SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 19
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
วิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) 
สถาพร วงศ์จิรานุวัฒน์ 
นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
ความเป็นมาและความสาคัญ 
1 
การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2541 มาตรา 65 
อดีตยึดที่หลักการครูผู้สอนเป็นสาคัญ 
การเรียนบนเครือข่าย 
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 
การเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 
2 
1. เพื่อออกแบบและพัฒนาการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง 31102 
คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) 
2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) 
3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์)
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
ขอบเขตและข้อจากัดของการวิจัย 
3 
1. กลุ่มเป้าหมาย 
ในงานวิจัยในครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) ห้อง ม.4/2 จานวน 31 คน 
2. ตัวแปรที่ศึกษาในการวิจัย 
1 ) วิธีการจัดการเรียนรู้ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามตามแนว คอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 
2 ) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 
3 ) ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
ขอบเขตและข้อจากัดของการวิจัย 
3 
3. เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย 
รายวิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ จานวน 4 หน่วยการเรียนรู้ได้แก่ 1 ) องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 2 ) ไวรัสคอมพิวเตอร์และการดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ 3 ) อินเทอร์เน็ต 4 ) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 
4. ระยะเวลาในการศึกษาวิจัย 
ระยะเวลาในการทาการวิจัย 4 เดือน ระหว่าง เดือนตุลาคม 2554 ถึง เดือนมกราคม 2555
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
คานิยามศัพท์เฉพาะ 
4 
1. การเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ หมายถึง รูปแบบการเรียนการสอนที่อาศัย เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต หลักในการถ่ายโอนข้อมูล เป็นรูปแบบการประยุกต์ใช้คุณสมบัติไฮเปอร์มีเดีย เข้ากับคุณสมบัติของอินเทอร์เน็ต 
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้จากค่าคะแนนเฉลี่ยของการ ทาแบบทดสอบก่อนและหลัง จานวน 30 ข้อ แบบปรนัย 4 ตัวเลือก รายวิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ ที่ผู้วิจัย สร้างขึ้นเทียบเกณฑ์ 80% ของคะแนนเต็ม และมีจานวนผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80% 
3. แบบสารวจความคิดเห็น หมายถึง ความคิดเห็นของผู้เรียนเกี่ยวกับผลของการเรียนบนเครือข่ายที่ พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์)
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 
5 
1. ใช้เป็นแนวทางในการออกแบบและพัฒนาการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
วิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) 
2. ใช้เป็นแนวทางในการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน จากการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนา ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) 
3. นาความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการเรียนจากการเรียนรู้บนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติ วิสต์ วิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น 
(ศึกษาศาสตร์)ไปพัฒนาการจัดการเรียนบนเครือข่ายให้สอดคล้องและเหมาะสมกับการจัดการเรียนการ 
สอนที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 
6 
1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี) 
2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
3. การเรียนบนเครือข่าย 
4. ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและคล้ายคลึงกับงานวิจัยที่ทา
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
วิธีดาเนินการวิจัย 
7 
2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
ใช้รูปแบบการวิจัยแบบวิจัยที่มีกลุ่มเดียวแต่มีการวัดก่อนเรียนและหลังเรียน 
(One-group pre-and posttest design) 
O1 X O2 
ดัดแปลงจาก: (ปรีชา เนาว์เย็นผล, 2540:156) 
เมื่อ 
O1 แทน การสอบก่อนเรียน 
X แทน การเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
O2 แทน การสอบหลังเรียน 
1. รูปแบบแผนการวิจัย
