SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
บันทึกสาหรับผู้ประเมินเพือสรุปผลงาน คุณงามความดี และพฤติกรรมการทางาน
                          ่
                  ของข้ าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
                (สาหรับตาแหน่ งที่มใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ)
                                   ี




                         นายณัฐพล บัวอุไร
                          เลขทีตาแหน่ ง 1058(ส)
                                ่
               เลขประจาตัวประชาชน 1-1410-00011-15-9
            สถานศึกษา โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
                 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
        สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
บันทึกสาหรับผู้ประเมินเพือสรุปผลงาน คุณงามความดีและพฤติกรรมการทางาน
                                 ่
                            ปี งบประมาณ 2552  ครั้งที่ 1                   ครั้งที่ 2

 ประวัตส่วนตัว
        ิ
      ชื่อ         นายณัฐพล                                    ชื่อสกุล บัวอุไร
      สัญชาติ ไทย                 เชื้อชาติ ไทย                ศาสนา พุทธ
      เกิดวันที่ 8 มกราคม 2529                                 เกษียณอายุราชการ ปี พ.ศ. 2589
      ทีอยู่
         ่         บ้านเลขที่ 4/2 หมู่ 6 ต.ลาดบัวหลวง อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรี อยุธยา
      โทรศัพท์ 08-2556-3998
      ชื่อบิดา นายเอกชัย บัวอุไร                               อาชีพ      รับจ้าง
      ชื่อมารดา นางสายพิณ มากธรรม                              อาชีพ      ค้าขาย
      สถานะ        โสด
      เริ่มรับราชการตาแหน่ ง ครู ผช่วย
                                   ู้                          ระดับ      ครู ผช่วย ขั้น 8,700
                                                                               ู้
                                                               เลขทีตาแหน่ ง 1058 (ส)
                                                                     ่
      สังกัด       สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
      เมือวันที่ 18 พฤษภาคม 2552
           ่

บันทึกสรุปความเห็นเกียวกับผลงานและคุณงามความดี
                     ่
(ผูประเมินนาข้อมูลจากบันทึกนี้ไปประกอบการประเมินผลการปฏิบติงาน ตาม ว 5/2544 ใน 2 องค์ประกอบคือ ผลงาน
    ้                                                         ั
และคุณลักษณะการปฏิบติงาน และใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน แต่งตั้ง พัฒนา หรื อเรื่ องบริ หารงานบุคคล
                       ั
อื่นๆ) ฃ
(ให้ผบงคับบัญชาเหนือขึ้นไป เป็ นผูสรุ ปความเห็น และให้ผบงคับบัญชาเหนือขึ้นไปอีก 1 ระดับ เป็ นผูลงนาม)
      ู้ ั                        ้                    ู้ ั                                    ้

                                                 ่
1. ผลงานสาคัญที่โดดเด่นที่ทาสาเร็ จหรื อเกิดผลดีตอ         1. เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยน เพื่อเข้าแข่งขันการออกแบบบรรจุ
ราชการหรื อประชาชน                                         ภัณฑ์ดวยโปรแกรม Pro/DESKTOP ช่วงชั้นที่ 3 ได้รับ
                                                                   ้
                                                   ่
(ระบุผลงานที่ทาสาเร็ จในช่วงประเมินซึ่งเกิดผลดีตอภารกิจ    รางวัลเหรี ยญเงิน
ของสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ส่วนราชการ         2. เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยน เพื่อเข้าแข่งขันการออกแบบบรรจุ
หรื อต่อประชาชนตามที่เห็นสมควร)                            ภัณฑ์ดวยโปรแกรม Pro/DESKTOP ช่วงชั้นที่ 4 ได้รับ
                                                                     ้
                                                           รางวัลเหรี ยญทองแดง
                                                           3. เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยนเพื่อเข้าแข่งขันรายการ “การ
                                                           แข่งขันระบบปฏิบติการลินุกซ์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10”
                                                                               ั
                                                           โดยนักเรี ยนที่ส่งเข้าแข่งขันผ่านเข้าสู่รอบที่สองต่อไป (การ
                                                           แข่งขันยังไม่สิ้นสุด)
                                                           4. พัฒนาเว็บไซต์โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูก
                                                           กา เพื่อเป็ นแหล่งสาหรับประชาสัมพันธ์โรงเรี ยน และเพื่อ
                                                           เป็ นจุดศูนย์รวมนักเรี ยนในการแลกเปลี่ยนความรู ้
5. พัฒนาระบบสารสนเทศโรงเรี ยน เก็บรวบรวมสารสนเทศ
                                                     ของโรงเรี ยนไว้อย่างเป็ นระบบ เพื่อนามาวิเคราะห์และ
                                                     วางแผนนโยบายของโรงเรี ยนต่อไป
2. คุณงามความดี หรื อพฤติกรรม สาคัญที่ปฏิบติและเกิด
                                          ั          1. สร้างแผนการเรี ยนรู ้รายวิชา ง 31101 เทคโนโลยี
ประโยชน์ต่อราชการ หรื อประชาชน                       สารสนเทศ ด้วยตนเอง เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพนักเรี ยน
(ระบุพฤติกรรมหรื อคุณงามความดีที่ขาราชการปฏิบติและ ในโรงเรี ยน
                                   ้            ั
เกิดประโยชน์ต่อราชการหรื อประชาชน)                   2. ตรวจสอบ ติดตาม ดูแลนักเรี ยนที่ได้รับหน้าที่เป็ นครู ที่
                                                     ปรึ กษา ด้วยการขอทุนอาหารกลางวัน หาเงินช่วยเหลือใน
                                                     กรณี ที่ผปกครองเสี ยชีวต และส่งนักเรี ยนที่ติดยาเสพติดไป
                                                              ู้                   ิ
                                                     บาบัดรักษา
                                                     3. การประพฤติปฏิบติตนตามระเบียบวินยของข้าราชการครู
                                                                             ั                 ั
                                                     อย่างเคร่ งครัด และยึดถือจรรยาบรรณวิชาชีพครู ในการ
                                                     ประกอบกอบวิชาชีพ
                                                     4. แนะแนวความรู ้ในการประกอบอาชีพ การเรี ยนต่อ
                                                                         ั
                                                     การศึกษาต่อให้กบนักเรี ยนที่สนใจและนักเรี ยนในระดับชั้น
                                                     ที่ได้สอน
3. ความรู ้ ความสามารถ คุณลักษณะที่สาคัญ และการพัฒนา 1. ศึกษาตัวอย่างงานวิจยเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อนามา
                                                                                 ั
รายบุคคล                                             ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนในชั้นเรี ยน
(ระบุคุณลักษณะการปฏิบติงานที่สาคัญ เช่น ชอบปฏิบติงาน 2. จัดการเรี ยนการสอนโดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ โดยให้
                         ั                        ั
ศึกษาค้นคว้าและพัฒนาเรื่ องใหม่ๆ และระบุผลสาเร็ จและ ความสาคัญกับสิ่ งที่นกเรี ยนสนใจและนาสิ่ งที่นกเรี ยนสนใจ
                                                                               ั                      ั
สิ่ งที่ควรพัฒนารายบุคคล                             นั้นมาพัฒนา ศึกษา และส่งเสริ มนักเรี ยนให้ได้รับความรู ้
                                                     เพิมเติมต่อไป เช่น นักเรี ยนที่สนใจระบบปฏิบติการลินุกซ์
                                                         ่                                          ั
                                                     ก็ได้จดการเรี ยนและพัฒนาเป็ นรายบุคคลนอกเวลาเรี ยน
                                                            ั
                                                     และส่งนักเรี ยนเข้าแข่งขันในรายการต่างๆ เพื่อเพิ่ม
                                                                           ั
                                                     ประสบการณ์ให้กบนักเรี ยน
                                                     3. จัดการเรี ยนการสอนแบบโครงงาน โดยสอนให้นกเรี ยน   ั
                                                     สามารถปฏิบติ และสร้างชิ้นงานได้ โดยให้นกเรี ยนนา
                                                                     ั                            ั
                                                     ความรู ้ที่ได้จากการเรี ยนในห้องเรี ยน นาไปสร้างชิ้นงาน
                                                     ตามที่ตนเองสนใน และนามานาเสนอที่หน้าชั้นเรี ยน เพื่อให้
                                                     เกิดการเรี ยนรู ้ร่วมกัน
สมุดบันทึก
ผลงานและคุณงามความดีของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
        (สาหรับตาแหน่ งที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ)




