SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 20
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
1.ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การจัดเก็บฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ได้เริ่มรู้จักกัน บทความชื่อ A Relational Model of Data for
Large Shared Data Banks ของ Dr.Edgar Frank Codd หรือ Dr. E. F. Codd ซึ่งขณะนั้นเป็นนักวิจัยอยู่ที่
บริษัท IBM ได้ตีพิมพ์ในวารสาร Associationof Computer Machinery (ACM) journal เมื่อเดือน
มิถุนายน ปี ค.ศ.1970 การสร้างโมเดลเชิงสัมพันธ์ได้ใช้ทฤษฎีทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับเซต (Set) มา
อธิบายการทางาน แนวคิดของ Codd นี้ได้ถูกพัฒนาเป็นซอฟต์แวร์ระบบฐานข้อมูลที่ชื่อว่า Oracle จาก
บริษัท Relational Software หรือ บริษัท Oracle ในปัจจุบัน
1.1.ความหมายของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นฐานข้อมูลที่ใช้โมเดลเชิงสัมพันธ์
(Relational DatabaseModel) ซึ่งผู้คิดค้นโมเดลเชิงสัมพันธ์นี้คือ Dr. E.F. Codd โดยใช้หลักพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร์ เนื่องด้วยแนวคิดของแบบจาลองแบบนี้มีลักษณะที่คนใช้กันทั่วกล่าวคือมีการเก็บเป็น
ตาราง ทาให้ง่ายต่อการเข้าใจและการประยุกต์ใช้งาน ด้วยเหตุนี้ ระบบฐานข้อมูลแบบนี้จึงที่ได้รับความ
นิยมมากที่สุด ในแง่ของ entity แบบจาลองแบบนี้คือ แฟ้มข้อมูลในรูปตาราง และ attribute ก็เปรียบ
เหมือนเขตข้อมูล ส่วนความสัมพันธ์คือความสัมพันธ์ระหว่าง entity
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ การเก็บข้อมูลในรูปของตาราง (Table) หลายๆตารางที่มีความสัมพันธ์กัน ใน
แต่ละตารางแบ่งออกเป็นแถวๆ และในแต่ละแถวจะแบ่งเป็นคอลัมน์ (Column) ในทางทฤษฎีจะมี
คาศัพท์เฉพาะแตกต่างออกไป เนื่องจากแบบจาลองแบบนี้เกิดจากทฤษฎีทางคณิตศาสตร์เรื่องเซ็ท (Set)
ดังนั้น เราจะมีคาศัพท์เฉพาะดังตาราง1.1นี้
ตาราง 1.1 คาศัพท์เฉพาะที่ใช้ในระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ศัพท์เฉพาะ ศัพท์ทั่วไป
รีเลชั่น (Relation) ตาราง (Table)
ทูเปิล (Tuple)
แถว (Row) หรือ เรคคอร์ด
(Record) หรือ ระเบียน
แอททริบิวท์ (Attribute)
คอลัมน์ (Column) หรือฟิลด์
(Field)
คาร์ดินัลลิติ้ (Cardinality)
จานวนแถว (Number of
rows)
ดีกรี (Degree)
จานวนแอททริบิวท์ (Number of
attribute)
คีย์หลัก (Primary key)
ค่าเอกลักษณ์ (Unique
identifier)
โดเมน (Domain)
ขอบข่ายของค่าของข้อมูล (Pool of
legal values)
รูป 1.1 แสดงรายละเอียดของส่วนประกอบต่าง ๆ ของโมเดลแบบความสัมพันธ์
คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
รีเลชัน (Relation) หรือจะเรียกอีกอย่างว่า ตาราง (table) หรือในรูปแบบของความสัมพันธ์
ระหว่างข้อมูล (E-R Model) เรียกว่า เอนทิตี (Entity) เป็นการแสดงถึงรูปแบบของตาราง 2 มิติ ที่
ประกอบด้วยคอลัมน์และแถวของข้อมูล
แอททริบิวท์(Attribute) หรือ คอลัมน์ (Column) เป็นการแสดงถึงคุณลักษณะของรีเลชัน
อาจจะเรียกว่า เขตข้อมูล เช่น รีเลชัน “สินค้า” ประกอบด้วยคอลัมน์ที่แสดงถึงแอททริบิวท์ต่างๆ
ได้แก่ รหัสสินค้า ชื่อสินค้า จานวนสินค้าคงเหลือ เป็นต้น
ทัพเพิล (tuple)จะเรียกอีกอย่างว่า แถว (Row) หรือ เรคอร์ด (record) แถวจะเป็นที่เก็บ
สมาชิกของรีเลชัน ดังนั้น แถวแต่ละแถวในรีเลชันจะต้องมีคุณสมบัติที่เหมือนกันหมด หรือ มีข้อมูล
ตามคอลัมน์ที่เป็นคุณลักษณะของรีเลชันเดียวกัน
คาร์ดินอลลิตี้ (Cardinality) คือ จานวนของทัพเพิลในหนึ่งรีเลชัน หรือ จานวนแถวในหนึ่งตาราง
ดีกรี (Degree) คือ จานวนแอททริบิวท์ในหนึ่งรีเลชัน หรือ จานวนคอลัมน์ในหนึ่งตาราง
ยกตัวอย่างข้อมูลพนักงาน เพื่ออธิบายองค์ประกอบของรีเลชัน
โดเมน (Domain) คือ กลุ่มหรือขอบเขตของข้อมูลที่เป็นไปได้ของแต่ละแอททริบิวท์เช่น
โดเมนของแอททริบิวท์กาหนดเพศ ประกอบด้วย เพศหญิง กับ เพศชาย โดเมนของแอททริบิวท์อายุ
ของพนักงานมีขอบเขตระหว่าง 18-60 ปี เป็นต้น
ค่าว่าง (Null Value) ในที่นี้ไม่ได้หมายถึงการกาหนดให้เป็นศูนย์หรือ ช่องว่างแต่เป็นแอ
