SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 108
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ความเป็นมา / สิทธิประโยชน์ / แนวทางดาเนินการทางวินัย
ข้าราชการและพนักงานราชการ ของ กศน.
กศน.อาเภอสรรพยา
จังหวัดชัยนาท
ความก้าวหน้า(อัตราว่าง/บรรจุและแต่งตั้ง/โยกย้าย)
ข้าราชการ(ผู้บริหาร , ครู , ศน. , บรรณารักษ์ และ ๓๘ ค(๒))
(การขอมีและเลื่อนวิทยฐานะ ว.๑๗/๒๕๕๒ และ ว.๒๑/๒๕๖๐)
ลูกจ้างประจา
พนักงานราชการ
 และวิทยฐานะสายครูสอน ว.ใหม่ล่าสุด ซึ่งมีผลเริ่มบังคับใช้
ตั้งแต่ วันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เป็นต้นไป...ว.๒๑/๒๕๖๐
 หลัก :“ครูใหม่ 5 ปี ขอ ชนก. ครูเก่าคงสิทธิ์เกณฑ์เดิม ว.๑๗
และหรือเสนอตามเกณฑ์ใหม่”
 เน้นกระบวนการพิจารณาเสนอผลงานทางวิชาการ
เพื่อขอมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยะฐานะ
- ตามเกณฑ์เก่าและใหม่ ที่ยังคงผลบังคับในปัจจุบัน
มีสองหลักเกณฑ์ ตาม ว.๑๗ /๒๕๕๒ และ ว.๒๑ /๒๕๖๐
ว.๑๗
5
จะอ้างว่าไม่รู้ กฎหมาย
และระเบียบแบบแผน ไม่ได้
มติ ค.ร.ม. วันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2497
เจ้าหน้าที่ของรัฐ
“ข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ”
6
การนับ “วัน” “วันทาการ”
“วัน” นับวันหยุดรวมด้วย
(นับเป็นประโยชน์การเสนอ/ส่งใบอนุญาตฯ)
“วันทาการ” นับวันลาเฉพาะวันทาการ
นับวันลาเฉพาะวันทาการ
ลาป่วย ลากิจส่วนตัว พักผ่อน
(นอกนั้นนับต่อเนื่อง)
ตย. ๗-๑๕ เม.ย. (๑๑-๑๔เม.ย. เป็นวันหยุดราชการ)
7
เหตุใช้อ้างพ้นความผิดวินัย มักอ้าง ผอ.สั่ง
วิธีโต้แย้งโดยชอบ
หลัก ...ทาเป็นหนังสือ เหตุผลมี ๒ องค์ประกอบ
๑) จะทาให้เสียหายแก่ รชก.
๒) จะเป็นการไม่รักษาประโยชน์ของทาง รชก.
.... ขรก.ครู ใช้ ม.๘๖ พนักงานราชการ ใช้ ม.๘๒(๔)....
 ผู้สั่ง ทบทวน ยืนยัน ปฏิบัติ
8
ครูฯ ”๔๗ ม.๘๖
9
พลเรือน”๕๑ ม.๘๒(๔)
การวินิจฉัยคาว่า “ชั่ว”
มาตรา 84
 ความรู้สึกของสังคม
 เกียรติของข้าราชการ
 เจตนาของการกระทา
พิจารณาข้อเท็จจริงเป็นรายๆ ไป ประกอบการ
วินิจฉัยข้างต้นว่าเป็นการประพฤติชั่ว หรือ ประพฤติชั่ว
อย่างร้ายแรง
กรณีทุจริตต่อหน้าที่ราชการ
1. ต้องมีหน้าที่ราชการที่จะต้อง ปฏิบัติ
2. ได้ปฏิบัติหน้าที่ราชการไป โดยมิชอบ หรือ ละเว้น การ
ปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ
3. เพื่อให้ ตนเอง หรือ ผู้อื่น ได้ประโยชน์ที่ มิควรได้
4. โดยมีเจตนา ทุจริต
พักก่อนครับ
จักราวุธ คาทวี
MR.JUKRAVUTH KUMTHAVEE
ตามกฎหมาย
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีฯ
พ.ร.บ.ประกันสังคม
พ.ร.บ.กองทุนทดแทน
พนักงานราชการ หมายถึง
บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้างโดยได้รับค่าตอบแทน
จากงบประมาณของส่วนราชการ เพื่อเป็นพนักงานของรัฐในการ
ปฏิบัติงานให้กับส่วนราชการนั้น
