N) พืชสามารถดูดกินไนโตรเจนไดทั้งในรูปของแอมโมเนียมไอออน (NH4+) และไนเตรทไอออน (NO3-) ซึ่งไนโตรเจนสวนใหญในสารละลายธาตุอาหารพืชจะอยูในรูปไนเตรทไอออน เพราะถามีแอมโมเนียมไอออนมากจะเปนอันตรายตอพืชได สารเคมีที่ใหไนเตรทไอออน คือ แคลเซียม ไอออน และโปแตสเซียมไนเตรท นอกจากนี้ยังอาจไดจากกรดดินประสิว (HNO3-) ที่ใชในการปรับความ เปนกรดดางของสารละลายธาตุอาหารพืช ฟอสฟอรัส (P) ในการปลูกพืชไรดิน พืชตองการธาตุฟอสฟอรัสไมมากเทากับไนโตรเจน และโปแตสเซียม ประกอบกับไมมปญหาในเรื่องความไมเปนประโยชนของฟอสฟอรัสเหมือนในดิน พืชจึง ี ไดรับฟอสฟอรัสอยางเพียงพอ รูปของฟอสฟอรัสที่พืชสามารถดูดกินไดคือ mono-hydrogen phosphate ion (HPO4-2) สวนจะอยูในรูปใดมากกวากันขึ้นอยูกับความเปนกรดดางของสารละลายในขณะนั้น 8
  • 13. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) โปแตสเซียม (K) รูปของโปแตสเซียมที่พืชดูดกินได คือ potassium ion (K+) โปแตสเซียม ที่มีมากเกินพอ จะไปรบกวนการดูดกินแคลเซียมและแมกนีเซียม สารเคมีที่ใหโปแตสเซียม คือ potassuim nitrate และ potassium phosphate แคลเซียม (Ca) รูปของแคลเซียมที่พืชดูดกินไดคือ calcium ion (Ca+2) แหลง Ca+2 ที่ดีที่สุด คือ calcium nitrate เนื่องจากละลายงาย ราคาไมแพงและยังใหธาตุไนโตรเจนดวย แคลเซียมที่มีมากใน สารละลายธาตุอาหารพืช จะไปรบกวนการดูดกินโปแตสเซียมและแมกนีเซียม ในน้ําตามธรรมชาติจะมี แคลเซียมอยูปริมาณหนึ่ง การเตรียมสารละลายธาตุอาหารพืชจึงควรคิดแคลเซียมในน้ําดวยจะไดไมเกิด ปญหาในการมีแคลเซียมมากเกินไป แมกนีเซียม (Mg) รูปของแมกนีเซียมที่พืชดูดกินไดคือ magnesium ion (Mg+2) สารเคมีที่ ใหแมกนีเซียมคือ magnesium sulfate (MgSO4) ในน้ําธรรมชาติจะมีแมกนีเซียมอยูดวย ฉะนั้นในการเตรียม สารละลายธาตุอาหารพืชจึงควรคํานึงถึงดวย แมกนีเซียมที่มีมากเกินพอในสารละลายจะไปรบกวนการดูด กินธาตุโปแตสเซียมและแคลเซียม กํามะถัน (S) รูปของกํามะถันที่พืชสามารถดูดกินได คือ sulfate ion (SO4-2) พบวาไมคอยมี ปญหาการขาดกํามะถันในระบบการปลูกพืชไรดิน เพราะพืชตองการกํามะถันในปริมาณนอย และจะไดรับ จากสารเคมีพวกเกลือซัลเฟตของ K, Mg, Fe, Cu, Mn และ Zn เปนตน ข. ธาตุอาหารที่พชตองการเปนปริมาณนอยหรือจุลธาตุ (micronutrient elements) ื โบรอน (B) การแสดงอาการขาดธาตุโบรอนของพืชพบเห็นไดยากเนื่องจากพืชตองการใน ปริมาณนอย