                       นายณัฐพล บัวอุไร
                        เลขทีตาแหน่ ง 1058(ส)
                              ่
             เลขประจาตัวประชาชน 1-1410-00011-15-9
          สถานศึกษา โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
               สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ข้ อมูลบุคคล

ข้ อมูลบุคคลของข้ าราชการเจ้ าของบันทึกประวัติ

 ประวัติส่วนตัว
    ชื่อ         นายณัฐพล                                    ชื่อสกุล บัวอุไร
    สัญชาติ ไทย                 เชื้อชาติ ไทย                ศาสนา พุทธ
    เกิดวันที่ 8 มกราคม 2529                                 เกษียณอายุราชการ ปี พ.ศ. 2589
    ทีอยู่
       ่         บ้านเลขที่ 4/2 หมู่ 6 ต.ลาดบัวหลวง อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรี อยุธยา
    โทรศัพท์ 08-2556-3998
    ชื่อบิดา นายเอกชัย บัวอุไร                               อาชีพ      รับจ้าง
    ชื่อมารดา นางสายพิณ มากธรรม                              อาชีพ      ค้าขาย
    สถานะ        โสด
    เริ่มรับราชการตาแหน่ ง ครู ผช่วย
                                 ู้                          ระดับ      ครู ผช่วย ขั้น 8,700
                                                                             ู้
                                                             เลขทีตาแหน่ ง 1058 (ส)
                                                                   ่
    สังกัด       สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2
    เมือวันที่ 18 พฤษภาคม 2552
         ่


 ประวัติทางการศึกษา
      ลาดับ                                                                                 ปี ทีจบ
                                                                                                 ่
                     ระดับการศึกษา                         ชื่อสถานศึกษา                              หมายเหตุ
        ที่                                                                                การศึกษา
       1.      ประถมศึกษาปี ที่ 6            โรงเรี ยนวัดอินทอารี                         พ.ศ. 2540
        2.     มัธยมศึกษาปี ที่ 3            โรงเรี ยนมัธยมผดุงวิทยา                      พ.ศ. 2543
        3.     มัธยมศึกษาปี ที่ 6            โรงเรี ยนปทุมวิไล                            พ.ศ. 2546
        4.     ปริ ญญาตรี                    มหาวิทยาลัยศิลปากร                           พ.ศ. 2550
        5.     ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู       มหาวิทยาลัยศิลปากร                           พ.ศ. 2551
               วิทยาศาสตร์
 ประวัติการเลือนขั้นเงินเดือน
               ่
                                                                    เลขที่
  วัน เดือน ปี             ตาแหน่ ง / โรงเรียน                                          ระดับ       ขั้น          หมายเหตุ
                                                                   ตาแหน่ ง
                 ครู ผช่วย : โรงเรี ยน
                       ู้                                          1058(ส)            ครู ผช่วย
                                                                                           ู้        -           บรรจุเข้ารับ
 18 พ.ค. 2552
                 เตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา                                                                 ราชการ


 รางวัลหรือสิ่ งเชิ ดชู เกียรติและคุณงามความดีความชอบอืน ๆ ทีได้ รับ (ถ้ ามี)
                                                        ่     ่
 ลาดับ     วัน/เดือน/ปี                     รายการ                            รางวัลทีได้ รับ
                                                                                      ่                    หน่ วยงาน
   ที่
   1   27 – 28 ส.ค. 2552       เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยน               เหรี ยญเงิน                 สานักงานเขตพื้นที่
       (2 วัน)                 เพื่อเข้าแข่งขันการออกแบบ                                          การศึกษาปทุมธานี เขต 2
                               บรรจุภณฑ์ดวยโปรแกรม
                                        ั ้
                               Pro/DESKTOP ช่วงชั้นที่ 3
   2       27 – 28 ส.ค. 2552   เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยน               เหรี ยญทองแดง               สานักงานเขตพื้นที่
           (2 วัน)             เพื่อเข้าแข่งขันการออกแบบ                                          การศึกษาปทุมธานี เขต 2
                               บรรจุภณฑ์ดวยโปรแกรม
                                         ั ้
                               Pro/DESKTOP ช่วงชั้นที่ 4
   3       5 ก.ย. 2552         เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยนเพื่อเข้า      เกียรติบตรและผ่าน
                                                                              ั                   สานักงานพัฒนา
           (1 วัน)             แข่งขันรายการ “การแข่งขัน              เข้ารอบที่สอง               วิทยาศาสตร์และ
                               ระบบปฏิบติการลินุกซ์แห่ง
                                            ั                         (รอบที่สองแข่งขันวันที่     เทคโนโลยีแห่งชาติ
                               ประเทศไทย”                             16 – 18 ต.ค. 2552)          (สวทช.)
บันทึกผลงานและคุณงามความดี
1. บันทึกผลงานทีได้ ดาเนินการปี งบประมาณ 2552  ครั้งที่ 1  ครั้งที่ 2
                ่