กรอบอัตรากาลังพนักงานราชการ ของ กศน.
รอบที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๑)
รอบที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๕)
รอบที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙)
รอบที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๓)
(ต้องปฏิบัติงานติดต่อกันมาไม่น้อยกว่า ๕ ปีบริบูรณ์ นับตั้งแต่วันเริ่มจ้าง)
ลว. ๓๐ ธ.ค. ๕๙
มติ คพร. ครั้งที่ ๕/๒๕๕๙ เมื่อวันที่ ๑๔ ธ.ค. ๕๙
- ในรอบหนึ่งปีงบประมาณ
ลาดับ ประเภทการลา พนักงานราชการ หมายเหตุ
1 การลาป่วย 30 วัน*
(3วันขึ้นไปอาจมีใบรับรองแพทย์)
*ส่วนที่เกิน 30วันได้รับเงิน
ทดแทนจากประกันสังคม
2 การลาคลอดบุตร 90 วัน* *ได้ค่าตอบแทน 45วันและ
ได้รับเงินจากประกันสังคม
3 การลากิจส่วนตัว 10 วัน* *ทอนสิทธิที่จะได้รับ
ค่าตอบแทน
4 การลาพักผ่อน
ประจาปี
10 วัน*
จ้างปีแรกไม่ครบ 6 เดือน
ลาไม่ได้/ สะสมวันลา ได้
(ฉ.2 21 ก.ค.60)
*ทอนสิทธิ ที่จะได้รับ
ค่าตอบแทน
5
การลาอุปสมบท/
ประกอบพิธีฮัจย์ 120 วัน* *ทางานมาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี
การลาเข้ารับการ *ทอนสิทธิ ที่จะได้รับ
แนวทางปฏิบัติ
• ส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาก่อนหรือในวันที่ลาหรือวันแรก
ที่มาปฏิบัติงาน
• ลาป่วย 30 วันขึ้นไป ต้องมีใบรับรองแพทย์แนบพร้อม
ใบลา ถ้าผู้บังคับบัญชาเห็นสมควร จะสั่งให้มี
ใบรับรองแพทย์ประกอบใบลากี่วันก็ได้
• ต้องได้รับอนุญาต จึงจะหยุดงานได้
• ในระหว่างลากิจส่วนตัว หากมีงานจาเป็น
เร่งด่วน ผู้บังคับบัญชาสามารถเรียกตัว
กลับมาปฏิบัติงานได้
แนวทางปฏิบัติ
• ส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาเมื่อได้รับอนุญาตแล้ว
จึงหยุดงานได้
• หากมีงานจาเป็นเร่งด่วน ผู้บังคับบัญชาสามารถ
เรียกตัวกลับมาปฏิบัติงานได้
แนวทางปฏิบัติ
• ไม่เคยลาประเภทนี้มาก่อน
• ลาได้ไม่เกิน 120 วัน แต่ต้องปฏิบัติงาน
มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี
• ส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชา ไม่น้อยกว่า 60 วัน
• เมื่อได้รับอนุญาตให้ลาแล้ว ต้องอุปสมบทหรือ
ออกเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ภายใน 10 วัน
นับแต่วันที่เริ่มลา
• ต้องกลับมารายงานตัวเข้าปฏิบัติงานภายใน 5 วัน
นับแต่วันที่ลาสิกขา
แนวทางปฏิบัติ
การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ให้แก่ พนักงานราชการ
การพิจารณาเสนอขอ
ข้อ 8 ให้พิจารณาโดยรอบคอบว่าบุคคลนั้นได้กระทาความดี
ความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชนจนถึง
ขนาดควรได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ โดยมิใช่
พิจารณาแต่เพียงตาแหน่ง ระดับ ชั้น ชั้นยศ หรือครบกาหนด
ระยะเวลาที่จะขอพระราชทานได้เท่านั้น