ททริบิวท์ที่ยังไม่มีค่าข้อมูลเก็บอยู่อาจจะยังไม่ทราบค่าข้อมูลที่จะต้องใส่ลงไปในแอททริบิวท์นั้นๆ
เมื่อทราบค่าข้อมูลในแอททริบิวท์นั้น อาจมีการกลับมาใส่ข้อมูลลงไปใหม่ได้ ยกเว้นแอททริบิวท์ที่
เป็นคีย์หลักที่ไม่สามารถทาให้เป็นค่าว่างได้
คีย์หลัก (Primary Key) คือ แอททริบิวท์ที่สามารถใช้เจาะจงแถวใดแถวหนึ่งในรีเลชัน
โดยข้อมูลแต่ละแถวจะไม่ซ้าซ้อนกัน บางครั้งอาจเรียกสั้น ๆ ว่า คีย์
2.องค์ประกอบของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วน ดังนี้
1) ส่วนโครงสร้างของข้อมูล (Data Structure) เป็นส่วนการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของตารางที่
ประกอบด้วยคอลัมน์และแถว
2) ส่วนจัดการข้อมูล (Data Manipulation) เป็นส่วนของคาสั่งที่ใช้จัดการข้อมูลที่ถูกเก็บอยู่ใน
ฐานข้อมูล (อยู่ในรูปแบบของภาษา SQL)
3) ส่วนควบคมความคงสภาพของข้อมูล(Data Integrity)เป็นข้อกาหนดหรือกฎเกณฑ์ที่ถูกสร้าง
ขึ้นมาเพื่อใช้ควบคุมความคงสภาพของข้อมูล
3.ข้อดีของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นรูปแบบของฐานข้อมูลที่เข้าใจง่ายสาหรับผู้ใช้ซึ่งมีข้อดีดังนี้
1) เป็นรูปแบบของฐานข้อมูลที่เข้าใจง่าย ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นกลุ่มของรีเลชั่นหรือ
ตารางที่ข้อมูลถูกจัดเก็บเป็นแถวและคอลัมน์ซึ่งทาให้ผู้ใช้เห็นภาพของข้อมูลได้ง่าย
2) มีเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถจัดการกับข้อมูลได้ด้วยคาสั่งง่ายๆ โดยผู้ใช้ไม่ต้องรู้ว่ามี
รายละเอียดของการจัดเก็บข้อมูลอย่างไร
3) สามารถใช้ภาษาที่ง่ายในการเรียกดูข้อมูล เช่น ภาษา SQL เป็นภาษาที่มีลักษณะคล้าย
ภาษาอังกฤษ และไม่จาเป็นต้องเขียนเป็นลาดับขั้นตอนของคาสั่งอย่างในภาษาอื่น ๆ
4) การเรียกใช้หรือเชื่อมโยงข้อมูลทาได้ง่าย โดยการใช้ Operator ทางคณิตศาสตร์โดยไม่
จาเป็นต้องใช้พอยท์เตอร์ (Pointer)
4.โครงสร้างฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
4.1 รีเลชั่น
รีเลชั่น (Relation) หรือ ตาราง (Table) เป็นความสัมพันธ์ของข้อมูลในรูปแบบตาราง2 มิติ
ประกอบด้วยคอลัมน์และแถว
คอลัมน์แสดงถึงคุณลักษณะของรีเลชั่น ซึ่งหมายถึง เขตข้อมูล (Field) หรือแอททริบิวต์ของรีเลชั่น แถวมี
ความหมายเหมือนระเบียนข้อมูล (Record) ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าทูเพิล (Tuple)
1) โครงสร้างของรีเลชั่น
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ แบบจาลองแบบ E-R โปรแกรมเมอร์ ผู้ใช้งานทั่วไปรีเลชั่น เอนทิตี้
แฟ้มข้อมูล ตารางแอททริบิวต์ แอททริบิวต์ เขตข้อมูล คอลัมน์ทูเพิลหรือเรคอร์ด สมาชิกของเอนทิตี้
ระเบียน แถวเพื่อให้เกิดความเข้าใจโครงสร้างของรีเลชั่นที่ชัดเจนยิ่งขึ้น ขอยกตัวอย่างรีเลชั่น“พนักงาน”ซึ่ง
เป็นรีเลชั่นหนึ่งของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ของข้อมูลพนักงาน แสดงดังรูป
รูป 4.1 แสดงรีเลชั่นหรือตารางพนักงานในบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยคอลัมน์ (หรือแอททริ
บิวต์) รหัสพนักงาน ชื่อ สกุล เงินเดือน ตาแหน่ง และฝ่าย ส่วนแถวของตารางแต่ละแถวแสดงถึง
สมาชิกของตาราง ซึ่งได้แก่ข้อมูลของพนักงานแต่ละคนที่มีชื่อแอททริบิวต์เหมือนกันแต่ข้อมูล
ภายในแอททริบิวต์แตกต่างกัน
2) คุณสมบัตของรีเลชั่น
(1) ช่อง (Cell) แต่ละช่ องของตารางจะเก็บข้อมูลได้เพียงค่าเดียว (Single Value)
(2) ชนิดข้อมูล ข้อมูลที่อยู่ในคอลัมน์เดียวกันจะต้องมีชนิดข้อมูล (Data Type)เป็น
แบบเดียวกัน เช่น แอททริบิวต์เงินเดือน ของทุกแถวจะต้องมีข้อมูลที่เป็นตัวเลขเท่านั้น
(3) ชื่อคอลัมน์แต่ละคอลัมน์ของรีเลชั่นหนึ่งๆ จะต้องมีชื่อคอลัมน์ที่ไมซ้ากันส่วน
ลาดับของคอลัมน์ก่อนและหลังไม่ถือว่าสาคัญ
(4) แถวข้อมูลแต่ละแถวของทุกคอลัมน์ในรีเลชั่นหนึ่งๆ ต้องไม่ซ้ากัน (ทุกคอลัมน์)
ส่วนการเรียงลาดับของแถวไม่ถือว่าสาคัญ
4.2 ประเภทของรีเลชั่น
1) รีเลชั่นหลัก (Base Relation) เป็นรีเลชั่นหลักที่ถูกกาหนดขึ้นใช้เก็บข้อมูลเพื่อนาข้อมูลไปใช้