     1.1 บันทึกผลงานที่ได้ ปฏิบัติตามหน้ าที่ความรับผิดชอบ ซึ่งดาเนิ นการสาเร็ จตามที่ได้ รับมอบหมาย ทั้งนี้ จะระบุ
รายละเอียดเป็ นตัวชี้วด ผลผลิต ผลลัพธ์ และแสดงถึงประโยชน์ ในการนาไปใช้ ด้วยก็ได้
                       ั
            จัดการเรี ยนการสอนใน 3 รายวิชา ได้แก่
               - วิชาระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (ง 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/1 และ 2/2
               - วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง 31101) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/4, 4/5 และ 4/6
               - วิชาระบบงานสื่ อผสม (ง 31204) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/6
               - วิชาหนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ (ง 31205) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/6
                 รวมจานวนชัวโมงที่สอน/สัปดาห์
                                  ่                            17      ชัวโมง/สัปดาห์
                                                                         ่
            ปฏิบติหน้าที่ครู ที่ปรึ กษาชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/1 มีจานวนนักเรี ยนทั้งหมด 51 คน
                     ั
            กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนที่รับผิดชอบ
               - กิจกรรมชุมนุมคอมพิวเตอร์เพื่อชีวต   ิ                 จานวน 1 ชัวโมง/สัปดาห์
                                                                                   ่
               - กิจกรรมระดับ ม.1-2                                    จานวน 1 ชัวโมง/สัปดาห์
                                                                                     ่
               - กิจกรรมลูกเสื อ-เนตรนารี                              จานวน 1 ชัวโมง/สัปดาห์
                                                                                       ่
   ผลงานตามหน้ าที่                                                                                     ประโยชน์ ในการ
                                    ตัวชี้วด
                                           ั                  ผลผลิต                     ผลลัพธ์
    ความรับผิดชอบ                                                                                           นาไปใช้
ด้า นการจัด การเรี ย น 1 . มี ค ว า ม รู ้ ค ว า ม 1. แผนการจั ด การ 1. นักเรี ยนมี                1. นาไปปรับปรุ ง
การสอน                   เข้าใจหลักสูตร            เรี ยนรู ้                ผลสัมฤทธิ์ทางการ      กระบวนการจัดการ
                         2. มี ทัก ษะในการจัด 2. เอกสาร                      เรี ยนผ่านเกณฑ์การ    เรี ยนการสอนให้มี
                         กิ จ กรรมการเรี ยนรู ้ ประกอบการเรี ยนการ ประเมินร้อยละ 95                ประสิ ทธิภาพมากขึ้น
                         ตามความสนใจของ สอน                                  ขึ้นไป                โดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ น
                         ผูเ้ รี ยน                3. รายงานผลการ            2. นักเรี ยนมีคุณธรรม สาคัญ
                         3. จั ด การเรี ยนการ ปฏิบติการสอน
                                                         ั                   จริ ยธรรมและ          2. ปรับปรุ งแผนการ
                         สอนโดยเน้ น ผู ้เ รี ยน 4. ชิ้นงานที่ได้จาก         คุณลักษณะอันพึง       สอนให้มีความ
                         เป็ นสาคัญ                การปฏิบติของผูเ้ รี ยน ประสงค์โดยผ่าน
                                                               ั                                   เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน
                         4. ใช้ เ ทคโนโลยี ใ น                               เกณฑ์การประเมิน       แต่ละประเภท
                         การจัด การเรี ยนการ                                 ร้อยละ 100            3. มีสื่อการเรี ยนการ
                         สอน                                                                       สอนที่สามารถ
                         5. มีการศึ กษาค้นคว้า                                                     นาไปใช้ได้จริ งและมี
                         พั ฒ นาตนเอง และ                                                          คุณภาพ
                         จัด ท างานวิ จัย ในชั้น
                         เรี ยนอย่างสม่าเสมอ
ผลงานตามหน้ าที่                                                                                            ประโยชน์ ในการ
                                 ตัวชี้วด
                                        ั                  ผลผลิต                     ผลลัพธ์
  ความรับผิดชอบ                                                                                                  นาไปใช้
                       6. เตรี ยมการสอน ทา
                       แผนการสอน และ
                       ปฏิ บั ติ ต ามแผนการ
                       สอนที่กาหนดไว้
ด้านการปฏิ บัติหน้าที่ 1. มี การศึ กษาผูเ้ รี ย น   1. นักเรี ยนมีคุณธรรม     1. นักเรี ยนมีคุณธรรม        1. นักเรี ยนมีคุณธรรม
เป็ นครู ที่ปรึ กษา    เป็ นรายบุคคล                จริ ยธรรม และ             จริ ยธรรม และ                จริ ยธรรม และ
                       2. มีการอบรมสั่งสอน          คุณลักษณะอันพึง           คุณลักษณะอันพึง              คุณลักษณะอันพึง
                       นักเรี ย นอย่างใกล้ชิ ด      ประสงค์                   ประสงค์                      ประสงค์มากขึ้น มี
                       ช่ วยเหลื อแนะนาเมื่ อ       2. นักเรี ยนส่วนใหญ่มี    2. นักเรี ยนส่วนใหญ่มี       ความรับผิดชอบด้าน
                       นักเรี ยนมีปัญหา             ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการ       ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการ          การเรี ยน และงานที่
                       3. จัดทาระบบดูแล             เรี ยนผ่ า นเกณฑ์ ก าร    เรี ยนผ่านทุกรายวิชา         ได้รับมอบหมาย
                       ช่วยเหลือนักเรี ยน           ประเมิน                   3. นักเรี ยนมีความสุ ข       ตั้งใจเรี ยนและเข้าร่ วม
                       กากับดูแลและติดตาม           3. ลดปั ญหานักเรี ยนที่   กับการเรี ยน                 กิจกรรมต่างๆ ของ
                       นักเรี ยนอย่าง               มีปัญหายาเสพติด           4. นัก เรี ย นปลอดภัย        โรงเรี ยน
                       สม่าเสมอ                     ครอบครัว และ              และไม่ ยุ่ง เกี่ ย วกับ ยา
                       3. สร้างความสัมพันธ์         การเงิน                   เสพติด การพนัน และ
                       อันดีระหว่างครู กบ   ั                                 การทะเลาะวิวาทย์
                       ผูปกครองเพื่อช่วยกัน
                          ้
                       ดูแลนักเรี ยนอย่าง
                       ต่อเนื่อง
ด้านกิจกรรมลุกเสื อ – 1. จัดกิจกรรมให้              1. สมาชิกลูกเสื อ –       1. สมาชิกลูกเสื อและ         1. มีลูกเสื อ – เนตร
เนตรนารี               สมาชิกลูกเสื อ – เนตร                  ่
                                                    เนตรนารี ผานการ           เนตรนารี ได้รับการ           นารี ที่กระทาตนให้
                       นารี ได้เรี ยนรู ้ตรงตาม     ประเมินผลการจัด           ส่งเสริ มด้าน                เป็ นประโยชน์ต่อ
                       เป้ าหมายการจัด              กิจกรรมร้อยละ 100         คุณลักษณะอันพึง              โรงเรี ยนและสังคม
                       กิจกรรม                      2. สมาชิกลูกเสื อ –       ประสงค์                      2. มีสมาชิกลูกเสื อ
                       2. ส่ งเสริ มและพัฒนา        เนตรนารี มี               2. สมาชิกลูกเสื อ –          และเนตรนารี เป็ น
                       ศัก ยภาพของผู ้เ รี ยน       ความสามารถในการ           เนตรนารี มี                  อาสาสมัครช่วยเหลือ
                       ด้านกิ จกรรมเต็มตาม          ทางานร่ วมกัน มี          ความสามารถในการ              กิจกรรมต่างๆ ใน
                       ศักยภาพ                      คุณธรรม จริ ยธรรม         ทางานเป็ นหมูคณะ มี          โรงเรี ยนและชุมชน
                                                    ตรงตามที่กาหนด            ความรับผิดชอบ มี
                                                    และมีความประพฤติ          ระเบียบวินยในตนเอง
                                                                                          ั
                                                    ตามคุณลักษณะอันพึง        มากขึ้น
                                                    ประสงค์ทุกประการ
ผลงานตามหน้ าที่                                                                            ประโยชน์ ในการ
                               ตัวชี้วด
                                      ั                ผลผลิต                  ผลลัพธ์
   ความรับผิดชอบ                                                                                    นาไปใช้
กิ จ ก ร ร ม ชุ ม นุ ม 1. นักเรี ยนทีเรี ยนใน   1. นักเรี ยนมีทกษะใน 1. นักเรี ยนมีความสุข 1. นักเรี ยนสามารถใช้
                                                               ั
คอมพิวเตอร์เพื่อชีวต กิจกรรมชุมนุม
                   ิ                            การใช้คอมพิวเตอร์      ที่ได้ร่วมกิจกรรม   คอมพิวเตอร์
                       สามารถนาความรู ้ที่      เพื่องานอาชีพและ       และเรี ยนกิจกรรม    สร้างสรรค์ชิ้นงาน
                       ได้รับจากการเรี ยน       สร้างชิ้นงาน           ชุมนุมคอมพิวเตอร์   เพื่อเป็ นแนวทางใน
                       กิจกรรมชุมนุมไปใช้       2. นักเรี ยนมีความรู ้ เพื่อชีวติ          การประกอบอาชีพ
                       ให้เกิดประโยชน์กบ    ั   ความสามารถในการ 2. นักเรี ยนเห็นคุณค่า 2. เพื่อทักษะการ
                       ชีวตประจาวัน
                           ิ                    ใช้คอมพิวเตอร์         ประโยชน์ ของการใช้ ทางานร่ วมกับผูอื่น
                                                                                                            ้
                       2. นักเรี ยนมีทกษะใน
                                        ั       3. นักเรี ยนสามารถ     คอมพิวเตอร์ และการ
                       การใช้คอมพิวเตอร์        สร้างชิ้นงานได้ดวย สร้างสรรค์ชิ้นงาน
                                                                 ้
                       เพื่อทางานหรื อ          ตนเอง                  ด้วยคอมพิวเตอร์
                       ประกอบอาชีพมาก
                       ยิงขึ้น
                         ่
                       3. นักเรี ยนใช้
                       คอมพิวเตอร์ในทางที่
                       สร้างสรรค์และเกิด
                       ประโยชน์