เพื่อให้บุคคลที่ได้รับพระราชทานรู้สึกภาคภูมิใจใน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ได้รับพระราชทานอย่างแท้จริง และเพื่อให้
เครื่องราชอิสริยาภรณ์เป็นเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง
คุณสมบัติของผู้สมควรได้รับการเสนอขอ
1. เป็นผู้มีสัญชาติไทย
2. เป็นผู้ประพฤติดีและปฏิบัติงานที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนด้วย
ความอุตสาหะ ซื่อสัตย์ และเอาใจใส่ต่อหน้าที่อย่างดียิ่ง และ
3. เป็นผู้ไม่เคยมีพระบรมราชานุญาตให้เรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์
หรือต้องโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษ
สาหรับความผิดที่ได้กระทาโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ
หลักเกณฑ์ในการเสนอขอ
พนักงาราชการ กลุ่มงานบริหารทั่วไป
จะเสนอขอ ดังนี้
5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี
วันเริ่มจ้าง
ครบ 5 ปี ก่อน 5 ธ.ค. 60 วัน
บ.ช. จ.ม. จ.ช. ต.ม.
การเสนอขอพระราชทาน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้เริ่มจาก
เครื่องราชฯ อันมีเกียรติยิ่งมงกุฎไทย
และเครื่องราชฯ อันเป็นที่ เชิดชูยิ่ง
ช้างเผือกสลับกัน โดยเลื่อนชั้นตรา
ตามลาดับจากชั้นล่างสุดจนถึงชั้น
สูงสุดตามลาดับ
เบญจมาภรณ์ช้างเผือก (บ.ช.)
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย
พนักงานราชการ พ.ศ.2547
ถือเป็นเครื่องมือสาคัญ
ในการบริหารพนักงานราชการ
59
61
เจ็บป่วย
คลอดบุตร
ทุพพลภาพ ตาย
สงเคราะห์บุตร
ชราภาพ ว่างงาน
สานักงานประกันสังคม 62
ใช้สิทธิได้เมื่อใด?
เจ็บป่วย ทุพพลภาพ
จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 3 เดือนภายใน 15 เดือน ก่อน
ป่วย-ทุพพลภาพ
คลอดบุตร จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 7 เดือนภายใน 15 เดือนก่อน
คลอด
ตาย จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 1 เดือนภายใน 6 เดือน ก่อน
ตาย
สงเคราะห์บุตร จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 12 เดือนภายใน 36 เดือน
ก่อนมีสิทธิ
ว่างงาน จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 6 เดือนภายใน 15 เดือนก่อน
การว่างงาน
เงื่อนไขการเกิดสิทธิ
63
64
1. โรคจิต ยกเว้น กรณีเฉียบพลัน ซึ่งต้องทาการรักษาในทันที และระยะเวลา
ในการรักษาไม่เกิน 15 วัน
2. โรค หรือการประสบอันตรายอันเนื่องมาจากการใช้สารเสพติด
ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติด
3. โรคเดียวกันที่ต้องใช้ระยะเวลารักษาตัวในโรงพยาบาลประเภทคนไข้ในเกิน
180 วัน ในหนึ่งปี
4. การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ยกเว้น
(ก) กรณีไตวายเฉียบพลัน ที่มีระยะเวลาการรักษาไม่เกินหกสิบวัน
(ข) กรณีเจ็บป่วยด้วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ให้มีสิทธิได้รับ
การบาบัดทดแทนไต
65