เมื่อมีการสร้างรีเลชั่นในภาษาสาหรับนิยามข้อมูล (DDL) 3204-2005ระบบฐานข้อมูลหน่วยที่ 4
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 46
2) วิว (View) เป็นรีเลชั่นที่ถูกสร้างขึ้นตามความต้องการใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคนเพราะผู้ใช้
แต่ละคนในฐานข้อมูลอาจมีความต้องการใช้ข้อมูลในลักษณะที่แตกต่างกัน จึงกาหนดวิวของตนเองขึ้น
จากรีเลชั่นหลัก เพื่อความสะดวกในการใช้ข้อมูลและช่วยให้การรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูลทาได้
ง่ายขึ้น ซึ่งรีเลชั่นนี้จะถูกสมมุติขึ้นโดยไม่มีการเก็บข้อมูลจริงๆ ในระบบ จึงเป็นตารางสมมุติหรือตารางที่
แปลค่ามา (Virtual Table หรือ Derived Table) ที่ถูกกาหนดโดยผู้ใช้แต่ละคน
5คุณสมบัติของคีย์หลัก
1. ข้อมูลของแอททริบิวท์ที่เป็นคีย์หลัก จะมีความเป็นหนึ่งเดียว (uniqueness) กล่าวคือทุกๆ
แถวของตารางจะต้องไม่มีข้อมูลของแอททริบิวท์ที่เป็นคีย์หลักนี้ซ้ากัน
2. ต้องประกอบด้วยจานวนแอททริบิวท์ที่น้อยที่สุด (minimality) แต่สามารถใช้เป็นตัวชี้
เฉพาะเจาะจงหรืออ้างอิงถึงแถวใดแถวหนึ่งในรีเลชันได้
3. ค่าแอททริบิวท์คีย์หลักต้องไม่เป็นค่าว่าง (Not Null)
คีย์ร่วม (Composite Key) คือ คีย์หลักที่ประกอบด้วยแอททริบิวท์มากกว่าหนึ่งแอททริบิวท์
นัลคีย์แอททริบิวท์คือ แอททริบิวท์อื่น ๆ ในรีเลชันที่ไม่ใช่ส่วนใดส่วนหนึ่งของคีย์หลัก
คีย์นอก หรือ คีย์อ้างอิง เป็นแอททริบิวท์หรือกลุ่มแอททริบิวท์ในรีเลชันหนึ่ง ซึ่งจะไปปรากฏเป็นคีย์หลัก
กับอีกรีเลชันหนึ่ง ดังนั้นค่าคีย์นอกจะมีค่าเท่ากับค่าคีย์หลักในแถวในแถวหนึ่งของอีกรีเลชัน หรือค่าในคีย์
นอกจะต้องมีค่าอยู่ในโดเมนเดียวกับคีย์หลัก
5.1คุณสมบัติของคีย์นอก
1. คีย์นอกจะเป็นแอททริบิวท์ หรือกลุ่มของแอททริบิวท์ที่อยู่ในรีเลชัน หนึ่งๆ ที่ค่าของแอ
ททริบิวท์นั้นไปปรากฏเป็นคีย์หลักในอีกรีเลชัน (หรืออาจเป็นรีเลชันเดิมก็ได้)
2. คีย์นอกเปรียบเสมือนกาวเชื่อมข้อมูลในรีเลชันหนึ่งกับอีกรีเลชันหนึ่ง ซึ่งเป็นการสร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างรีเลชัน
3. คีย์นอกและคีย์หลักของอีกรีเลชันที่มีความสัมพันธ์กัน จะต้องอยู่ภายใต้โดเมนเดียวกัน
และคีย์นอกไม่จาเป็นต้องมีชื่อเหมือนกับคีย์หลักของอีกรีเลชันที่มีความสัมพันธ์กัน
4. รีเลชันหนึ่งๆ อาจจะมีคีย์นอกอยู่หรือจะไม่มีก็ได้ แต่ทุกรีเลชันจะต้องมีคีย์หลักเสมอ
6.กฎของความคงสภาพ (IntegrityRule)
กฎของความคงสภาพ เป็นข้อกาหนดเพื่อใช้ควบคุมความถูกต้องของฐานข้อมูล ซึ่งจะป้องกัน
ไม่ให้ข้อมูลผิดจากความเป็นจริง จะควบคุมข้อมูลที่เป็นคีย์หลักของรีเลชันให้มีข้อมูลที่ไม่ซ้ากันและมี
ค่าที่ไม่เป็นค่าว่างข้อมูลที่เกิดการสูญเสียความคงสภาพของข้อมูล เกิดมาจากหลายสาเหตุ เช่น การเพิ่ม
การลบ หรือการแก้ไขข้อมูลในรีเลชั่นหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับรีเลชั่นอื่น ซึ่งทาให้เกิดความไม่สอดคล้อง
กันของข้อมูลระหว่างรีเลชั่นที่เกี่ยวข้องกัน
กฎที่ใช้ควบคุมความคงสภาพของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ให้ข้อมูลมีความถูกต้องจะมี 2 กฎ
ด้วยกัน คือ กฎความคงสภาพของเอนทิตี และกฎความคงสภาพของการอ้างอิง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
กฎความคงสภาพของเอนทิตี (Entitt Integrity Rule)
คีย์หลักของรีเลชั่น จะต้องมีค่าข้อมูลที่ไม่ซ้ากัน (unique)
เนื่องจากคุณสมบัติของคีย์หลัก จะเป็นแอททริบิวท์ที่ใช้ในการเจาะจงแถวข้อมูลใดแถว
ข้อมูลหนึ่งในรีเลชัน ดังนั้นจึงจะให้ค่าข้อมูลที่ซ้ากันไม่ได้
ค่าข้อมูลของคีย์หลักจะต้องไม่เป็นค่าว่าง (Null Value)
จะต้องไม่มีแอททริบิวท์ใดที่เป็นส่วนประกอบของคีย์หลักของรีเลชันนั้นเป็นค่าว่าง เพราะ
ค่าของข้อมูลในคีย์หลักจะถูกใช้เจาะจงถึงข้อมูลแถวใด ๆ ในรีเลชัน
กฎความคงสภาพของการอ้างอิง (Referential Integrity Rule)
ถ้ารีเลชันใดมีแอททริบิวท์ที่เป็นคีย์นอกอยู่ ข้อมูลที่เป็นคีย์นอกนั้นจะต้องไป
ปรากฏเป็นข้อมูลของคีย์หลักของอีกรีเลชันที่มีความสัมพันธ์กัน หรืออาจให้ข้อมูลที่เป็นคีย์
นอกนั้นจะต้องมีค่าเป็นค่าว่าง