ซึ่งในน้ําธรรมชาติก็มีโบรอนอยูดวย สารเคมีที่ให borate ion (BO3-3) ซึ่งพืชสามารถดูดกินได คือ boric acid (H3BO3) สังกะสี (Zn) รูปที่พืชสามารถดูดกินไดคือ zinc ion (Zn+2) ซึ่งไดจาก zinc sulfate (ZnSO4) หรือ zinc chloride (ZnCl2) ทองแดง (Cu) สารเคมีที่ให Copper ion (Cu+2) คือ copper sulfate (CuSO4) หรือ copper chloride (CuCl2) เหล็ก (Fe) พืชดูดกินในรูป Fe+2 หรือ Fe+3 สารเคมีที่ใหธาตุเหล็กที่มีราคาถูกที่สุดคือ ferrous sulfate (FeSO4) ซึ่งละลายน้ําไดงาย แตก็จะตกเปนตะกอนไดเร็ว จึงตองควบคุมสภาพความเปนกรด ดางของสารละลาย เพื่อหลีกเลี่ยงปญหาเหลานี้ โดยการใชเหล็กในรูปคีเลต (Fe-chelate) ซึ่งเปนสารเกิดจาก การทําปฏิกิริยาระหวางเหล็ กและสารคี เลต ซึ่งเป นสารประกอบอินทรี ย เหล็ก คีเลต เปนสารประกอบ เชิงซอน สามารถคงตัวอยูในรูปสารละลายธาตุอาหารพืชและพืชดูดกินได เหล็กคีเลตที่นิยมใชกันอยูในรูป ของ EDTA หรือ EDDHA แมงกานีส (Mn) มีลักษณะเหมือนกับเหล็กคือ ความเปนประโยชนของแมงกานีส จะถูก ควบคุมโดยความเปนกรดดาง ถาสารละลายธาตุอาหารพืชมีลักษณะดาง ความเปนประโยชนของแมงกานีส 9
  • 14. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) จะลดลง manganese ion (Mn+2) ซึ่งเปนรูปที่พืชสามารถดูดกินได จะไดจากสารเคมี manganese sulfate (MnSO4) หรือ manganese chloride (MnCl2) โมลิบดินัม (Mo) รูปที่พืชสามารถดูดกินไดคือ molybdate ion (MoO4-2) ซึ่งไดจากสาร sodium molybdate หรือ ammonium molybdate คลอรีน (Cl) ในน้ําจะมีคลอรีนในรูปของคลอไรด (chloride ion (Cl-) ซึ่งเปนรูปที่พืชจะ นํา ไปใชป ระโยชน เ จื อ ปนอยู ด ว ย จากการเตรีย มสารละลายธาตุ อ าหารพื ช จะได ค ลอไรด จ ากสารเคมี potassium chloride รวมทั้งจากจุลธาตุบางธาตุที่อยูในรูปของสารประกอบคลอไรด ถาสารละลายมี Cl- มาก เกินพอ จะไปมีผลยับยั้งการดูดกิน anions ตัวอื่น เชน nitrate (NO3-) และซัลเฟต (SO4-2) การควบคุมความเปนกรดดาง (pH) และคาการนําไฟฟา (EC) ของสารละลายธาตุอาหารพืช การรักษาหรือควบคุมความเปนกรดดาง และคาการนําไฟฟาในสารละลายอาหารนี้เพื่อใหพืช สามารถดูดใชปุยหรือสารอาหารพืชไดดี และเพื่อใหปริมาณสารอาหารแกพืชตามที่ตองการ 1. การรักษาหรือควบคุม pH เนื่องจากคาความเปนกรดดางในสารละลายจะเปนคาที่บอกใหทราบถึงความสามารถของรากที่จะ ดูดธาตุอาหารตางๆ ที่อยูในสารละลายธาตุอาหารพืชได