5. การกระทาใด ๆ เพื่อความสวยงามโดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
6. การรักษาที่ยังอยู่ในระหว่างการค้นคว้าทดลอง
7. การรักษาภาวะมีบุตรยาก
9. การตรวจใด ๆ ที่เกินความจาเป็นในการรักษาโรคนั้น
(ต่อ)
8. การตรวจชิ้นเนื้อเพื่อการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ
10. การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ยกเว้นการปลูกถ่ายไขกระดูก และ
การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะกระจกตา
11. การเปลี่ยนเพศ
66
12. การผสมเทียม
13. การบริการระหว่างรักษาตัวแบบฟักฟื้น
14. ทันตกรรม ยกเว้น ถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูน และ
การใส่ฟันเทียมบางส่วนชนิดถอดได้ฐานอคิริก
ตามหลักเกณฑ์ฯ
(ต่อ)
15. แว่นตา
67
1. กรณีอุบัติเหตุ
2. กรณีฉุกเฉิน
ใช้สิทธิได้ไม่จากัดจานวนครั้ง
ผู้ป่วยนอก ใช้สิทธิได้ปีละไม่เกิน 2 ครั้ง
ผู้ป่วยใน ใช้สิทธิได้ปีละไม่เกิน 2 ครั้ง
หมายเหตุ : ค่าบริการทางการแพทย์กรณีประสบอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน
ที่นาเสนอ มีผลใช้ตั้งแต่วันที่ 13 เมษายน 2548
68
เข้ารักษาที่โรงพยาบาลรัฐ
ผู้ป่วยนอก
- ค่ารักษาเท่าที่จ่ายจริง
ผู้ป่วยใน
- ค่ารักษาเท่าที่จ่ายจริง
- ค่าห้องไม่เกิน 700 บาท/วัน
- ไม่เกิน 72 ชั่วโมง
69
69
เข้ารักษาที่โรงพยาบาลเอกชน
ผู้ป่วยนอก
- สปส. รับผิดชอบค่ารักษา
ตามประกาศกาหนด
ผู้ป่วยใน
- สปส. รับผิดชอบค่ารักษา
ตามประกาศกาหนด
- ไม่เกิน 72 ชั่วโมง
70
โรงพยาบาลเอกชน
ผู้ป่วยนอก
- ค่ารักษา 1,000 บาท
- ค่าเลือด 500 บาท/Unit
- สารต้านพิษจากเชื้อบาดทะยัก 400 บาท
- วัคซีน 290 บาท เฉพาะเข็มแรก
- เซรุ่มจากม้า 1,000 บาท เฉพาะเข็มแรก
- เซรุ่มจากมนุษย์* 8,000 บาท
เฉพาะเข็มแรก
- Ultrasound 1,000 บาท
- CT Scan* 4,000 บาท
- MRI* 8,000 บาท
- ขูดมดลูก 2,500 บาท
- ค่าฟื้นคืนชีพ 4,000 บาท
- ห้องสังเกตุอาการ 200 บาท
( 3 ชั่วโมงขึ้นไป)
(* ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไข)
71
โรงพยาบาลเอกชน
ผู้ป่วยใน
- ค่ารักษา 2,000 บาท/วัน
- ค่าห้องค่าอาหาร 700 บาท/วัน
- ถ้ารักษาในห้อง ICU 4,500 บาท/วัน
- ไม่เกิน 72 ชม.
- ผ่าตัดใหญ่ < 1 ชม. 8,000 บาท
< 2 ชม. 12,000 บาท
> 2 ชม. 16,000 บาท
- ค่าฟื้นคืนชีพ 4,000 บาท
- Lab และ/หรือ X-ray 1,000 บาท
72
โรงพยาบาลเอกชน
ผู้ป่วยใน (ต่อ)
- ค่าตรวจพิเศษ.
EKG , ECG 300 บาท
Echo 1,500 บาท
คลื่นสมอง 350 บาท
Ultrasound 1,000 บาท
ค่าสวนเส้นเลือดหัวใจ 15,000 บาท
ส่องกล้อง 1,500 บาท
Intravenous 1,500 บาท
CT Scan * 4,000 บาท
MRI* 8,000 บาท
(* ต้องมีเงื่อนไขตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด )
73
- ค่ารถพยาบาล ในจังหวัดเดียวกัน 500 บาท
- ค่ารถรับจ้าง 300 บาท
- ข้ามจังหวัดเพิ่มกิโลเมตรละ 6 บาท