7.การควบคุมให้เป็นไปตามกฎความคงสภาพ
การควบคุมความคงสภาพของข้อมูลให้เป็นตามกฎข้อที่ 1กฎข้อที่ 1คือ กฎความคงสภาพของ
เอนทิตี ซึ่งให้คีย์หลักมีค่าข้อมูลที่ไม่ซ้ากัน และต้องไม่เป็นค่าว่างการควบคุมความคงสภาพของข้อมูล
ให้เป็นตามกฎข้อที่ 2กฎข้อที่ 2 คือ กฎความคงสภาพของการอ้างอิง (Referential IntegrityRule) ถ้ารีเล
ชันใดมีแอททริบิวท์ที่เป็นคีย์นอกอยู่ข้อมูลที่เป็นคีย์นอกนั้นจะต้องไปปรากฏเป็นข้อมูลของคีย์หลักของ
อีกรีเลชันที่มีความสัมพันธ์กัน หรืออาจให้ข้อมูลที่เป็นคีย์นอกนั้นจะต้องมีค่าเป็นค่าว่างตัวอย่างของ
ผลกระทบต่อกฎความคงสภาพในข้อที่ 2 ได้แก่
- การเพิ่มข้อมูลที่เป็นค่าว่างลงในแอททริบิวท์ที่เป็นคีย์นอกของรีเลชัน
- การลบแถวข้อมูลในรีเลชันหนึ่ง
ซึ่งมีคีย์หลักเป็นข้อมูลที่คีย์นอกของอีกรีเลชันมีการอ้างอิงถึงโดยทั่วไปไม่ควรลบข้อมูลในคีย์
หลักที่มีข้อมูลคีย์นอกอ้างอิงถึงอยู่เนื่องจากจะเกิดความขัดแย้งของข้อมูลได้ในกรณีที่ต้องการลบ ระบบ
การจัดการฐานข้อมูลจะต้องมีวิธีป้องกันเพื่อจะทาให้ข้อมูลภายในฐานข้อมูลอยู่ในสถานะที่คงสภาพที่สุด
โดยทั่วไปจะมีการป้องกันที่ DBMS สามารถทาได้อยู่ 4 วิธี คือ
1) การกระทาแบบต่อเนื่อง (CASCADE)
ระบบการจัดการฐานข้อมูล จะอนุญาตให้ทาการลบแถวข้อมูลคีย์หลักได้ โดยระบบจะไปลบแถว
ข้อมูลที่มีคีย์นอกอ้างอิงถึงค่าข้อมูลนั้นในอีกเรเลชันออกไปด้วย
2) การกระทาแบบมีข้อจากัด (RESTRICT)
ระบบการจัดการฐานข้อมูล จะไม่อนุญาตให้ทาการลบแถวข้อมูลคีย์หลักได้ ถ้าข้อมูลที่จะลบนั้นถูก
อ้างอิงอยู่ในรีเลชันอื่น ๆ เช่นจากรูปที่ 3.12 ถ้าต้องการลบรหัสกิจกรรม "004" ในรีเลชันค่าบริการ ซึ่งถูก
อ้างอิงในรีเลชันสมาชิก ระบบจะไม่อนุญาตให้ลบ ยกเว้นแต่ข้อมูลไม่ถูกอ้างอิงอยู่ในรีเลชันอื่น เช่น รหัส
กิจกรรม "003" ในรีเลชันค่าบริการ ไม่ถูกอ้างอิงในรีเลชันสมาชิกจึงสามารถลบข้อมูลได้
3) การกระทาโดยการใส่ค่าว่าง (NULLIFILE/SET NULL)
ระบบการจัดการฐานข้อมูล จะอนุญาตให้ทาการลบแถวข้อมูลคีย์หลักได้แต่ค่าของคีย์ที่อ้างอิงคีย์นอก
ในรีเลชันอื่น ๆ จะถูกใส่ค่าว่างลงไป (แต่ถ้ามีการกาหนดไว้ตั้งแต่แรกว่าค่าข้อมูลของคีย์นอกห้ามเป็นค่า
ว่าง ก็จะไม่สามารถกระทาการในข้อนี้ได้) ตัวอย่างเช่นการลบข้อมูลของรหัสกิจกรรม "004" ออกจากรีเล
ชันค่าบริการ
4) การกระทาโดยกาหนดค่าปริยาย (Default)
จะอนุญาตให้แก้ไขค่าของคีย์(Key)ที่เกิดขึ้นได้และค่าของคีย์ที่อ้างอิงคีย์นอกในรีเลชันอื่น ๆ จะถูก
ปรับเป็นค่าโดยปริยาย (Default Value) ที่ถูกกาหนดขึ้น
สรุป
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นฐานข้อมูลที่มีความนิยมใช้กันมากในปัจจุบันฐานข้อมูล
เชิงสัมพันธ์เป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบของตารางที่เรียกว่า รีเลชั่น ซึ่งแสดงถึงรูปแบบของ
ตารางสองมิติประกอบด้วยแถวและคอลัมน์ของข้อมูล แต่ละแถวในตารางจะมีความหมาย
เหมือนกับระเบียนสาหรับแถวของรีเลชั่นเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทูเพิล (Tuple) และคอลัมน์แต่ละ
คอลัมน์ของตารางก็จะมีความหมายเหมือนกับเขตข้อมูลหรือแอททริบิวต์ (Attribute) ประเภท
ของรีเลชั่นมีลักษณะการทางานอยู่ 2 ประเภท คือ รีเลชั่นหลัก (Base Relation) เป็นรีเลชั่นที่ใช้
จัดเก็บข้อมูล และวิว (View)เป็นรีเลชั่นที่ถูกสร้างขึ้นตามความต้องการใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละ
คน รูปแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์บังคับให้ทุกรีเลชั่นต้องมีคีย์หลัก (Primary Key) คือ แอททริ
บิวต์ที่มีค่าของข้อมูลไม่ซ้ํากันในแต่ละทูเพิล ส่วนคีย์นอก (Foreign Key) เป็นแอททริบิวต์ที่ใช้
ในการอ้างอิงถึงแอททริบิวต์เดียวกันในอีกรีเลชั่นหนึ่ง ประโยชน์เพื่อเป็นการเชื่อมโยงข้อมูล
ระหว่างรีเลชั่น
จัดทาโดย
นางสาวอัยการณ์ โพธิ์ทอง ม.5/3 เลขที่ 16
นางสาวกาญจนา ป้องกัน ม.5/3 เลขที่ 20
นางสาวณัฐธิดา หลิ่ววรกุล ม.5/3 เลขที่ 21
นางสาวเบญจวรรณ อิ่มอก ม.5/3 เลขที่ 23
นางสาวปัทมวรรณ ประกินัง ม.5/3 เลขที่ 24
นางสาวขวัญชนก แพร่อาพา ม.5/3 เลขที่ 26