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
วิธีดาเนินการวิจัย 
7 
2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 
1) บทเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
2) แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ จานวน 4 แผนกาเรียนรู้ 
2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง 
1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาวิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ 
2) แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนบนบทเรียนผ่านเครือข่าย 
2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
วิธีดาเนินการวิจัย 
7 
2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
วิธีดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลโดยดาเนินการทดลองตามลาดับดังนี้ 
1. ขั้นเตรียม 
2. ขั้นทดลอง 
3. ขั้นการเก็บรวบรวมข้อมูล
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
วิธีดาเนินการวิจัย 
7 
2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
1.วางแผนการ ปฏิบัติการ 
2.ศึกษาสภาพปัญหา 
3.ศึกษาเอกสารและ งานวิจัย 
4.กาหนดระยะเวลา 
5.เตรียม กลุ่มเป้าหมาย 
6.เตรียมห้องทดลอง 
7.นาบทเรียนเข้าสู่ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต 
1. ขั้นเตรียม
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
วิธีดาเนินการวิจัย 
7 
2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
2. ขั้นทดลอง 
4.ทากิจกรรมระหว่างเรียน 
3. ผู้เรียนทาการศึกษา บทเรียนบนเครือข่าย 
2. แนะนาวิธีการเรียนบน เครือข่าย 
1. ผู้เรียนทาแบบทดสอบ ก่อนเรียน
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
วิธีดาเนินการวิจัย 
7 
2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
3. ขั้นการเก็บรวบรวมข้อมูล 
1. ทาการเก็บรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับความคิดเห็นของ ผู้เรียนจากการเรียนบน เครือข่าย 
2. ทาแบบทดสอบหลังเรียน รายวิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
ผลการวิจัยและอภิปรายผล 
8 
2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
*****จากค่าสถิติพื้นฐานที่แสดง คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบก่อน เรียนและหลังเรียนของกลุ่มเป้าหมาย มีค่าเฉลี่ย 18.97 และ 24.42 และมี ส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน 3.38 และ 1.67 ตามลาดับ พบว่าคะแนนเฉลี่ย ของนักเรียนหลังเรียนสูงขึ้นจาก คะแนนทดสอบก่อนเรียน นั่นคือ มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและจาก การประเมินผลการเรียนรู้ พบว่า นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80% คิดเป็น ร้อยละ 80.64%
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
ผลการวิจัยและอภิปรายผล 
8 
2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
****การสารวจความคิดเห็นด้วย ข้อมูลตามตารางพบว่านักเรียนมีความ คิดเห็นต่อการเรียนบนเครือข่ายที่ พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ อยู่ใน ระดับดีมากที่สุด ( ค่าเฉลี่ย =4.63) คิด เป็นร้อยละ80 นั้นหมายถึงนักเรียนมี ความคิดเห็นต่อการเรียนบนเครือข่าย ที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง 31102คอมพิวเตอร์ โดยรวมอยู่ใน “ระดับมากที่สุด ”
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
ข้อเสนอแนะ 
9 
2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
ข้อเสนอแนะทั่วไป 
1. ควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน เช่น การ สมมุติสถานการณ์ที่เป็นปัญหาเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากสถานการณ์ที่เป็นปัญหาจริงนาไปสู่การ เรียนรู้ใหม่ๆ อย่างแท้จริง 
2. ควรมีการออกแบบตัวอักษร และกราฟิกต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับเนื้อหาในบทเรียนที่จะนาเสนอหรือ สื่อสารให้เหมาะสม 
3. ควรเพิ่มระยะเวลาในการเรียนการสอนให้พอเหมาะกับเนื้อหาและกิจกรรมในบทเรียนประกอบการ เรียนการสอนมากกว่าที่เป็นอยู่
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
ข้อเสนอแนะ 
9 
2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป 
1. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบกระบวนการเรียนการสอนที่เหมาะสมสาหรับการพัฒนาการ เรียนบนเครือข่าย 
2. ควรมีการพัฒนาการเรียนบนเครือข่ายตามแนวทฤษฎีอื่น ๆ และในรายวิชาอื่น ๆ เพื่อเป็นการขยาย แหล่งความรู้
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
Thitaporn Chobsanchon
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
nilobon66
 