ค่ารถ จากโรงพยาบาลที่เข้ารักษาและโรงพยาบาลนั้น
มีความจาเป็นต้องรับหรือส่งตัว
ไปโรงพยาบาลอื่นที่ไม่ใช่โรงพยาบาลตามบัตร
74
รีบแจ้งสานักงานประกันสังคม
ในท้องที่เกิดเหตุทันที
1. สปส. จ่ายค่ารักษาตามหลักเกณฑ์เดียวกับกรณีประสบอันตราย/ฉุกเฉิน
2. กาหนดโรงพยาบาลให้แก่ผู้ประกันตนเพื่อไปใช้บริการต่อไป
จ่ายค่ารักษาไปก่อน
นาใบเสร็จฯ,ใบรับรองแพทย์
มาเบิกคืนกับสานักงานประกันสังคม
75
1. โรคมะเร็ง
2. โรคเส้นเลือดในสมองผิดปกติเป็นเหตุให้อัมพาต
3. ไตวายเรื้อรัง
4. โรคที่รักษาเกิน 180 วันติดต่อกันและในขณะเจ็บป่วย
5. โรคเอดส์*
6. กระดูกหัก (มีภาวะแทรกซ้อน)
76
77
อวัยวะเทียม
แขนเทียม ขาเทียม ลูกตาเทียม
เลนส์แก้วตาเทียม วัสดุใส่หนุนรับลูกตาเทียม
อุปกรณ์ในการบาบัดรักษาโรค
รถนั่งคนพิการ
ไม้เท้าและไม้ค้ายัน
เครื่องช่วยพูด เครื่องช่วยฟัง
ถุงเก็บสิ่งขับถ่ายจากลาไส้
ฯลฯ
กรณีทันตกรรม
( ของใหม่ ใช้ตั้งแต่วันที่ 20 ต.ค.2558 เป็นต้นไป )
กรณีทันตกรรม
( ของใหม่ ใช้ตั้งแต่วันที่ 20 ต.ค.2558 เป็นต้นไป )
( ของใหม่ ใช้ตั้งแต่วันที่ 20 ต.ค.2558 เป็นต้นไป )
ทุพพลภาพ (พิการ)
( ของใหม่ ใช้ตั้งแต่วันที่ 20 ต.ค.2558 เป็นต้นไป )
( ของใหม่ ใช้ตั้งแต่วันที่ 20 ต.ค.2558 เป็นต้นไป )
กรณีตาย ( ของใหม่ ใช้ตั้งแต่วันที่ 20 ต.ค.2558 เป็นต้นไป )
83
(กรณีผู้ประกันตนตาย)
ทายาทผู้มีสิทธิ
๑. บุตรชอบด้วยกฎหมาย ๑-๒ คนได้รับ ๒
ส่วน
๒. บุตรตั้งแต่ ๓ คนขึ้นไปได้รับ ๓ ส่วน
๓. บิดา/มารดา ๑ ส่วน
๔. สามี หรือ ภรรยา ๑ ส่วน
ได้รับเงินบาเหน็จฯ
๒.
๑. บุตร บุตร
บิดา
มารดา
สามี/
ภรรยา
บุตร บุตร
บิดา
มารดา
สามี/
ภรรยา
บุตร
( ของเดิม ยกเลิกไปแล้ว )
85
บังคับใช้ 1 มกราคม 2550
มีสิทธิเบิกค่าคลอดบุตร คนละ 2 ครั้ง
ส่งเงินสมทบ 7 เดือนภายใน 15 เดือนก่อนคลอดบุตร
 สิทธิประโยชน์ทดแทน
ผู้ประกันตนหญิง
ค่าคลอดบุตร เหมา
จ่าย 1-13,000 บาท
 เงินสงเคราะห์การหยุดงาน
เพื่อการคลอดบุตร 90 วัน
50% ของค่าจ้าง
ผู้ประกันตนชาย
 ค่าคลอดบุตร
เหมาจ่าย 13,000 บาท
ผู้ประกันตนแต่ละคนมีสิทธิ
เบิกได้ไม่เกิน 2 ครั้ง
( ของเดิม ยกเลิกไปแล้ว )
คลอดบุตร (ปัจจุบัน)
ว่างงาน
สิทธิประโยชน์ตามกฎหมายแรงงาน
1. กรณีถูกเลิกจ้าง โดยไม่มีความผิด ได้เงินกรณี
ว่างงาน 50% ของค่าจ้าง ครั้งละไม่เกิน 180 วัน
ภายใน 1 ปีปฏิทิน
2. กรณีลาออก ได้เงินกรณีว่างงาน 30% ของค่าจ้าง
ครั้งละไม่เกิน 90 วัน ภายใน 1 ปีปฏิทิน
เงื่อนไขการเกิดสิทธิกรณีว่างงาน
1. ส่งเงินกรณีว่างงาน ครบ 6 เดือน ภายใน 15
เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค.47 เป็นต้นไป
3. ขึ้นทะเบียนหางานกับสานักงานจัดหางาน
และไม่ปฏิเสธงานที่จะทา
2. ไม่ถูกเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด
4. ไม่ปฏิเสธการฝึกอาชีพ
ขั้นตอนการขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน
ผู้ประกันตน
ที่ว่างงาน