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
natlove220
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอม
Nuchy Geez
 
8 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
8 บทที่  3  อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ8 บทที่  3  อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
8 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
Augusts Programmer
 
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
skiats
 
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
anuchit025
 

Was ist angesagt? (20)

การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
 
บทที่ 4 er diagram
บทที่ 4 er diagramบทที่ 4 er diagram
บทที่ 4 er diagram
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
 
ข้อสอบ Power point 2010
ข้อสอบ Power point 2010ข้อสอบ Power point 2010
ข้อสอบ Power point 2010
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอม
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไรอินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
 
8 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
8 บทที่  3  อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ8 บทที่  3  อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
8 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
Lecture7 การแปลงโมเดลแบบ E-R เป็นรูปแบบโมเดลเชิงสัมพันธ์
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นฐานการสร้างเว็บไซต์
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
 
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
 
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
บทที่ 4 การรายงานข่าวในหนังสือพิมพ์
บทที่ 4 การรายงานข่าวในหนังสือพิมพ์ บทที่ 4 การรายงานข่าวในหนังสือพิมพ์
บทที่ 4 การรายงานข่าวในหนังสือพิมพ์
 

Ähnlich wie ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2

งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอม
kanjana123
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
chanoot29
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Isareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
niwat50
 
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
kunanya12
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
chanoot29
 
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลบทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
ครูสม ฟาร์มมะนาว
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
ด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
ด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 

Ähnlich wie ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2 (20)

งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอม
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
 
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูลบทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมและแบบจำลองฐานข้อมูล
 
สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรม
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
 