ปกติแลวควรรักษาคาความเปนกรดดางที่ 5.8-7.0 เพราะเปนคาหรือชวงที่ธาตุอาหารพืชตางๆ สามารถคงรูปในสารละลายที่พืชนําไปใชไดดี คาความเปนกรดดางในสารละลายธาตุอาหารพืชเปลี่ยนแปลงไดหลายสาเหตุ เชน การเปลี่ยนแปลง เนื่องจากการที่รากพืชดูดธาตุอาหารในสารละลายธาตุอาหาร แลวพืชปลดปลอยไฮโดรเจน (H+) และ ไฮดรอกไซด (OH-) จากรากสูสารละลายธาตุอาหารพืชทําให pH เปลี่ยนแปลงไป เชน - ประจุไฟฟาลบ หรือแอนไอออน (anions) เชน ไนเตรท (NO3-), ซัลเฟต (SO4- -), ฟอสเฟต (PO4- - -) แลวจะปลดปลอยไฮดรอกไซด (OH-) สูสารละลายธาตุอาหาร - ประจุไฟฟาบวก หรือแคตไอออน (cations) เชน แคลเซียม (Ca++), แมกนีเซียม (Mg++), โปแตสเซียม (K+), แอมโมเนียม (NH4+) แลวจะปลดปลอยไฮโดรเจน (H+) สูสารละลายธาตุ อาหาร ปกติแลวธาตุอาหารในสารละลายธาตุอาหารพืช มีประจุไฟฟาบวกหรือแคตไอออนมากกวาคาของ ประจุไฟฟาลบหรือแอนไอออนแลว คาความเปนกรดดางจะลดลง ในขณะที่การดูดกินแอนไอออนมากกวา แคตไอออนจะเพิ่มความเปนกรดดางในสารละลายธาตุอาหารพืช สําหรับการใหธาตุอาหารบางชนิดที่พืชตองการใชในปริมาณมาก คือ ธาตุไนโตรเจน (Nitrogen, N) ซึ่งมีการใหทั้ง 2 รูปแบบ คือ ในรูปแบบของประจุลบในสารอาหารในรูปของไนเตรส (NO3-) และในรูปแบบ 10
  • 15. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) ของประจุบวกในสารอาหารในรูปของแอมโมเนียม (NH4+) นั้น ตองพิจารณาถึงอัตราสวนของสารนี้ใหดี เพราะจะมีอทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงของความเปนกรดดางและการใชประโยชนของพืชมาก ิ การปรับเพื่อลดหรือเพิ่มคาความเปนกรดดางนั้น สามารถทําไดโดยเติมสารลงไปในสารละลายธาตุ อาหารพืช เชน 1.1 การปรับเพื่อลดคาความเปนกรดดาง โดยการเติมสารใดสารหนึ่งตอไปนี้ ลงไปในสารละลาย ธาตุอาหารพืช เชน Sulfuric acid (H2SO4) หรือ Nitric acid (HNO3) หรือ Hydrochloric acid (HCl) หรือ Acetic acid 1.2 การปรับเพื่อเพิ่มคาความเปนกรดดาง ใหสูงขึ้น ทําโดยการเติมสารใดสารหนึ่งตอไปนี้ลงไปใน สารละลายธาตุอาหารพืช เชน Potassium hydroxide (KOH) หรือ Sodium hydroxide (NaOH) หรือ Sodium bicarbonate หรือ Bicarbonate of soda (NaHCO3) 2. การควบคุมคาการนําไฟฟา (Electrical Conductivity) เนื่องจากปุยที่ละลายในน้ําที่คาของอิออน (ion) ที่สามารถใหกระแสไฟฟาที่มีหนวยเปนโมท (Mho) แตคาของการนํากระแสไฟฟานี้คอนขางนอยมาก