ขึ้นทะเบียนผู้ว่างงาน
ที่สานักงานจัดหางานของรัฐ
จัดหางาน
แนะแนวอาชีพ
รองาน
ได้งานใหม่
ฝึกอาชีพ
พัฒนาฝีมือ
รายงานตัว
ที่สานักงานจัดหางานที่ขึ้นทะเบียน
รับเงินทดแทนการขาดรายได้
ข้อเปรียบเทียบ
ระหว่างกองทุนประกันสังคมกับกองทุนเงินทดแทน
กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน
1. ให้ความคุ้มครองแก่ลูกจ้าง
ที่เจ็บป่วย ไม่เนื่องจาก
การทางาน การคลอดบุตร
การทุพพลภาพ การตาย
การสงเคราะหบุตร การ
ชราภาพ และการว่างงาน
1. ให้ความคุ้มครองแก่ลูกจ้าง
ที่เจ็บป่วย เนื่องจากการ
ทางาน
ข้อเปรียบเทียบ
ระหว่างกองทุนประกันสังคมกับกองทุนเงินทดแทน
กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน
2. รัฐบาล นายจ้าง และ
ลูกจ้าง ร่วมจ่ายเงิน
สมทบ
2. นายจ้างจ่ายเงินสมทบ
เพียงฝ่ายเดียว
ข้อเปรียบเทียบ
ระหว่างกองทุนประกันสังคมกับกองทุนเงินทดแทน
กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน
3. เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ที่กาหนด โดยไม่ต้องเสีย
ค่าใช้จ่าย แต่อย่างใด
(ยกเว้นโรค 16 ข้อ)
3. เงินค่ารักษาพยาบาลเท่าที่จ่าย
จริง แต่ไม่เกิน 35,000 บาท
ต่อครั้ง หากมีอาการหนัก ได้
เพิ่มอีก 50,000 บาท รวม
85,000 บาท หรือไม่เกิน
200,000 บาท
ข้อเปรียบเทียบ
ระหว่างกองทุนประกันสังคมกับกองทุนเงินทดแทน
กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน
4. ได้รับเงินทดแทนการ ขาด
รายได้ กรณีที่ต้องหยุดงาน
ในอัตราร้อยละ 50 ของ
ค่าจ้าง ครั้งละ ไม่เกิน 90
วัน ปีหนึ่ง ไม่เกิน 180
วัน
4. ได้รับเงินทดแทน ในกรณี
ที่ต้องหยุดงานในอัตรา
ร้อยละ 60 ของค่าจ้าง ไม่
เกิน 365 วัน
ข้อเปรียบเทียบ
ระหว่างกองทุนประกันสังคมกับกองทุนเงินทดแทน
กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน
5. การสูญเสียอวัยวะ ไม่ได้
ค่าสูญเสียอวัยวะ
5. กรณีสูญเสียอวัยวะ จ่าย
ให้ร้อยละ 60 ของค่าจ้าง
เป็นระยะเวลา ไม่เกิน
10 ปี
ข้อเปรียบเทียบ
ระหว่างกองทุนประกันสังคมกับกองทุนเงินทดแทน
กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน
6. กรณีทุพพภาพ ได้เงิน
ทดแทนร้อยละ 50 ของ
ค่าจ้างตลอดชีวิต และค่า
รักษาพยาบาล เดือนละไม่
เกิน 4,000 บาท ตลอด
ชีวิต
6. กรณีทุพพลภาพ ได้เงิน
ทดแทน ร้อยละ 60 ของ
ค่าจ้าง เป็นระยะเวลา ไม่
เกิน 15 ปี
ข้อเปรียบเทียบ
ระหว่างกองทุนประกันสังคมกับกองทุนเงินทดแทน
กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน
7. กรณีตาย ได้ค่าทาศพ
40,000 บาท เงิน
สงเคราะห์ ร้อยละ 50
ของค่าจ้าง คูณด้วย 3 ปี
หรือ 10 ปี
7. กรณีตาย ได้รับค่าทาศพ
100 เท่า คูณด้วยค่าจ้าง
ขั้นต่ารายวันสูงสุด
เงินทดแทนอีก ร้อยละ 60
เป็นระยะเวลา 8 ปี
สวัสดี
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า
สิ่งที่บรรยายมาทั้งหมด
จะเป็นประโยชน์แก่ทุกท่าน
- ขอบคุณครับ -