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
 

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2

  • 2. 1.ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ การจัดเก็บฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ได้เริ่มรู้จักกัน บทความชื่อ A Relational Model of Data for Large Shared Data Banks ของ Dr.Edgar Frank Codd หรือ Dr. E. F. Codd ซึ่งขณะนั้นเป็นนักวิจัยอยู่ที่ บริษัท IBM ได้ตีพิมพ์ในวารสาร Associationof Computer Machinery (ACM) journal เมื่อเดือน มิถุนายน ปี ค.ศ.1970 การสร้างโมเดลเชิงสัมพันธ์ได้ใช้ทฤษฎีทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับเซต (Set) มา อธิบายการทางาน แนวคิดของ Codd นี้ได้ถูกพัฒนาเป็นซอฟต์แวร์ระบบฐานข้อมูลที่ชื่อว่า Oracle จาก บริษัท Relational Software หรือ บริษัท Oracle ในปัจจุบัน
  • 3. 1.1.ความหมายของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นฐานข้อมูลที่ใช้โมเดลเชิงสัมพันธ์ (Relational DatabaseModel) ซึ่งผู้คิดค้นโมเดลเชิงสัมพันธ์นี้คือ Dr. E.F. Codd โดยใช้หลักพื้นฐานทาง คณิตศาสตร์ เนื่องด้วยแนวคิดของแบบจาลองแบบนี้มีลักษณะที่คนใช้กันทั่วกล่าวคือมีการเก็บเป็น ตาราง ทาให้ง่ายต่อการเข้าใจและการประยุกต์ใช้งาน ด้วยเหตุนี้ ระบบฐานข้อมูลแบบนี้จึงที่ได้รับความ นิยมมากที่สุด ในแง่ของ entity แบบจาลองแบบนี้คือ แฟ้มข้อมูลในรูปตาราง และ attribute ก็เปรียบ เหมือนเขตข้อมูล ส่วนความสัมพันธ์คือความสัมพันธ์ระหว่าง entity ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ การเก็บข้อมูลในรูปของตาราง (Table) หลายๆตารางที่มีความสัมพันธ์กัน ใน แต่ละตารางแบ่งออกเป็นแถวๆ และในแต่ละแถวจะแบ่งเป็นคอลัมน์ (Column) ในทางทฤษฎีจะมี คาศัพท์เฉพาะแตกต่างออกไป เนื่องจากแบบจาลองแบบนี้เกิดจากทฤษฎีทางคณิตศาสตร์เรื่องเซ็ท (Set) ดังนั้น เราจะมีคาศัพท์เฉพาะดังตาราง1.1นี้
  • 4. ตาราง 1.1 คาศัพท์เฉพาะที่ใช้ในระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ศัพท์เฉพาะ ศัพท์ทั่วไป รีเลชั่น (Relation) ตาราง (Table) ทูเปิล (Tuple) แถว (Row) หรือ เรคคอร์ด (Record) หรือ ระเบียน แอททริบิวท์ (Attribute) คอลัมน์ (Column) หรือฟิลด์ (Field) คาร์ดินัลลิติ้ (Cardinality) จานวนแถว (Number of rows) ดีกรี (Degree) จานวนแอททริบิวท์ (Number of attribute) คีย์หลัก (Primary key) ค่าเอกลักษณ์ (Unique identifier) โดเมน (Domain) ขอบข่ายของค่าของข้อมูล (Pool of legal values) รูป 1.1 แสดงรายละเอียดของส่วนประกอบต่าง ๆ ของโมเดลแบบความสัมพันธ์
  • 5. คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ รีเลชัน (Relation) หรือจะเรียกอีกอย่างว่า ตาราง (table) หรือในรูปแบบของความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล (E-R Model) เรียกว่า เอนทิตี (Entity) เป็นการแสดงถึงรูปแบบของตาราง 2 มิติ ที่ ประกอบด้วยคอลัมน์และแถวของข้อมูล แอททริบิวท์(Attribute) หรือ คอลัมน์ (Column) เป็นการแสดงถึงคุณลักษณะของรีเลชัน อาจจะเรียกว่า เขตข้อมูล เช่น รีเลชัน “สินค้า” ประกอบด้วยคอลัมน์ที่แสดงถึงแอททริบิวท์ต่างๆ ได้แก่ รหัสสินค้า ชื่อสินค้า จานวนสินค้าคงเหลือ เป็นต้น ทัพเพิล (tuple)จะเรียกอีกอย่างว่า แถว (Row) หรือ เรคอร์ด (record) แถวจะเป็นที่เก็บ สมาชิกของรีเลชัน ดังนั้น แถวแต่ละแถวในรีเลชันจะต้องมีคุณสมบัติที่เหมือนกันหมด หรือ มีข้อมูล ตามคอลัมน์ที่เป็นคุณลักษณะของรีเลชันเดียวกัน
  • 6. คาร์ดินอลลิตี้ (Cardinality) คือ จานวนของทัพเพิลในหนึ่งรีเลชัน หรือ จานวนแถวในหนึ่งตาราง ดีกรี (Degree) คือ จานวนแอททริบิวท์ในหนึ่งรีเลชัน หรือ จานวนคอลัมน์ในหนึ่งตาราง ยกตัวอย่างข้อมูลพนักงาน เพื่ออธิบายองค์ประกอบของรีเลชัน โดเมน (Domain) คือ กลุ่มหรือขอบเขตของข้อมูลที่เป็นไปได้ของแต่ละแอททริบิวท์เช่น โดเมนของแอททริบิวท์กาหนดเพศ ประกอบด้วย เพศหญิง กับ เพศชาย โดเมนของแอททริบิวท์อายุ ของพนักงานมีขอบเขตระหว่าง 18-60 ปี เป็นต้น ค่าว่าง (Null Value) ในที่นี้ไม่ได้หมายถึงการกาหนดให้เป็นศูนย์หรือ ช่องว่างแต่เป็นแอ ททริบิวท์ที่ยังไม่มีค่าข้อมูลเก็บอยู่อาจจะยังไม่ทราบค่าข้อมูลที่จะต้องใส่ลงไปในแอททริบิวท์นั้นๆ เมื่อทราบค่าข้อมูลในแอททริบิวท์นั้น อาจมีการกลับมาใส่ข้อมูลลงไปใหม่ได้ ยกเว้นแอททริบิวท์ที่ เป็นคีย์หลักที่ไม่สามารถทาให้เป็นค่าว่างได้ คีย์หลัก (Primary Key) คือ แอททริบิวท์ที่สามารถใช้เจาะจงแถวใดแถวหนึ่งในรีเลชัน โดยข้อมูลแต่ละแถวจะไม่ซ้าซ้อนกัน บางครั้งอาจเรียกสั้น ๆ ว่า คีย์
  • 7. 2.องค์ประกอบของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วน ดังนี้ 1) ส่วนโครงสร้างของข้อมูล (Data Structure) เป็นส่วนการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของตารางที่ ประกอบด้วยคอลัมน์และแถว 2) ส่วนจัดการข้อมูล (Data Manipulation) เป็นส่วนของคาสั่งที่ใช้จัดการข้อมูลที่ถูกเก็บอยู่ใน ฐานข้อมูล (อยู่ในรูปแบบของภาษา SQL) 3) ส่วนควบคมความคงสภาพของข้อมูล(Data Integrity)เป็นข้อกาหนดหรือกฎเกณฑ์ที่ถูกสร้าง ขึ้นมาเพื่อใช้ควบคุมความคงสภาพของข้อมูล