จึงมีการวัดเปนคาที่มีหนวยเปนมิลลิโมท/เซนติเมตร (milliMhos/cm) อันเปนคาที่ไดจากการวัดการนํากระแสไฟฟาจากพื้นที่หนึ่งคิวบิกเซนติเมตรของสารอาหาร การวัดคาการนําไฟฟาจะทําใหเราทราบเพียงคารวมของการนําไฟฟาของสารละลายธาตุอาหารพืช (คือน้ํากับปุยที่เปนธาตุอาหารพืชทั้งหมดในถังที่ใสสารอาหารทั้งหมด) เทานั้น แตไมทราบคาของสัดสวน ของธาตุอาหารใดธาตุอาหารหนึ่งที่อยูในถัง ที่อาจเปลี่ยนไปตามเวลาเนื่องจากพืชนําไปใชหรือตกตะกอน ดังนั้นหลังจากมีการปรับคาการนําไฟฟาไปไดระยะหนึ่งแลวจึงควรเปลี่ยนสารละลายในถังใหม เปนระยะๆ โดยเฉพาะประเทศที่มีอากาศรอนอยางประเทศไทย ควร เปลี่ยนสารละลายใหมเปนระยะๆ เชน ทุก 3 สัปดาห ซึ่งการเปลี่ยน สารละลายธาตุอาหารพืชแตละครั้งก็หมายถึงการเสียคาใชจายเพิ่มขึ้น ปกติแลวควรรักษาคาการนําไฟฟาของสารอาหารระหวาง 2.0-4.0 มิลลิโมท/เซนติเมตร (milliMhos/cm) การเปลี่ยนแปลงคาการนําไฟฟาของสารละลาย แมวาปกติแลวควรรักษาคาการนําไฟฟาของ สารอาหารระหวาง 2.0-4.0 มิลลิโมท/เซนติเมตร (milliMhos/cm=mMhos/cm) 1 (mMho/cm) = 1Millisiemen/cm (mS/cm) 1 Millisiemen/cm (mS/cm) = 650 ppm ของความเขมขนของสารละลาย (salt) ปกติแลวความเขมขนของสารอาหารควรอยูในชวง 1,000-1,500 ppm เพื่อใหแรงดันออสโมติกของ กระบวนการดูดซึมธาตุอาหารของรากพืชไดสะดวก คาการนําไฟฟาจะแตกตางกันไปตามชนิดของพืช ระยะการเติบโต และความเขมของแสง เชน คาการนําไฟฟาที่ต่ําคือ (1.5-2.0 mMho/cm) เหมาะสมตอการปลูกแตงกวา 11
  • 16. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) คาการนําไฟฟาที่สูงคือ (2.5-3.5 mMho/cm) เหมาะสมตอการปลูกมะเขือเทศ คาการนําไฟฟา (1.8-2.0 mMho/cm) เหมาะสําหรับการปลูกผักและไมดอกไมประดับทั่วไป คาการนําไฟฟาจะแตกตางกันไปตามระยะการเจริญเติบโตและความแข็งแรงของตนพืช เพราะคา การนําไฟฟาที่สูงจะยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช คาการนําไฟฟาที่ต่ําจะเหมาะสมตอการเจริญเติบโตทาง ลําตนกอนการใหผล (Vegetative growth) และสูงขึ้นเมื่อพืชใหผลผลิต (Reproductive growth) ดังนั้นการ ปลูกพืชที่ใหผลผลิตเชนมะเขือเทศควรคํานึงถึงขอนี้ดวย นอกจากนี้คาการนําไฟฟานี้ จะแตกตางกันไปตามความเขมขนของแสง เชน กลาวคือถาแสงมีความ เขมขนมาก พืชตองการสารละลายที่มีความเขมขนนอยลง คือพืชจะดูดน้ํามากกวาธาตุอาหาร การเปลี่ยนสารละลายใหม เนื่องจากการวัดคาการนําไฟฟา