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von นายจักราวุธ คำทวี

๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๗ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๗ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๗ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๗ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๓ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๓ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๓ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๓ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๒ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๒ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๒ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๒ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
นายจักราวุธ คำทวี
 
จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
นายจักราวุธ คำทวี
 
จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
นายจักราวุธ คำทวี
 
จักราวุธ คำทวี นโยบาย จุดเน้น สำนักงาน กศน. ปี ๒๕๕๘ ท่านเลขาฯ การุณฯ ๑๗ ต.ค.๕๗
จักราวุธ คำทวี นโยบาย จุดเน้น สำนักงาน กศน. ปี ๒๕๕๘ ท่านเลขาฯ การุณฯ ๑๗ ต.ค.๕๗จักราวุธ คำทวี นโยบาย จุดเน้น สำนักงาน กศน. ปี ๒๕๕๘ ท่านเลขาฯ การุณฯ ๑๗ ต.ค.๕๗
จักราวุธ คำทวี นโยบาย จุดเน้น สำนักงาน กศน. ปี ๒๕๕๘ ท่านเลขาฯ การุณฯ ๑๗ ต.ค.๕๗
นายจักราวุธ คำทวี
 
ร่างกฎหมาย กศน.ปี ๕๘(มี.ค.)ตามข้อสั่งการ รมต.ศธ.
ร่างกฎหมาย กศน.ปี ๕๘(มี.ค.)ตามข้อสั่งการ รมต.ศธ.ร่างกฎหมาย กศน.ปี ๕๘(มี.ค.)ตามข้อสั่งการ รมต.ศธ.
ร่างกฎหมาย กศน.ปี ๕๘(มี.ค.)ตามข้อสั่งการ รมต.ศธ.
นายจักราวุธ คำทวี
 
รายชื่อสถานศึกษาตามประกาศมาตรา 23...จักราวุธ คำทวี
รายชื่อสถานศึกษาตามประกาศมาตรา 23...จักราวุธ คำทวีรายชื่อสถานศึกษาตามประกาศมาตรา 23...จักราวุธ คำทวี
รายชื่อสถานศึกษาตามประกาศมาตรา 23...จักราวุธ คำทวี
นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา ..จักราวุธ ...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา ..จักราวุธ ...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา ..จักราวุธ ...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา ..จักราวุธ ...
นายจักราวุธ คำทวี
 

Mehr von นายจักราวุธ คำทวี (20)

๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
 
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
 
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
 
ครั้งที่ ๗ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๗ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๗ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๗ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
 
ครั้งที่ ๓ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๓ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๓ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๓ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
 
ครั้งที่ ๒ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๒ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๒ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๒ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
 
จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
 
จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา ๓๘ ค(๒)
 
จักราวุธ คำทวี นโยบาย จุดเน้น สำนักงาน กศน. ปี ๒๕๕๘ ท่านเลขาฯ การุณฯ ๑๗ ต.ค.๕๗
จักราวุธ คำทวี นโยบาย จุดเน้น สำนักงาน กศน. ปี ๒๕๕๘ ท่านเลขาฯ การุณฯ ๑๗ ต.ค.๕๗จักราวุธ คำทวี นโยบาย จุดเน้น สำนักงาน กศน. ปี ๒๕๕๘ ท่านเลขาฯ การุณฯ ๑๗ ต.ค.๕๗
จักราวุธ คำทวี นโยบาย จุดเน้น สำนักงาน กศน. ปี ๒๕๕๘ ท่านเลขาฯ การุณฯ ๑๗ ต.ค.๕๗
 
ร่างกฎหมาย กศน.ปี ๕๘(มี.ค.)ตามข้อสั่งการ รมต.ศธ.
ร่างกฎหมาย กศน.ปี ๕๘(มี.ค.)ตามข้อสั่งการ รมต.ศธ.ร่างกฎหมาย กศน.ปี ๕๘(มี.ค.)ตามข้อสั่งการ รมต.ศธ.
ร่างกฎหมาย กศน.ปี ๕๘(มี.ค.)ตามข้อสั่งการ รมต.ศธ.
 
รายชื่อสถานศึกษาตามประกาศมาตรา 23...จักราวุธ คำทวี
รายชื่อสถานศึกษาตามประกาศมาตรา 23...จักราวุธ คำทวีรายชื่อสถานศึกษาตามประกาศมาตรา 23...จักราวุธ คำทวี
รายชื่อสถานศึกษาตามประกาศมาตรา 23...จักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา ..จักราวุธ ...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา ..จักราวุธ ...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา ..จักราวุธ ...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา ..จักราวุธ ...
 

ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