  • 8. 3.ข้อดีของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นรูปแบบของฐานข้อมูลที่เข้าใจง่ายสาหรับผู้ใช้ซึ่งมีข้อดีดังนี้ 1) เป็นรูปแบบของฐานข้อมูลที่เข้าใจง่าย ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นกลุ่มของรีเลชั่นหรือ ตารางที่ข้อมูลถูกจัดเก็บเป็นแถวและคอลัมน์ซึ่งทาให้ผู้ใช้เห็นภาพของข้อมูลได้ง่าย 2) มีเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถจัดการกับข้อมูลได้ด้วยคาสั่งง่ายๆ โดยผู้ใช้ไม่ต้องรู้ว่ามี รายละเอียดของการจัดเก็บข้อมูลอย่างไร 3) สามารถใช้ภาษาที่ง่ายในการเรียกดูข้อมูล เช่น ภาษา SQL เป็นภาษาที่มีลักษณะคล้าย ภาษาอังกฤษ และไม่จาเป็นต้องเขียนเป็นลาดับขั้นตอนของคาสั่งอย่างในภาษาอื่น ๆ 4) การเรียกใช้หรือเชื่อมโยงข้อมูลทาได้ง่าย โดยการใช้ Operator ทางคณิตศาสตร์โดยไม่ จาเป็นต้องใช้พอยท์เตอร์ (Pointer)
  • 9. 4.โครงสร้างฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 4.1 รีเลชั่น รีเลชั่น (Relation) หรือ ตาราง (Table) เป็นความสัมพันธ์ของข้อมูลในรูปแบบตาราง2 มิติ ประกอบด้วยคอลัมน์และแถว คอลัมน์แสดงถึงคุณลักษณะของรีเลชั่น ซึ่งหมายถึง เขตข้อมูล (Field) หรือแอททริบิวต์ของรีเลชั่น แถวมี ความหมายเหมือนระเบียนข้อมูล (Record) ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าทูเพิล (Tuple) 1) โครงสร้างของรีเลชั่น ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ แบบจาลองแบบ E-R โปรแกรมเมอร์ ผู้ใช้งานทั่วไปรีเลชั่น เอนทิตี้ แฟ้มข้อมูล ตารางแอททริบิวต์ แอททริบิวต์ เขตข้อมูล คอลัมน์ทูเพิลหรือเรคอร์ด สมาชิกของเอนทิตี้ ระเบียน แถวเพื่อให้เกิดความเข้าใจโครงสร้างของรีเลชั่นที่ชัดเจนยิ่งขึ้น ขอยกตัวอย่างรีเลชั่น“พนักงาน”ซึ่ง เป็นรีเลชั่นหนึ่งของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ของข้อมูลพนักงาน แสดงดังรูป
  • 10. รูป 4.1 แสดงรีเลชั่นหรือตารางพนักงานในบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยคอลัมน์ (หรือแอททริ บิวต์) รหัสพนักงาน ชื่อ สกุล เงินเดือน ตาแหน่ง และฝ่าย ส่วนแถวของตารางแต่ละแถวแสดงถึง สมาชิกของตาราง ซึ่งได้แก่ข้อมูลของพนักงานแต่ละคนที่มีชื่อแอททริบิวต์เหมือนกันแต่ข้อมูล ภายในแอททริบิวต์แตกต่างกัน
  • 11. 2) คุณสมบัตของรีเลชั่น (1) ช่อง (Cell) แต่ละช่ องของตารางจะเก็บข้อมูลได้เพียงค่าเดียว (Single Value) (2) ชนิดข้อมูล ข้อมูลที่อยู่ในคอลัมน์เดียวกันจะต้องมีชนิดข้อมูล (Data Type)เป็น แบบเดียวกัน เช่น แอททริบิวต์เงินเดือน ของทุกแถวจะต้องมีข้อมูลที่เป็นตัวเลขเท่านั้น (3) ชื่อคอลัมน์แต่ละคอลัมน์ของรีเลชั่นหนึ่งๆ จะต้องมีชื่อคอลัมน์ที่ไมซ้ากันส่วน ลาดับของคอลัมน์ก่อนและหลังไม่ถือว่าสาคัญ (4) แถวข้อมูลแต่ละแถวของทุกคอลัมน์ในรีเลชั่นหนึ่งๆ ต้องไม่ซ้ากัน (ทุกคอลัมน์) ส่วนการเรียงลาดับของแถวไม่ถือว่าสาคัญ
  • 12. 4.2 ประเภทของรีเลชั่น 1) รีเลชั่นหลัก (Base Relation) เป็นรีเลชั่นหลักที่ถูกกาหนดขึ้นใช้เก็บข้อมูลเพื่อนาข้อมูลไปใช้ เมื่อมีการสร้างรีเลชั่นในภาษาสาหรับนิยามข้อมูล (DDL) 3204-2005ระบบฐานข้อมูลหน่วยที่ 4 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 46 2) วิว (View) เป็นรีเลชั่นที่ถูกสร้างขึ้นตามความต้องการใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคนเพราะผู้ใช้ แต่ละคนในฐานข้อมูลอาจมีความต้องการใช้ข้อมูลในลักษณะที่แตกต่างกัน จึงกาหนดวิวของตนเองขึ้น จากรีเลชั่นหลัก เพื่อความสะดวกในการใช้ข้อมูลและช่วยให้การรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูลทาได้ ง่ายขึ้น ซึ่งรีเลชั่นนี้จะถูกสมมุติขึ้นโดยไม่มีการเก็บข้อมูลจริงๆ ในระบบ จึงเป็นตารางสมมุติหรือตารางที่ แปลค่ามา (Virtual Table หรือ Derived Table) ที่ถูกกาหนดโดยผู้ใช้แต่ละคน
  • 13. 5คุณสมบัติของคีย์หลัก 1. ข้อมูลของแอททริบิวท์ที่เป็นคีย์หลัก จะมีความเป็นหนึ่งเดียว (uniqueness) กล่าวคือทุกๆ แถวของตารางจะต้องไม่มีข้อมูลของแอททริบิวท์ที่เป็นคีย์หลักนี้ซ้ากัน 2. ต้องประกอบด้วยจานวนแอททริบิวท์ที่น้อยที่สุด (minimality) แต่สามารถใช้เป็นตัวชี้ เฉพาะเจาะจงหรืออ้างอิงถึงแถวใดแถวหนึ่งในรีเลชันได้ 3. ค่าแอททริบิวท์คีย์หลักต้องไม่เป็นค่าว่าง (Not Null) คีย์ร่วม (Composite Key) คือ คีย์หลักที่ประกอบด้วยแอททริบิวท์มากกว่าหนึ่งแอททริบิวท์ นัลคีย์แอททริบิวท์คือ แอททริบิวท์อื่น ๆ ในรีเลชันที่ไม่ใช่ส่วนใดส่วนหนึ่งของคีย์หลัก คีย์นอก หรือ คีย์อ้างอิง เป็นแอททริบิวท์หรือกลุ่มแอททริบิวท์ในรีเลชันหนึ่ง ซึ่งจะไปปรากฏเป็นคีย์หลัก กับอีกรีเลชันหนึ่ง ดังนั้นค่าคีย์นอกจะมีค่าเท่ากับค่าคีย์หลักในแถวในแถวหนึ่งของอีกรีเลชัน หรือค่าในคีย์ นอกจะต้องมีค่าอยู่ในโดเมนเดียวกับคีย์หลัก
  • 14. 5.1คุณสมบัติของคีย์นอก 1. คีย์นอกจะเป็นแอททริบิวท์ หรือกลุ่มของแอททริบิวท์ที่อยู่ในรีเลชัน หนึ่งๆ ที่ค่าของแอ ททริบิวท์นั้นไปปรากฏเป็นคีย์หลักในอีกรีเลชัน (หรืออาจเป็นรีเลชันเดิมก็ได้) 2. คีย์นอกเปรียบเสมือนกาวเชื่อมข้อมูลในรีเลชันหนึ่งกับอีกรีเลชันหนึ่ง ซึ่งเป็นการสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างรีเลชัน 3. คีย์นอกและคีย์หลักของอีกรีเลชันที่มีความสัมพันธ์กัน จะต้องอยู่ภายใต้โดเมนเดียวกัน และคีย์นอกไม่จาเป็นต้องมีชื่อเหมือนกับคีย์หลักของอีกรีเลชันที่มีความสัมพันธ์กัน 4. รีเลชันหนึ่งๆ อาจจะมีคีย์นอกอยู่หรือจะไม่มีก็ได้ แต่ทุกรีเลชันจะต้องมีคีย์หลักเสมอ