2. บันทึกผลงานทีได้รับมอบหมายพิเศษ (ถ้ ามี) โดยระบุเป็ นตัวชี้วด ผลผลิต ผลลัพธ์ และประโยชน์ ในการนาไปใช้ ด้วย
                ่                                              ั
ก็ได้
    1. รับผิดชอบเว็บไซต์โรงเรี ยน พัฒนาเว็บไซต์โรงเรี ยนใหม่ โดยได้ปรับปรุ งข้อมูลของโรงเรี ยน ข้อมูลครู -อาจารย์
       ข้อมูลนักเรี ยน ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรี ยนให้เป็ นปั จจุบน เพื่อให้ผสนใจ หรื อผูที่
                                                                                            ั          ู้          ้
       ติดตามข่าวสารของโรงเรี ยน ได้รับข่าวสารที่เป็ นปัจจุบน ทันต่อเหตุการณ์หรื อกิจกรรมต่างๆ ที่ทางโรงเรี ยนจะ
                                                            ั
       จัดทาขึ้น
    2. รับผิดชอบหัวหน้างานระบบสารสนเทศโรงเรี ยน เก็บรวมรวมข้อมูลต่างๆ ของโรงเรี ยน ทั้งข้อมูลอาคาร สถานที่
       บุคลากร นักเรี ยน ให้เป็ นปั จจุบน และเผยแพร่ สารสนเทศที่จดทาสู่ผปกครอง ชุมชน และโรงเรี ยนใกล้เคียง
                                        ั                        ั        ู้
                                                              ั
       ปรับปรุ งข้อมูลข่าวสาร และข้อมูลสารสนเทศอื่นๆ ให้กบทางสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานีเขต 2 และ
       สานักงานการจัดการมัธยมศึกษา ศูนย์ที่ 3 ปทุมธานี – สระบุรี
    3. เป็ นหัวหน้ากิจกรรมผจญภัย ในการจัดกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมของลูกเสื อ – เนตรนารี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ทา
       หน้าที่สารวจฐานกิจกรรมต่างๆ วางแผนการจัดกิจกรรม การดาเนินการจัดกิจกรรม การจัดผูกากับลูกเสื อ เพื่อ
                                                                                               ้
       ประจาฐานกิจกรรมต่างๆ และสรุ ปกิจกรรม
    4. เป็ นกรรมการในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรี ยน เช่น กิจกรรมวันไหว้ครู กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ กิจกรรม
       ตลาดนัดอาชีพ กิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ (คอมพิวเตอร์)
    5. รับผิดชอบการจัดทาแผนสรุ ปงานหรื อโครงการต่างๆ (PDCA) ให้กบกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
                                                                        ั
3. สรุ ปผลงานที่เห็นว่ าโดดเด่ นหรื อผลงานสาคัญที่ปฏิบัติได้ ในช่ วงนี้ จากที่บันทึกไว้ ไม่ เกิน 6 ผลงาน (กรณีที่มีผลงาน
สาคัญเกินกว่ า 6 ผลงาน ก็ให้ สรุปและจัดเรียงลาดับไว้ ได้ )
    1. เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยนเพื่อเข้าแข่งขันทักษะทางวิชาการ (คอมพิวเตอร์) ในการแข่งขันการออกแบบบรรจุภณฑ์          ั
         ด้วยโปรแกรม Pro/DESKTOP ช่วงชั้นที่ 3 ได้รับรางวัลเหรี ยญเงิน
    2. เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยนเพื่อเข้าแข่งขันทักษะทางวิชาการ (คอมพิวเตอร์) ในการแข่งขันการออกแบบบรรจุภณฑ์        ั
         ด้วยโปรแกรม Pro/DESKTOP ช่วงชั้นที่ 4 ได้รับรางวัลเหรี ยญทองแดง
    3. เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยนเพื่อเข้าแข่งขันรายการ “การแข่งขันระบบปฏิบติการลินุกซ์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 ”
                                                                              ั
         หรื อ The National Linux Competition 10th ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ได้รับรางวัลเกียรติบตรและผ่าน
                                                                                                           ั
         เข้าสู่รอบที่สองต่อไป

          1.2 บันทึกพฤติกรรมทีเ่ ป็ นคุณงามความดี ปี งบประมาณ 2552  ครั้งที่ 1  ครั้งที่ 2
            วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการบั น ทึ กนี้ เพื่ อ ให้ เ ป็ นไปตามเจตนารมณ์ ข องวาระแห่ งชาติ ด้ า นจริ ยธรรม
ธรรมาภิบาล และการป้ องกันการทุจริ ตและประพฤติมิชอบในราชการตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 19 ธันวาคม 2549 ที่
ต้องการส่งเสริ มให้ขาราชการได้ประพฤติสิ่งที่เป็ นคุณงามความดีในราชการให้ดียงขึ้นไป และสร้างกาลังใจแก่ขาราชการที่
                         ้                                                              ิ่                                 ้
ได้ประพฤติดงกล่าว โดยให้ผบงคับบัญชานาไปประกอบการพิจารณา เรื่ องการบริ หารงานบุคคลต่อไป ดังนั้น ข้าราชการ
                  ั              ู้ ั
จึ ง บัน ทึ ก พฤติ ก รรม หรื อ เหตุ ก ารณ์ ส าคัญ ในการปฏิ บัติ ร าชการที่ เ ป็ นคุ ณ งามความดี ท้ ัง ระดับ ที่ ไ ด้ป ฏิ บัติ ต ามวินัย
จรรยาบรรณ งานในหน้าที่ หรื อตามที่ ส่วนราชการกาหนดก็ได้ หรื อระดับที่ เกิ ดคุ ณค่าหรื อคุ ณงามความดี ที่เป็ นผลต่อ
ข้าราชการ ประชาชน หรื อส่วนราชการ หรื อผลสัมฤทธิ์ของทางราชการต่อไปอีกก็ได้