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
lalidawan
 

Was ist angesagt? (20)

สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
สมาการวิจัย
สมาการวิจัยสมาการวิจัย
สมาการวิจัย
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300
 
ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)
ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)
ภาพที่ 9-4 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับย่อ (Research Summary)
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
 
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
 
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
 
สถิติที่ใช้ในงานวิทยานิพนธ์
สถิติที่ใช้ในงานวิทยานิพนธ์สถิติที่ใช้ในงานวิทยานิพนธ์
สถิติที่ใช้ในงานวิทยานิพนธ์
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 

Andere mochten auch

Andere mochten auch (13)

constructivist research
constructivist researchconstructivist research
constructivist research
 
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
 
Active Learning
Active LearningActive Learning
Active Learning
 
Bloom' Digital Taxonomy
Bloom' Digital TaxonomyBloom' Digital Taxonomy
Bloom' Digital Taxonomy
 
Applying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instructionApplying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instruction
 
Samedthailand
SamedthailandSamedthailand
Samedthailand
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
BERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATION
BERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATIONBERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATION
BERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATION
 
Cognitive tools for open ended
Cognitive tools for open endedCognitive tools for open ended
Cognitive tools for open ended
 
[Week2] databases as cognitive tools
[Week2] databases as cognitive tools[Week2] databases as cognitive tools
[Week2] databases as cognitive tools
 
575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702
 
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 

Ähnlich wie ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
Jiraporn Chaimongkol
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Lynnie1177
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
Alatreon Deathqz
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
Wichai Likitponrak
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
Krit Chanthraphrom
 

Ähnlich wie ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ (20)

201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
 
โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Title
TitleTitle
Title
 
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
เนื้อหา Addie ok
เนื้อหา Addie okเนื้อหา Addie ok
เนื้อหา Addie ok
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
บทที่1test
บทที่1testบทที่1test
บทที่1test
 

Mehr von Sathapron Wongchiranuwat

Mehr von Sathapron Wongchiranuwat (10)

Databases as cognitive tools
Databases as cognitive toolsDatabases as cognitive tools
Databases as cognitive tools
 
Aect standard 3 learning environments
Aect standard 3  learning environmentsAect standard 3  learning environments
Aect standard 3 learning environments
 
09 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv209 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv2
 
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
 
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
The 5 Major Shifts in 21st Century Information TechnologyThe 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
 
575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702
 
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
 Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
 
21st century classroom
21st century classroom21st century classroom
21st century classroom
 

ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

  • 1. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) สถาพร วงศ์จิรานุวัฒน์ นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ความเป็นมาและความสาคัญ 1 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2541 มาตรา 65 อดีตยึดที่หลักการครูผู้สอนเป็นสาคัญ การเรียนบนเครือข่าย ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ การเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
  • 3. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 2 1. เพื่อออกแบบและพัฒนาการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์)
  • 4. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ขอบเขตและข้อจากัดของการวิจัย 3 1. กลุ่มเป้าหมาย ในงานวิจัยในครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) ห้อง ม.4/2 จานวน 31 คน 2. ตัวแปรที่ศึกษาในการวิจัย 1 ) วิธีการจัดการเรียนรู้ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามตามแนว คอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2 ) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 3 ) ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
  • 5. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ขอบเขตและข้อจากัดของการวิจัย 3 3. เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย รายวิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ จานวน 4 หน่วยการเรียนรู้ได้แก่ 1 ) องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 2 ) ไวรัสคอมพิวเตอร์และการดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ 3 ) อินเทอร์เน็ต 4 ) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 4. ระยะเวลาในการศึกษาวิจัย ระยะเวลาในการทาการวิจัย 4 เดือน ระหว่าง เดือนตุลาคม 2554 ถึง เดือนมกราคม 2555
  • 6. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ คานิยามศัพท์เฉพาะ 4 1. การเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ หมายถึง รูปแบบการเรียนการสอนที่อาศัย เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต หลักในการถ่ายโอนข้อมูล เป็นรูปแบบการประยุกต์ใช้คุณสมบัติไฮเปอร์มีเดีย เข้ากับคุณสมบัติของอินเทอร์เน็ต 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้จากค่าคะแนนเฉลี่ยของการ ทาแบบทดสอบก่อนและหลัง จานวน 30 ข้อ แบบปรนัย 4 ตัวเลือก รายวิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ ที่ผู้วิจัย สร้างขึ้นเทียบเกณฑ์ 80% ของคะแนนเต็ม และมีจานวนผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80% 3. แบบสารวจความคิดเห็น หมายถึง ความคิดเห็นของผู้เรียนเกี่ยวกับผลของการเรียนบนเครือข่ายที่ พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์)
  • 7. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 5 1. ใช้เป็นแนวทางในการออกแบบและพัฒนาการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) 2. ใช้เป็นแนวทางในการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน จากการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนา ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) 3. นาความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการเรียนจากการเรียนรู้บนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติ วิสต์ วิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์)ไปพัฒนาการจัดการเรียนบนเครือข่ายให้สอดคล้องและเหมาะสมกับการจัดการเรียนการ สอนที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
  • 8. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี) 2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 3. การเรียนบนเครือข่าย 4. ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและคล้ายคลึงกับงานวิจัยที่ทา
  • 9. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิธีดาเนินการวิจัย 7 2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้รูปแบบการวิจัยแบบวิจัยที่มีกลุ่มเดียวแต่มีการวัดก่อนเรียนและหลังเรียน (One-group pre-and posttest design) O1 X O2 ดัดแปลงจาก: (ปรีชา เนาว์เย็นผล, 2540:156) เมื่อ O1 แทน การสอบก่อนเรียน X แทน การเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ O2 แทน การสอบหลังเรียน 1. รูปแบบแผนการวิจัย
  • 10. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิธีดาเนินการวิจัย 7 2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) บทเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 2) แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ จานวน 4 แผนกาเรียนรู้ 2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาวิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์ 2) แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนบนบทเรียนผ่านเครือข่าย 2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
  • 11. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิธีดาเนินการวิจัย 7 2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ วิธีดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลโดยดาเนินการทดลองตามลาดับดังนี้ 1. ขั้นเตรียม 2. ขั้นทดลอง 3. ขั้นการเก็บรวบรวมข้อมูล
  • 12. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิธีดาเนินการวิจัย 7 2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 1.วางแผนการ ปฏิบัติการ 2.ศึกษาสภาพปัญหา 3.ศึกษาเอกสารและ งานวิจัย 4.กาหนดระยะเวลา 5.เตรียม กลุ่มเป้าหมาย 6.เตรียมห้องทดลอง 7.นาบทเรียนเข้าสู่ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต 1. ขั้นเตรียม
  • 13. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิธีดาเนินการวิจัย 7 2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. ขั้นทดลอง 4.ทากิจกรรมระหว่างเรียน 3. ผู้เรียนทาการศึกษา บทเรียนบนเครือข่าย 2. แนะนาวิธีการเรียนบน เครือข่าย 1. ผู้เรียนทาแบบทดสอบ ก่อนเรียน
  • 14. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิธีดาเนินการวิจัย 7 2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 3. ขั้นการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ทาการเก็บรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับความคิดเห็นของ ผู้เรียนจากการเรียนบน เครือข่าย 2. ทาแบบทดสอบหลังเรียน รายวิชา ง 31102 คอมพิวเตอร์
  • 15. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลการวิจัยและอภิปรายผล 8 2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ *****จากค่าสถิติพื้นฐานที่แสดง คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบก่อน เรียนและหลังเรียนของกลุ่มเป้าหมาย มีค่าเฉลี่ย 18.97 และ 24.42 และมี ส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน 3.38 และ 1.67 ตามลาดับ พบว่าคะแนนเฉลี่ย ของนักเรียนหลังเรียนสูงขึ้นจาก คะแนนทดสอบก่อนเรียน นั่นคือ มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและจาก การประเมินผลการเรียนรู้ พบว่า นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80% คิดเป็น ร้อยละ 80.64%
  • 16. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลการวิจัยและอภิปรายผล 8 2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ****การสารวจความคิดเห็นด้วย ข้อมูลตามตารางพบว่านักเรียนมีความ คิดเห็นต่อการเรียนบนเครือข่ายที่ พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ อยู่ใน ระดับดีมากที่สุด ( ค่าเฉลี่ย =4.63) คิด เป็นร้อยละ80 นั้นหมายถึงนักเรียนมี ความคิดเห็นต่อการเรียนบนเครือข่าย ที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ วิชา ง 31102คอมพิวเตอร์ โดยรวมอยู่ใน “ระดับมากที่สุด ”
  • 17. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ข้อเสนอแนะ 9 2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ข้อเสนอแนะทั่วไป 1. ควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน เช่น การ สมมุติสถานการณ์ที่เป็นปัญหาเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากสถานการณ์ที่เป็นปัญหาจริงนาไปสู่การ เรียนรู้ใหม่ๆ อย่างแท้จริง 2. ควรมีการออกแบบตัวอักษร และกราฟิกต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับเนื้อหาในบทเรียนที่จะนาเสนอหรือ สื่อสารให้เหมาะสม 3. ควรเพิ่มระยะเวลาในการเรียนการสอนให้พอเหมาะกับเนื้อหาและกิจกรรมในบทเรียนประกอบการ เรียนการสอนมากกว่าที่เป็นอยู่
  • 18. ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ข้อเสนอแนะ 9 2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบกระบวนการเรียนการสอนที่เหมาะสมสาหรับการพัฒนาการ เรียนบนเครือข่าย 2. ควรมีการพัฒนาการเรียนบนเครือข่ายตามแนวทฤษฎีอื่น ๆ และในรายวิชาอื่น ๆ เพื่อเป็นการขยาย แหล่งความรู้