  • 15. 6.กฎของความคงสภาพ (IntegrityRule) กฎของความคงสภาพ เป็นข้อกาหนดเพื่อใช้ควบคุมความถูกต้องของฐานข้อมูล ซึ่งจะป้องกัน ไม่ให้ข้อมูลผิดจากความเป็นจริง จะควบคุมข้อมูลที่เป็นคีย์หลักของรีเลชันให้มีข้อมูลที่ไม่ซ้ากันและมี ค่าที่ไม่เป็นค่าว่างข้อมูลที่เกิดการสูญเสียความคงสภาพของข้อมูล เกิดมาจากหลายสาเหตุ เช่น การเพิ่ม การลบ หรือการแก้ไขข้อมูลในรีเลชั่นหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับรีเลชั่นอื่น ซึ่งทาให้เกิดความไม่สอดคล้อง กันของข้อมูลระหว่างรีเลชั่นที่เกี่ยวข้องกัน กฎที่ใช้ควบคุมความคงสภาพของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ให้ข้อมูลมีความถูกต้องจะมี 2 กฎ ด้วยกัน คือ กฎความคงสภาพของเอนทิตี และกฎความคงสภาพของการอ้างอิง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
  • 16. กฎความคงสภาพของเอนทิตี (Entitt Integrity Rule) คีย์หลักของรีเลชั่น จะต้องมีค่าข้อมูลที่ไม่ซ้ากัน (unique) เนื่องจากคุณสมบัติของคีย์หลัก จะเป็นแอททริบิวท์ที่ใช้ในการเจาะจงแถวข้อมูลใดแถว ข้อมูลหนึ่งในรีเลชัน ดังนั้นจึงจะให้ค่าข้อมูลที่ซ้ากันไม่ได้ ค่าข้อมูลของคีย์หลักจะต้องไม่เป็นค่าว่าง (Null Value) จะต้องไม่มีแอททริบิวท์ใดที่เป็นส่วนประกอบของคีย์หลักของรีเลชันนั้นเป็นค่าว่าง เพราะ ค่าของข้อมูลในคีย์หลักจะถูกใช้เจาะจงถึงข้อมูลแถวใด ๆ ในรีเลชัน กฎความคงสภาพของการอ้างอิง (Referential Integrity Rule) ถ้ารีเลชันใดมีแอททริบิวท์ที่เป็นคีย์นอกอยู่ ข้อมูลที่เป็นคีย์นอกนั้นจะต้องไป ปรากฏเป็นข้อมูลของคีย์หลักของอีกรีเลชันที่มีความสัมพันธ์กัน หรืออาจให้ข้อมูลที่เป็นคีย์ นอกนั้นจะต้องมีค่าเป็นค่าว่าง
  • 17. 7.การควบคุมให้เป็นไปตามกฎความคงสภาพ การควบคุมความคงสภาพของข้อมูลให้เป็นตามกฎข้อที่ 1กฎข้อที่ 1คือ กฎความคงสภาพของ เอนทิตี ซึ่งให้คีย์หลักมีค่าข้อมูลที่ไม่ซ้ากัน และต้องไม่เป็นค่าว่างการควบคุมความคงสภาพของข้อมูล ให้เป็นตามกฎข้อที่ 2กฎข้อที่ 2 คือ กฎความคงสภาพของการอ้างอิง (Referential IntegrityRule) ถ้ารีเล ชันใดมีแอททริบิวท์ที่เป็นคีย์นอกอยู่ข้อมูลที่เป็นคีย์นอกนั้นจะต้องไปปรากฏเป็นข้อมูลของคีย์หลักของ อีกรีเลชันที่มีความสัมพันธ์กัน หรืออาจให้ข้อมูลที่เป็นคีย์นอกนั้นจะต้องมีค่าเป็นค่าว่างตัวอย่างของ ผลกระทบต่อกฎความคงสภาพในข้อที่ 2 ได้แก่ - การเพิ่มข้อมูลที่เป็นค่าว่างลงในแอททริบิวท์ที่เป็นคีย์นอกของรีเลชัน - การลบแถวข้อมูลในรีเลชันหนึ่ง ซึ่งมีคีย์หลักเป็นข้อมูลที่คีย์นอกของอีกรีเลชันมีการอ้างอิงถึงโดยทั่วไปไม่ควรลบข้อมูลในคีย์ หลักที่มีข้อมูลคีย์นอกอ้างอิงถึงอยู่เนื่องจากจะเกิดความขัดแย้งของข้อมูลได้ในกรณีที่ต้องการลบ ระบบ การจัดการฐานข้อมูลจะต้องมีวิธีป้องกันเพื่อจะทาให้ข้อมูลภายในฐานข้อมูลอยู่ในสถานะที่คงสภาพที่สุด โดยทั่วไปจะมีการป้องกันที่ DBMS สามารถทาได้อยู่ 4 วิธี คือ
  • 18. 1) การกระทาแบบต่อเนื่อง (CASCADE) ระบบการจัดการฐานข้อมูล จะอนุญาตให้ทาการลบแถวข้อมูลคีย์หลักได้ โดยระบบจะไปลบแถว ข้อมูลที่มีคีย์นอกอ้างอิงถึงค่าข้อมูลนั้นในอีกเรเลชันออกไปด้วย 2) การกระทาแบบมีข้อจากัด (RESTRICT) ระบบการจัดการฐานข้อมูล จะไม่อนุญาตให้ทาการลบแถวข้อมูลคีย์หลักได้ ถ้าข้อมูลที่จะลบนั้นถูก อ้างอิงอยู่ในรีเลชันอื่น ๆ เช่นจากรูปที่ 3.12 ถ้าต้องการลบรหัสกิจกรรม "004" ในรีเลชันค่าบริการ ซึ่งถูก อ้างอิงในรีเลชันสมาชิก ระบบจะไม่อนุญาตให้ลบ ยกเว้นแต่ข้อมูลไม่ถูกอ้างอิงอยู่ในรีเลชันอื่น เช่น รหัส กิจกรรม "003" ในรีเลชันค่าบริการ ไม่ถูกอ้างอิงในรีเลชันสมาชิกจึงสามารถลบข้อมูลได้ 3) การกระทาโดยการใส่ค่าว่าง (NULLIFILE/SET NULL) ระบบการจัดการฐานข้อมูล จะอนุญาตให้ทาการลบแถวข้อมูลคีย์หลักได้แต่ค่าของคีย์ที่อ้างอิงคีย์นอก ในรีเลชันอื่น ๆ จะถูกใส่ค่าว่างลงไป (แต่ถ้ามีการกาหนดไว้ตั้งแต่แรกว่าค่าข้อมูลของคีย์นอกห้ามเป็นค่า ว่าง ก็จะไม่สามารถกระทาการในข้อนี้ได้) ตัวอย่างเช่นการลบข้อมูลของรหัสกิจกรรม "004" ออกจากรีเล ชันค่าบริการ 4) การกระทาโดยกาหนดค่าปริยาย (Default) จะอนุญาตให้แก้ไขค่าของคีย์(Key)ที่เกิดขึ้นได้และค่าของคีย์ที่อ้างอิงคีย์นอกในรีเลชันอื่น ๆ จะถูก ปรับเป็นค่าโดยปริยาย (Default Value) ที่ถูกกาหนดขึ้น
  • 19. สรุป ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นฐานข้อมูลที่มีความนิยมใช้กันมากในปัจจุบันฐานข้อมูล เชิงสัมพันธ์เป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบของตารางที่เรียกว่า รีเลชั่น ซึ่งแสดงถึงรูปแบบของ ตารางสองมิติประกอบด้วยแถวและคอลัมน์ของข้อมูล แต่ละแถวในตารางจะมีความหมาย เหมือนกับระเบียนสาหรับแถวของรีเลชั่นเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทูเพิล (Tuple) และคอลัมน์แต่ละ คอลัมน์ของตารางก็จะมีความหมายเหมือนกับเขตข้อมูลหรือแอททริบิวต์ (Attribute) ประเภท ของรีเลชั่นมีลักษณะการทางานอยู่ 2 ประเภท คือ รีเลชั่นหลัก (Base Relation) เป็นรีเลชั่นที่ใช้ จัดเก็บข้อมูล และวิว (View)เป็นรีเลชั่นที่ถูกสร้างขึ้นตามความต้องการใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละ คน รูปแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์บังคับให้ทุกรีเลชั่นต้องมีคีย์หลัก (Primary Key) คือ แอททริ บิวต์ที่มีค่าของข้อมูลไม่ซ้ํากันในแต่ละทูเพิล ส่วนคีย์นอก (Foreign Key) เป็นแอททริบิวต์ที่ใช้ ในการอ้างอิงถึงแอททริบิวต์เดียวกันในอีกรีเลชั่นหนึ่ง ประโยชน์เพื่อเป็นการเชื่อมโยงข้อมูล ระหว่างรีเลชั่น
  • 20. จัดทาโดย นางสาวอัยการณ์ โพธิ์ทอง ม.5/3 เลขที่ 16 นางสาวกาญจนา ป้องกัน ม.5/3 เลขที่ 20 นางสาวณัฐธิดา หลิ่ววรกุล ม.5/3 เลขที่ 21 นางสาวเบญจวรรณ อิ่มอก ม.5/3 เลขที่ 23 นางสาวปัทมวรรณ ประกินัง ม.5/3 เลขที่ 24 นางสาวขวัญชนก แพร่อาพา ม.5/3 เลขที่ 26