 กรอบการประพฤติปฏิบัตของข้ าราชการครู
                      ิ                                 ระบุพฤติกรรมหรือเหตุการณ์ สาคัญทีท่านได้ ประพฤติดี ประพฤติชอบ
                                                                                              ่
  และบุคลากรทางการศึกษาทีเ่ ป็ นคุณงาม                    ตามวินัยและจรรยาบรรณ ทีได้ รับปฏิบัตจนเกิดผลดีหรือเกิดคุณงาม
                                                                                      ่          ิ
               ความดี                                   ความดีต่อข้ าราชการ และประชาชนหรือเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อทางราชการ
                                                                    ระดับใดก็ได้ หรือตามทีส่วนราชการกาหนดก็ได้
                                                                                            ่
1. ปฏิบัตตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู
           ิ                                                              ่
                                                      1. ประพฤติตนอยูในระเบียบวินยของโรงเรี ยนและสังคมอย่างเคร่ งครัด
                                                                                        ั
   1.1 จรรยาบรรณต่ อตนเอง                             2. มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบและซื่ อ ตรง ต่ อ การปฏิ บัติ ห น้ า ที่ โดยยึ ด ถื อ
   (มีวนยในตนเอง พัฒนาตนเอง ด้านวิชาชีพ
       ิ ั                                            ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นต่อส่วนรวมเป็ นสาคัญ
บุคลิกภาพ และวิสยทัศน์ ให้ทนต่อการพัฒนา
                ั          ั                          3. ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ ดีในการดาเนิ นชี วิต ตามประเพณี และ
ทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่            วัฒนธรรมไทย เช่น ยกมือไหว้ครู ที่อาวุโสกว่าตามวัฒนธรรมไทย เพื่อ
เสมอ)                                                                       ั
                                                      เป็ นแบบอย่างให้กบผูเ้ รี ยน
                                                      4. ปฏิบติงานที่ได้รับมอบหมายได้สาเร็ จมีคุณภาพตามเป้ าหมายที่กาหนด
                                                                ั
                                                            ิ ั                           ั                         ั
                                                      5. มีวนยในตนเอง ประพฤติปฏิบติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีให้กบผูเ้ รี ยน
กรอบการประพฤติปฏิบัตของข้ าราชการครู
                      ิ                                 ระบุพฤติกรรมหรือเหตุการณ์ สาคัญทีท่านได้ ประพฤติดี ประพฤติชอบ
                                                                                              ่
  และบุคลากรทางการศึกษาทีเ่ ป็ นคุณงาม                   ตามวินัยและจรรยาบรรณ ทีได้ รับปฏิบัตจนเกิดผลดีหรือเกิดคุณงาม
                                                                                       ่         ิ
               ความดี                                   ความดีต่อข้ าราชการ และประชาชนหรือเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อทางราชการ
                                                                     ระดับใดก็ได้ หรือตามทีส่วนราชการกาหนดก็ได้
                                                                                           ่
                                                      6. ดาเนิ นชี วิตอย่างเหมาะสม ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง รู ้จกใช้
                                                                                                                      ั
                                                      จ่ายเงินอย่างประหยัด ไม่ฟมเฟื อย หลีกเลี่ยงอบายมุขทุกชนิด
                                                                                   ุ่

   1.2 จรรยาบรรณต่ อวิชาชีพ                               1. เป็ นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู รักและศรัทธาในวิชาชีพครู โดย
   (รั ก ศรั ท ธา ซื่ อ สัต ย์สุ จ ริ ต รั บ ผิ ด ชอบต่ อ คานึ งอยู่เสมอว่าอาชี พครู คืออาชีพที่มีเกี ยรติและเป็ นผูสร้างบุคลากรที่ ดี
                                                                                                                    ้
วิชาชีพ และเป็ นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ) และมีคุณภาพทั้งด้านความรู ้และคุณธรรม
                                                          2. รั บผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายอย่างเคร่ งครั ด โดยคานึ งถึ ง
                                                          คุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย และความถูกต้อง
                                                          3. ตั้งใจอบรมสั่งสอนศิ ษย์ทุกคนด้วยความตั้งใจ ด้วยการจัดทาแผนการ
                                                          สอนเป็ นรายชัวโมง ติดตามดูแลนักเรี ยนที่อยูในกลุ่มเสี่ ยง และอบรมสั่ง
                                                                        ่                                   ่
                                                          สอนศิษย์โดยเน้นที่คุณธรรม จริ ยธรรมเป็ นหลัก
                                                                                                          ั
                                                          3. ใฝ่ หาความรู ้เพิมเติมเพื่อนามาถ่ายทอดให้กบศิษย์ ด้วยการสื บค้นข้อมูล
                                                                             ่
                                                          ทางอินเตอร์ เน็ต การหาความรู ้ จากตาราต่างๆ และการอบรมสัมมนาที่
                                                          ทางโรงเรี ยนและหน่วยงานต่างๆ จัดขึ้น

    1.3 จรรยาบรรณต่ อผู้รับบริการ                     1. อบรมสังสอนศิษย์ทุกคนด้วยความตั้งใจ และเท่าเทียมกัน ไม่แบ่งแยก
                                                                  ่
    (รั ก เมตตา เอาใจใส่ ช่ วยเหลื อ ส่ งเสริ ม ให้   ว่าศิษย์คนใดจะเรี ยนเก่งหรื อไม่เก่ง ให้ความรู ้และวิทยาการแก่ศิษย์อย่าง
ก าลังใจแก่ ศิ ษย์ และผูรั บบริ การ ตามบทบาท
                        ้                             เต็มความสามารถ
หน้าที่ โดยเสมอหน้า ส่ งเสริ มให้เกิ ดการเรี ยนรู ้   2. ส่งเสริ มให้ศิษย์เกิดการเรี ยนรู ้ดวยตนเอง สร้างเสริ มทักษะกระบวนการ
                                                                                            ้
ทักษะและนิ สัยที่ ถู กต้องดี งามแก่ ศิ ษย์ และรั บ        ิ                             ั
                                                      ชีวต และพัฒนาองค์ความรู ้ให้กบศิษย์ไปพร้อมๆ กับการปลูกฝังคุณธรรม
บริ การตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ             จริ ยธรรม
ด้วยความบริ สุทธิ์ ใจ ประพฤติปฏิ บติตน เป็ น
                                        ั                                       ั
                                                      3. เป็ นแบบอย่างที่ดีให้กบศิษย์ทุกคน ได้แก่ การมาตรงต่อเวลา การแสดง
แบบอย่างที่ ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิ ตใจ ไม่          ความเคารพครู อาจารย์ที่มีความอาวุโสกว่า การรักษาความสะอาด
กระท าตนเป็ นปฏิ ปั กษ์ต่อความเจริ ญทางกาย            4. หมันหาความรู ้ ความเจริ ญทางกาย วาจา ใจ ปฏิบติงานและหน้าที่ดวย
                                                              ่                                               ั            ้
สติ ปัญญา จิ ตใจ อารมณ์ และสังคมของศิ ษย์             อารมณ์แจ่มใส จริ งใจ และเสมอภาค
และผูรับบริ การ และให้บริ การด้วยความจริ งใจ
        ้
และเสมอภาค โดยไม่ เ รี ย กรั บ หรื อ ยอมรั บ
ผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่ งหน้าที่ โดยมิ
ชอบ)
กรอบการประพฤติปฏิบัตของข้ าราชการครู
                      ิ                    ระบุพฤติกรรมหรือเหตุการณ์ สาคัญทีท่านได้ ประพฤติดี ประพฤติชอบ
                                                                                     ่
  และบุคลากรทางการศึกษาทีเ่ ป็ นคุณงาม       ตามวินัยและจรรยาบรรณ ทีได้ รับปฏิบัตจนเกิดผลดีหรือเกิดคุณงาม
                                                                          ่              ิ
               ความดี                      ความดีต่อข้ าราชการ และประชาชนหรือเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อทางราชการ
                                                       ระดับใดก็ได้ หรือตามทีส่วนราชการกาหนดก็ได้
                                                                             ่
   1.4 จรรยาบรรณต่ อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ 1. ทางานร่ วมกับเพื่อนร่ วมกันอย่างเต็มที่ ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่ งกันและกัน
   (ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่าง  ยึดมันในระบบงานที่มีคุณธรรม
                                               ่
สร้างสรรค์ โดยยึดมันในระบบคุณธรรม สร้าง 2. ท างานด้ว ยความสามัค คี และช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ นร่ วมกัน ทุ ก ครั้ งที่ เ กิ ด
                     ่
ความสามัคคีในหมู่คณะ)                    ปั ญหา
                                         3. ให้คาแนะนา ที่เป็ นประโยชน์ต่อเพื่อนร่ วมงาน เช่น ความรู ้ที่ได้รับจาก
                                         การเข้ารับการอบรม แนวทางการปฏิบติงานที่ดี หรื อวิธีการทางานที่ช่วย
                                                                                   ั
                                         ให้การทางานราบรื่ น รวดเร็ ว และถูกต้อง
                                         4. มี น้ าใจกับเพื่อ นร่ วมงานทุ กคน เอื้ อเฟื้ อเผื่อ แผ่ และให้ความเคารพ
                                         เพื่อนร่ วมงาน