จะทําใหเราทราบเพียงคารวมของการนํา ไฟฟาของสารอาหารคือน้ํากับธาตุอาหารทั้งหมดในถังที่ใสสารละลายธาตุอาหารพืชเทานั้น แตไมทราบคา ของสัดสวนของธาตุอาหารแตละชนิดที่เปลี่ยนไปตามเวลาที่ให เนื่องจากธาตุอาหารบางธาตุพืชนําไปใช นอยจึงเหลือสะสมในสารอาหาร (เชน โซเดียมและคลอรีน) ซึ่งจะมีผลทําใหความเปนประโยชนหรือ องคประกอบของสารละลายตัวอื่นๆ เปลี่ยนแปลงไปหรือ ตกตะกอน ดั งนั้ น จึง ควรเปลี่ ย นสารละลายในถัง ใหม เ ปน ระยะๆ โดยเฉพาะประเทศที่มี อากาศร อ นอยา ง ประเทศไทย ควรเปลี่ยนสารละลายใหมเปนระยะ เชน ทุก 3 สัปดาห การรักษาหรือควบคุมคาความเปนกรดดาง และคาการนําไฟฟาในสารละลายธาตุอาหารพืชนี้ สามารถ กระทําโดยใชแรงงานหรือใชระบบควบคุมแบบอัตโนมัติก็ได การเพาะตนกลา 1. การเพาะในกระบะเพาะกลา อุปกรณปลูกประกอบดวย - กระบะเพาะเมล็ดที่ทําจากวัสดุตางๆ เชน ถวยเพาะ ถาดพลาสติกที่มีหลุมสําหรับเพาะแบบสําเร็จรูป - วัสดุเพาะกลาเพื่อเปนที่สําหรับใหตนกลาโต ที่นิยม ใชกันคือ เปอรไลท 2. การเพาะกลาในแผนฟองน้ํา โดยการเพาะเมล็ดลงบน แผนฟองน้ําที่มีสารละลายธาตุอาหารพืชอยางเจือจาง 3. การเพาะกลาในวัสดุปลูก โดยการเพาะเมล็ดลงวัสดุปลูก ที่มีขนาดเล็ก เมื่อตนกลาโตแลวก็ยายไปปลูกในวัสดุปลูก เชน การเพาะกลาในใยหิน (rock wool) โดยกอนนํากลาไปปลูกควร ทําการปรับความพรอมโดยการใหไดรบแสงแดดเพิ่มขึ้นทีละนอยหรือ Hardening เสียกอน ั 12
  • 17. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) อุปกรณท่จําเปนสําหรับการปลูกพืชไรดิน ี อุปกรณสําหรับการปลูกพืชไรดินมีหลายชนิด แตกตางกันไปตามลักษณะวิธีปลูกแบบตางๆ ที่ผูจะ ทําการปลูกสามารถเลือกใชตามความเหมาะสม โดยใหคํานึงถึงราคาต่ําแตมีคุณภาพดีและควรหาซื้อไดใน ทองถิ่น ปกติแลวอุปกรณสําหรับการปลูกพืชไรดินมีดังตอไปนี้ 1. โรงเรือน ตองพิจารณาเพื่อหารูปแบบที่เหมาะสม สิ่งที่ตองคํานึง คือนอกจากตองมีความแข็งแรงแลวยังตองตอบสนองตอสภาพ ภูมิอากาศที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชและปองกัน ศัตรูพืชเขามารบกวนอีกดวย นอกจากนี้ก ารเลือกทําเลที่ตั้ง โรงเรือนเปนสิ่งที่ควรพิจารณาอยางรอบคอบ ควรเปนพื้นที่ที่มี ศักยภาพในการผลิตคือสภาพพื้นที่ สภาพแวดลอมและสภาพ ภู มิ อ ากาศ การคมนาคมสะดวก มี ไ ฟฟ า และแหล ง น้ํ า ที่ มี คุณภาพ เปนตน 2. ภาชนะ ภาชนะที่ใชในการปลูก เชน รางปลูก ควรเนนวัสดุที่มี