    1.5 จรรยาบรรณต่ อสังคม                         1. ปฏิ บติตนเป็ นผูนาในการปฏิ บติตามปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง ดารง
                                                              ั         ้               ั
    (ประพฤติปฏิบติตนเป็ นผูนาในการอนุรักษ์
                    ั         ้                    รักษาวัฒนธรรมไทย ภาษาไทย ด้วยการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง ภูมิใจและ
แ ล ะ พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม ศ า ส น า   ส่ งเสริ มให้นักเรี ยนได้เห็ นคุ ณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่ น วัฒนธรรมใน
ศิ ล ปวัฒนธรรม ภู มิปั ญญา สิ่ งแวดล้อม รั กษา     ท้องถิ่น รักษาผลประโยชน์ของประเทศชาติ
ผลประโยชน์ ของส่ วนรวม และยึดมั่นในการ             2. ช่วยตรวจสอบ และเชิญชวนให้นกเรี ยนช่วยกันประหยัด ทั้งในด้านเงิน
                                                                                          ั
ป ก ค ร อ ง ร ะ บ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย อั น มี   ทอง สิ่ งของ รวมทั้งสาธารณูปโภคต่าง ๆได้แก่ น้ า ไฟฟ้ า ด้วยการใช้น้ า
พระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข)
                 ์                                 อย่างประหยัด ปิ ดไฟและพัดลมในห้องเรี ยนทุกครั้งที่ออกจากห้อง
                                                   3. ร่ วมงานกิ จ กรรมวัน ส าคัญ ต่ า งๆ บ าเพ็ ญ ประโยชน์ ปฏิ บั ติ ต าม
                                                   กฎระเบียบวินย กฎหมายบ้านเมือง ยึดถือในคุณธรรมและเป็ นตัวอย่างที่ดี
                                                                  ั
                                                   แก่ศิษย์
                                                   4. ยึดมันในการปกครองระบบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรง
                                                            ่                                                         ์
                                                   เป็ นประมุข ด้วยการปฏิบติหน้าที่ การเป็ นข้าราชการอย่างเคร่ งครัด และ
                                                                                ั
                                                   รักษาสิ ทธิ์ในการเลือกตั้งทุกครั้ง
กรอบการประพฤติปฏิบตของข้ าราชการครู และบุคลากร
                    ั ิ                             ระบุพฤติกรรมหรือเหตุการณ์ สาคัญทีท่านได้ ประพฤติดี
                                                                                           ่
         ทางการศึกษาทีเ่ ป็ นคุณงามความดี          ประพฤติชอบ ตามวินัยและจรรยาบรรณ ทีได้ รับปฏิบัตจน
                                                                                               ่           ิ
                                                  เกิดผลดีหรือเกิดคุณงามความดีต่อข้ าราชการ และประชาชน
                                                   หรือเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อทางราชการระดับใดก็ได้ หรือตามที่
                                                                         ส่ วนราชการกาหนดก็ได้
2. การประพฤติ การปฏิบัตตนตามงานในหน้ าทีความ
                       ิ                ่         1. ปฏิ บัติการสอนด้วยความความรั บ ผิดชอบ เต็มใจ เต็ม
รับผิดชอบ                                         กาลังความสามารถ ทาให้นักเรี ยนสามารถ อ่านออก เขียน
                                                  ได้ คิดเลขได้
                                                  2. ติดตามนักเรี ยนที่ มีปัญหาด้านการเรี ยนอย่างต่อเนื่ อง ทา
                                                  ให้ ล ดปั ญ หาผลการเรี ย นตกต่ า สามารถเพิ่ ม ผลสั ม ฤทธิ์
                                                  ทางการเรี ยนได้
                                                  3. ปฏิบติหน้าที่ ดวยความเสี ยสละ ทั้งเวลา แรงกายและทุน
                                                           ั           ้
                                                  ทรัพย์
                                                  4. ปฏิ บัติ ง านที่ ไ ด้รั บ มอบหมายด้ว ยความตั้ง ใจละเอี ย ด
                                                  รอบคอบ ผลงานที่ได้มีคุณภาพดีเป็ นที่พอใจ


3. พฤติกรรมการทาคุณงามความดีอนๆ ทีส่วนราชการ
                             ่ื ่                 1. แต่งเครื่ องแบบข้าราชการในวันที่โรงเรี ยนกาหนด
กาหนดตามลักษณะงานของตนหรือทีมมติคณะรัฐมนตรี
                               ่ ี                                                   ั
                                                  2. ส่งข้อมูลสารสนเทศโรงเรี ยนให้กบเขตพื้นที่การศึกษา
กาหนด                                             ตามกาหนดเวลา
2. หลักสู ตรอบรมและสัมมนาทีทางราชการมอบหมายให้ ไปเข้ าอบรมและสัมมนา รวมทั้งข้ อเสนอการพัฒนาทีต้องการ
                           ่                                                                 ่
วัน/เดือน/ปี         ชื่ อหลักสู ตร                                  สถานทีจัด
                                                                           ่                    หน่ วยงานทีจัด
                                                                                                           ่
13 ก.ค. 2552         ประชุมเชิงปฏิบติการผูรับผิดชอบงาน
                                   ั      ้                          โรงเรี ยนหอวัง ปทุมธานี
                                                                                       ศูนย์ประสานงานการ
(1 วัน)              สารสนเทศของโรงเรี ยน                                              จัดการมัธยมศึกษาศูนย์ที่
                                                                                       3 (ปทุมธานี สระบุรี)
25 – 26 ก.ค. 2552    อบรมหลักสูตรการผลิตสื่ อการสอนประเภท    โรงเรี ยนสายปั ญญารังสิ ต สานักงานเขตพื้นที่
(2 วัน)              เกมส์ ด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซล (MS.                           การศึกษาปทุมธานี เขต 2
                     Excel)
4 – 5 ส.ค. 2552      อบรมเชิงปฏิบติการ การใช้โปรแกรม
                                   ั                         ห้องคอมพิวเตอร์ 4         โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษา
(2 วัน)              คอมพิวเตอร์เพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยใช้  โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษา พัฒนาการ ลาลูกกา
                     โปรแกรม Pro/DESKTOP                     พัฒนาการ ลาลูกกา
7 - 8 ส.ค. 2552      อบรมการใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ปในการ       ห้องปฏิบติการ
                                                                       ั               คณะวิทยาศาสตร์และ
(2 วัน)              วิเคราะห์ขอมูลสถิติข้ นต้นและขั้นสูง
                                ้          ั                 คอมพิวเตอร์ SC1912 ชั้น เทคโนโลยี มหาวิทยาลัย
                                                             9 คณะวิทยาศาสตร์และ ราชมงคลธัญบุรี
                                                             เทคโนโลยี มหาวิทยาลัย
                                                             ราชมงคลธัญบุรี
22 ส.ค. 2552         การอบรมจัดทาข้อมูลรายงานการจาแนก        ห้องประชุม โรงเรี ยนธัญ สานักงานเขตพื้นที่
(1 วัน)              สถานะสถานศึกษาเพื่อดารงความเข้มแข็งใน รัตน์ อ.ธัญบุรี             การศึกษาปทุมธานี เขต 2
                     การป้ องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน      จ.ปทุมธานี
                     สถานศึกษา
15 - 16 ก.ย. 2552    การอบรมเชิงปฏิบติการโครงการพัฒนาระบบ ห้องประชุม โรงเรี ยนธัญ ศูนย์ประสานงานการ
                                        ั
(2 วัน)              สารสนเทศของศูนย์ประสานงานการจัดการ      รัตน์ อ.ธัญบุรี           จัดการมัธยมศึกษาศูนย์ที่
                     มัธยมศึกษาศูนย์ที่ 3 (ปทุมธานี สระบุรี) จ.ปทุมธานี                3 (ปทุมธานี สระบุรี)