ความเหมาะสมตามความประสงคของระบบปลูก อาจเปนวัสดุ ที่หาไดในทองถิ่น สารที่สังเคราะห เชน แผนโลหะ พลาสติก ในการเลือกใชวัสดุใหคํานึงถึงความสะอาด ไมผุหรือถูกกัด กร อ นง า ย โดยเฉพาะจากสารละลายธาตุ อ าหารพื ช มี ค วาม แข็งแรง ควรเปนวัสดุที่มีราคาถูกที่สามารถหาไดในทองถิ่น สะดวกในการติดตั้งและใชงาน ทําความสะอาดงาย และไม กอใหเกิดปญหาตอสิ่งแวดลอม 3. ปม เป น อุ ป กรณ สํ า คั ญ ที่ ก อ ให เ กิ ด พลั ง งานในการ กอใหเกิดการไหลเวียนของสารละลายธาตุอาหารพืช และให ออกซิเจนแกรากพืช 4. ไฟฟา เพื่อเปนตนกําลังของพลังงานที่ขาดไมได ดังนั้นถาไมมีกระแสไฟฟาก็ตองจัดหาตนกําลังสํารองไว 13
  • 18. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) 5. อุปกรณสําหรับการเตรียมและตรวจวัดสารละลาย เชน เครื่องชั่ง ภาชนะใสสารละลายเขมขน ปุยหรือธาตุอาหาร เครื่องมือ ตรวจวัดความเปนกรดดาง (pH meter) และวัดคาการนําไฟฟา (EC meter) เปนตน 6. วัสดุและอุปกรณตางๆ ที่เกี่ยวของ 6.1 ถั ง ใส ส ารละลายธาตุ อาหารพืช จะมีขนาดเล็ก หรือ ใหญ แตกตางกันไปตามขนาดของการเก็บกักสารละลายธาตุอาหารพืชกับ ระบบที่ปลูก ปกติแลวระบบการปลูกแบบ Nutrient Film Technique (NFT) ในยุ โรป จะมี ขนาดถังที่ บรรจุ สารละลายธาตุอาหารพืชทั้ งหมดด ว ย อัตราสวนระหวางปริมาณสารละลายธาตุอาหารพืชที่ใชในการปลูกตาม รางปลูก 90% ตอปริมาณสารละลายธาตุอาหารพืชที่อยูในถัง 10% สํ า หรั บ ในประเทศไทยเรามี อ ากาศร อ น อาจพิ จ ารณาเพิ่ ม อัตราสวนปริมาณสารละลายธาตุอาหารพืชที่อยูในถัง (ที่มักฝงในดิน หรืออยูในที่รมเพื่อลดอุณหภูมิของสารอาหาร) เพิ่มขึ้นเปน 20-30% เพื่อ เปนแนวทางหนึ่งในการแกปญหาอุณหภูมิและการลดลงของออกซิเจน ในสารละลายธาตุอาหารพืชที่อยูในถังกอนหมุนเวียนขึ้นไปเลี้ยงตนพืช แตวิธีนี้เปนการเพิ่มตนทุนการผลิต 6.2 ถุงมือ ใชในการเตรียม/รักษาหรือควบคุมคาความเปนกรดดาง เพราะสารปรับความเปนกรดดาง ที่กลาวมาเปนกรดที่ทําลาย ผิวหนังและเสื้อผาได 6.3 เครื่องชั่ง วัด ตวง ปริมาณปุยหรือสารอาหาร วัสดุผูกมัดหรือรองรับตนพืช สําหรับพืชที่มีความสูง เชน มะเขือเทศ และรากของพืชไมสามารถ ยึดแนนกับวัสดุปลูกเหมือนกับการปลูกบนพื้นดินทั่วไป จึงตองมีวัสดุรองรับตนพืช เพื่อเปนสิ่งที่ชวยทําให ตนพืชที่มีลําตนสูง และใหผลผลิตที่เปนผลที่มีน้ําหนัก (เชน มะเขือเทศ พริก แตง) สามารถทรงตัวอยูได เชน เชือก ลวด ไมค้ํา และอาจมีสิ่งผูกมัด (ที่ทําดวยพลาสติก) ติดกับตนพืชอีกดวย เทคนิคการปลูกพืชไรดิน การปลูก พื ช ไร ดิ น หมายถึง การผลิตพื ช โดยทํ าการปลูกในสารละลายธาตุอาหารพืช (nutrient solution) หรือในวัสดุปลูกที่เหมาะสม สามารถจําแนกไดเปน 2 แบบใหญๆ ดังนี้ I. เทคนิคการปลูกพืชในสารละลาย (Solution Culture หรือ Water Culture) เปนการปลูกพืชโดยปลอยรากพืชเจริญเติบโตในสารละลายธาตุอาหารพืช โดยไมมีวัสดุปลูกใดๆ รองรับรากพืช แบงออกไดหลายวิธี ดังนี้ 14
  • 19. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) 1.1 Liquid Culture เปนเทคนิคการปลูกพืชไรดินดั้งเดิม โดยศาสตราจารยเกอริค เปนคนแรกที่ใชเทคนิคนี้ มีหลักการ วารากพืชจะตองแชอยูในสารละลายธาตุอาหารพืช แตสวนตอระหวางรากหรือโคน จะถูกหอหุมดวยวัสดุที่ ไมเปนอันตรายตอพืช และยกไวเหนือระดับน้ํา มีทั้งแบบที่ใชน้ําลึก (Deep Water Culture) ซึ่งมีระดับน้ําสูง ประมาณ 8 ถึง 20 เซนติเมตร และแบบน้ําตื้น (Semi-Deep Water Culture) ซึ่งมีระดับน้ําสูงประมาณ 5 ถึง 10 เซนติเมตร มีการใหอากาศโดยการพนเปนฟอง ที่แทรกอยูในสารละลายโดยใชเครื่องสูบลม ซึ่งสารละลาย ธาตุอ าหารพืช จะหมุ น เวีย นอยู ภ ายในภาชนะปลูก โดยการเคลื่อ นไหวของฟองอากาศ (non-circulating system) อีกแบบหนึ่ง สารละลายธาตุอาหารพืชมีการไหลหมุนเวียนออกไปนอกภาชนะปลูก ลงสูถัง สารละลายธาตุอาหารพืชและถูกสูบใหไหลกลับสูภาชนะปลูกใหม (circulating system) การที่สารละลาย ธาตุอาหารพืชไหลเวียนอยางเหมาะสม จะชวยเพิ่มอากาศหรือกาซออกซิเจนลงในสารละลายธาตุอาหารพืช รวมทั้งสะดวกตอการปรับความเขมขนของสารละลายธาตุอาหารพืช ใหเหมาะสมตอพืชที่ปลูกอีกดวย รูปที่ 1 การปลูกดวยเทคนิค Liquid Culture 15
  • 20. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) 1.2 Aeroponics เปนการปลูกพืชโดยมีการใหสารละลายธาตุอาหารพืช ในรูปของการพนเปนหมอกหรือละออง ไปยังรากพืช ที่ถูกแขวนอยูในอากาศในที่มืด ความบอยครั้งและความยาวนานของการฉีดแตละครั้ง อาจ แตกตางกันไปตามชนิดพืชและสภาพบรรยากาศที่หอหุมรากพืช เชน อาจมีการฉีดสารละลายธาตุอาหารพืช 3 นาที และหยุด 1-2 นาที โดยการตั้งเวลา เพื่อใหภายในหองมืดคงความชุมชื้น 95-100% RH การปลูกพืช เทคนิคนี้มักใชศึกษาเกี่ยวกับสรีรวิทยาของพืช ขอดีของระบบนี้คือ รากแพรกระจายไดดีเพราะไมมีสิ่งกีด ขวางและไดรับอากาศเต็มที่ รูปที่ 2 การปลูกพืชใหรากลอยอยูในอากาศ 16
  • 21. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) 1.3 Nutrient Film Technique (NFT) เปนเทคนิคการปลูกพืชที่พัฒนาโดย นายคูเปอร บางทีเรียก Trough Culture, Trench Culture, Gully Culture หรือ Channel Culture ซึ่งเปน Water Culture อีกเทคนิคหนึ่งที่ไดรับความสนใจมาก มีหลักการ ว า รากพื ช จะแช อ ยู ใ นลํ า รางโลหะที่ มี พ ลาสติ ก ปู พื้ น และใช วั ส ดุ ห อ หุ ม ต น หรื อ ปลู ก ในลํ า รางที่ มี polyurethane foam รองรับรากพืชที่ปรับความลาดเทไวประมาณ 2 เปอรเซ็นต การใหสารละลายธาตุอาหาร พืชจะตองใชเครื่องสูบน้ําดูดจากถังเก็บสารละลายธาตุอาหารพืช แลวปลอยใหไหลเปนแผนบางๆ ผานราก พืชดวยอัตราความเร็ว 2 ลิตรตอนาที รากจะไดรับออกซิเจนอยางเพียงพอ ดานปลายลํารางจะมีรางน้ํารองรับ สารละลายธาตุอาหารพืชที่ใชแลว ไปรวมที่ถังเพื่อดูดกลับไปใชใหม การปลูกพืชเทคนิคนี้ตอมาไดรับการ พัฒนาใหมีวัสดุรองรับรากพืช เพื่อชวยลดปญหาการที่รากมีการเจริญแลวจับตัวเปนแผนหนาแนน ทําใหเกิด การกีดขวางลําราง สารละลายธาตุอาหารพืชไหลผานไมสะดวกเปนผลใหเกิดการชะงักการเจริญเติบโตของ พืช ในปจจุบันไดมีการพัฒนาแทงปลูก เชน ร็อกวูล (rockwool) และมีการนํามาใชในการปลูกผักเปนเชิง พาณิชยในหลายประเทศ รูปที่ 3 การปลูกดวยเทคนิค Nutrient Film Technique (NFT) 17
  • 22. ฝายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) การใหสารละลายแกพืชแบงออกเปน 2 วิธี คือ 1. ระบบที่นําสารละลายธาตุอาหารพืชที่ใชแลวกลับมาใชใหม (closed system หรือ recirculating system) เปนวิธีการที่ใหสารละลายผานรากพืชแลวระบายลงสูถังหรือภาชนะที่บรรจุแลวมีการหมุนเวียน (เชน ปม) เอาสารละลายธาตุอาหารนี้กลับขึ้นมาใหแกพืชใชใหมอีกอยางตอเนื่อง วิธีนี้เปนวิธีที่ปฏิบัติกัน โดยทั่วไป 1.1 แบบสารละลายธาตุอาหารพืชหมุนเวียนแบบไมเติมอากาศ เปนระบบสารละลายหมุนเวียน ถายเท ไมตองใหออกซิเจนหรือไมตองใชอุปกรณเครื่องปมอากาศ 1.2 แบบสารละลายธาตุอาหารพืชหมุนเวียนแบบเติมอากาศ หรือเรียกกันทั่วไปวา การเลี้ยง ปลาตู เพราะมีการใชปมลมชวยในการใหออกซิเจน วิธีน้เี ปนวิธีหนึ่งที่นิยมปลูกในบานเรา โดยการปลูกพืช ที่เพาะเมล็ดในฟองน้ํา รูปที่ 4 ระบบที่นําสารละลายธาตุอาหารพืชที่ใชแลวกลับมาใชใหม (closed system หรือ recirculation system) (ภาพบนเปนหลักการปลูก ภาพลางเปนการปลูกจริง) 18