3. สิ่งทีต้องการพัฒนาเพือนาไปจัดทาแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล
         ่                ่
        การจัดทาแผนการเรี ยนรู ้รายบุคคล ให้เหมาะสมกับนักเรี ยนที่มีความสามารถในการเรี ยนรู ้ต่างกันในชั้นเรี ยน โดย
            การอบรมเชิงปฏิบติการ ในช่วงปิ ดภาคเรี ยน
                              ั
        กระบวนการจัดทาวิจยในชั้นเรี ยน เพื่อพัฒนากระบวนการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนให้มีประสิทธิภาพ โดยการอบรมเชิง
                                 ั
            ปฏิบติการ ให้ครู อาจารย์ได้ทดลองเขียนรายงานหรื อตัวอย่างวิจยในชั้นเรี ยนแบบย่อ โดยจัดการอบรมในช่วงเปิ ด
                ั                                                      ั
            ภาคเรี ยนปกติ
        กระบวนการจัดการเรี ยนการสอนให้น่าสนใจในรายวิชาของคอมพิวเตอร์ โดยการใช้วธีการสอนแบบต่างๆ
                                                                                            ิ
4. ความเห็นหรือข้ อเสนอแนะ พัฒนาปรับปรุงงานอืนๆ (ถ้ ามี)                           ่
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................

                                                                                             ลงชื่อข้าราชการผูบนทึก..............................................................
                                                                                                              ้ ั
                                                                                                                                (นายณัฐพล บัวอุไร)
                                                                                                                            วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2552



ความเห็นชอบผู้บงคับบัญชาเหนือขึนไป
                            ั                            ้
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................

                                                                                                             ลงชื่อ.........................................................
                                                                                                                          (นายปรี ชา กล่ารัศมี)
                                                                                                      ผูอานวยการโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา
                                                                                                        ้
                                                                                                              วันที่.......... เดือน....................... พ.ศ. .......

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีAon Narinchoti
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555Nattapon
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงานแบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงานWeerachat Martluplao
 
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55Sircom Smarnbua
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555Teacher Sophonnawit
 
Sarครูโต้
Sarครูโต้Sarครูโต้
Sarครูโต้wichsitb
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57Weerachat Martluplao
 
รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตารายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตาMontree Jareeyanuwat
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54Montree Jareeyanuwat
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วยบันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วยpuyhihi
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553Sircom Smarnbua
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556เทวัญ ภูพานทอง
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53saenphinit
 

Was ist angesagt? (19)

สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดี
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงานแบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
 
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
Sarครูโต้
Sarครูโต้Sarครูโต้
Sarครูโต้
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
 
รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตารายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
 
Sar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตรSar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตร
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วยบันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
บันทึกนำเสนอครูผู้ช่วย
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53
 

Ähnlich wie บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552

บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีMontree Jareeyanuwat
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพratchadaphun
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...Napadon Yingyongsakul
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 

Ähnlich wie บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 (20)

บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
Work Strategy
Work StrategyWork Strategy
Work Strategy
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 

Mehr von Nattapon

About Python
About PythonAbout Python
About PythonNattapon
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีNattapon
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorNattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8Nattapon
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potNattapon
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meNattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationNattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์มใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์มNattapon
 

Mehr von Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์มใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
 

บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552

  • 1. บันทึกสาหรับผู้ประเมินเพือสรุปผลงาน คุณงามความดี และพฤติกรรมการทางาน ่ ของข้ าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (สาหรับตาแหน่ งที่มใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ) ี นายณัฐพล บัวอุไร เลขทีตาแหน่ ง 1058(ส) ่ เลขประจาตัวประชาชน 1-1410-00011-15-9 สถานศึกษา โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. บันทึกสาหรับผู้ประเมินเพือสรุปผลงาน คุณงามความดีและพฤติกรรมการทางาน ่ ปี งบประมาณ 2552  ครั้งที่ 1  ครั้งที่ 2  ประวัตส่วนตัว ิ ชื่อ นายณัฐพล ชื่อสกุล บัวอุไร สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ เกิดวันที่ 8 มกราคม 2529 เกษียณอายุราชการ ปี พ.ศ. 2589 ทีอยู่ ่ บ้านเลขที่ 4/2 หมู่ 6 ต.ลาดบัวหลวง อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรี อยุธยา โทรศัพท์ 08-2556-3998 ชื่อบิดา นายเอกชัย บัวอุไร อาชีพ รับจ้าง ชื่อมารดา นางสายพิณ มากธรรม อาชีพ ค้าขาย สถานะ โสด เริ่มรับราชการตาแหน่ ง ครู ผช่วย ู้ ระดับ ครู ผช่วย ขั้น 8,700 ู้ เลขทีตาแหน่ ง 1058 (ส) ่ สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 เมือวันที่ 18 พฤษภาคม 2552 ่ บันทึกสรุปความเห็นเกียวกับผลงานและคุณงามความดี ่ (ผูประเมินนาข้อมูลจากบันทึกนี้ไปประกอบการประเมินผลการปฏิบติงาน ตาม ว 5/2544 ใน 2 องค์ประกอบคือ ผลงาน ้ ั และคุณลักษณะการปฏิบติงาน และใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน แต่งตั้ง พัฒนา หรื อเรื่ องบริ หารงานบุคคล ั อื่นๆ) ฃ (ให้ผบงคับบัญชาเหนือขึ้นไป เป็ นผูสรุ ปความเห็น และให้ผบงคับบัญชาเหนือขึ้นไปอีก 1 ระดับ เป็ นผูลงนาม) ู้ ั ้ ู้ ั ้ ่ 1. ผลงานสาคัญที่โดดเด่นที่ทาสาเร็ จหรื อเกิดผลดีตอ 1. เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยน เพื่อเข้าแข่งขันการออกแบบบรรจุ ราชการหรื อประชาชน ภัณฑ์ดวยโปรแกรม Pro/DESKTOP ช่วงชั้นที่ 3 ได้รับ ้ ่ (ระบุผลงานที่ทาสาเร็ จในช่วงประเมินซึ่งเกิดผลดีตอภารกิจ รางวัลเหรี ยญเงิน ของสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ส่วนราชการ 2. เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยน เพื่อเข้าแข่งขันการออกแบบบรรจุ หรื อต่อประชาชนตามที่เห็นสมควร) ภัณฑ์ดวยโปรแกรม Pro/DESKTOP ช่วงชั้นที่ 4 ได้รับ ้ รางวัลเหรี ยญทองแดง 3. เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยนเพื่อเข้าแข่งขันรายการ “การ แข่งขันระบบปฏิบติการลินุกซ์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10” ั โดยนักเรี ยนที่ส่งเข้าแข่งขันผ่านเข้าสู่รอบที่สองต่อไป (การ แข่งขันยังไม่สิ้นสุด) 4. พัฒนาเว็บไซต์โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูก กา เพื่อเป็ นแหล่งสาหรับประชาสัมพันธ์โรงเรี ยน และเพื่อ เป็ นจุดศูนย์รวมนักเรี ยนในการแลกเปลี่ยนความรู ้
  • 3. 5. พัฒนาระบบสารสนเทศโรงเรี ยน เก็บรวบรวมสารสนเทศ ของโรงเรี ยนไว้อย่างเป็ นระบบ เพื่อนามาวิเคราะห์และ วางแผนนโยบายของโรงเรี ยนต่อไป 2. คุณงามความดี หรื อพฤติกรรม สาคัญที่ปฏิบติและเกิด ั 1. สร้างแผนการเรี ยนรู ้รายวิชา ง 31101 เทคโนโลยี ประโยชน์ต่อราชการ หรื อประชาชน สารสนเทศ ด้วยตนเอง เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพนักเรี ยน (ระบุพฤติกรรมหรื อคุณงามความดีที่ขาราชการปฏิบติและ ในโรงเรี ยน ้ ั เกิดประโยชน์ต่อราชการหรื อประชาชน) 2. ตรวจสอบ ติดตาม ดูแลนักเรี ยนที่ได้รับหน้าที่เป็ นครู ที่ ปรึ กษา ด้วยการขอทุนอาหารกลางวัน หาเงินช่วยเหลือใน กรณี ที่ผปกครองเสี ยชีวต และส่งนักเรี ยนที่ติดยาเสพติดไป ู้ ิ บาบัดรักษา 3. การประพฤติปฏิบติตนตามระเบียบวินยของข้าราชการครู ั ั อย่างเคร่ งครัด และยึดถือจรรยาบรรณวิชาชีพครู ในการ ประกอบกอบวิชาชีพ 4. แนะแนวความรู ้ในการประกอบอาชีพ การเรี ยนต่อ ั การศึกษาต่อให้กบนักเรี ยนที่สนใจและนักเรี ยนในระดับชั้น ที่ได้สอน 3. ความรู ้ ความสามารถ คุณลักษณะที่สาคัญ และการพัฒนา 1. ศึกษาตัวอย่างงานวิจยเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อนามา ั รายบุคคล ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนในชั้นเรี ยน (ระบุคุณลักษณะการปฏิบติงานที่สาคัญ เช่น ชอบปฏิบติงาน 2. จัดการเรี ยนการสอนโดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ โดยให้ ั ั ศึกษาค้นคว้าและพัฒนาเรื่ องใหม่ๆ และระบุผลสาเร็ จและ ความสาคัญกับสิ่ งที่นกเรี ยนสนใจและนาสิ่ งที่นกเรี ยนสนใจ ั ั สิ่ งที่ควรพัฒนารายบุคคล นั้นมาพัฒนา ศึกษา และส่งเสริ มนักเรี ยนให้ได้รับความรู ้ เพิมเติมต่อไป เช่น นักเรี ยนที่สนใจระบบปฏิบติการลินุกซ์ ่ ั ก็ได้จดการเรี ยนและพัฒนาเป็ นรายบุคคลนอกเวลาเรี ยน ั และส่งนักเรี ยนเข้าแข่งขันในรายการต่างๆ เพื่อเพิ่ม ั ประสบการณ์ให้กบนักเรี ยน 3. จัดการเรี ยนการสอนแบบโครงงาน โดยสอนให้นกเรี ยน ั สามารถปฏิบติ และสร้างชิ้นงานได้ โดยให้นกเรี ยนนา ั ั ความรู ้ที่ได้จากการเรี ยนในห้องเรี ยน นาไปสร้างชิ้นงาน ตามที่ตนเองสนใน และนามานาเสนอที่หน้าชั้นเรี ยน เพื่อให้ เกิดการเรี ยนรู ้ร่วมกัน
  • 4. สมุดบันทึก ผลงานและคุณงามความดีของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา (สาหรับตาแหน่ งที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ) นายณัฐพล บัวอุไร เลขทีตาแหน่ ง 1058(ส) ่ เลขประจาตัวประชาชน 1-1410-00011-15-9 สถานศึกษา โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 5. ข้ อมูลบุคคล ข้ อมูลบุคคลของข้ าราชการเจ้ าของบันทึกประวัติ  ประวัติส่วนตัว ชื่อ นายณัฐพล ชื่อสกุล บัวอุไร สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ เกิดวันที่ 8 มกราคม 2529 เกษียณอายุราชการ ปี พ.ศ. 2589 ทีอยู่ ่ บ้านเลขที่ 4/2 หมู่ 6 ต.ลาดบัวหลวง อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรี อยุธยา โทรศัพท์ 08-2556-3998 ชื่อบิดา นายเอกชัย บัวอุไร อาชีพ รับจ้าง ชื่อมารดา นางสายพิณ มากธรรม อาชีพ ค้าขาย สถานะ โสด เริ่มรับราชการตาแหน่ ง ครู ผช่วย ู้ ระดับ ครู ผช่วย ขั้น 8,700 ู้ เลขทีตาแหน่ ง 1058 (ส) ่ สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 เมือวันที่ 18 พฤษภาคม 2552 ่  ประวัติทางการศึกษา ลาดับ ปี ทีจบ ่ ระดับการศึกษา ชื่อสถานศึกษา หมายเหตุ ที่ การศึกษา 1. ประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดอินทอารี พ.ศ. 2540 2. มัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรี ยนมัธยมผดุงวิทยา พ.ศ. 2543 3. มัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนปทุมวิไล พ.ศ. 2546 4. ปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2550 5. ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2551 วิทยาศาสตร์
  • 6.  ประวัติการเลือนขั้นเงินเดือน ่ เลขที่ วัน เดือน ปี ตาแหน่ ง / โรงเรียน ระดับ ขั้น หมายเหตุ ตาแหน่ ง ครู ผช่วย : โรงเรี ยน ู้ 1058(ส) ครู ผช่วย ู้ - บรรจุเข้ารับ 18 พ.ค. 2552 เตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ราชการ  รางวัลหรือสิ่ งเชิ ดชู เกียรติและคุณงามความดีความชอบอืน ๆ ทีได้ รับ (ถ้ ามี) ่ ่ ลาดับ วัน/เดือน/ปี รายการ รางวัลทีได้ รับ ่ หน่ วยงาน ที่ 1 27 – 28 ส.ค. 2552 เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยน เหรี ยญเงิน สานักงานเขตพื้นที่ (2 วัน) เพื่อเข้าแข่งขันการออกแบบ การศึกษาปทุมธานี เขต 2 บรรจุภณฑ์ดวยโปรแกรม ั ้ Pro/DESKTOP ช่วงชั้นที่ 3 2 27 – 28 ส.ค. 2552 เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยน เหรี ยญทองแดง สานักงานเขตพื้นที่ (2 วัน) เพื่อเข้าแข่งขันการออกแบบ การศึกษาปทุมธานี เขต 2 บรรจุภณฑ์ดวยโปรแกรม ั ้ Pro/DESKTOP ช่วงชั้นที่ 4 3 5 ก.ย. 2552 เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยนเพื่อเข้า เกียรติบตรและผ่าน ั สานักงานพัฒนา (1 วัน) แข่งขันรายการ “การแข่งขัน เข้ารอบที่สอง วิทยาศาสตร์และ ระบบปฏิบติการลินุกซ์แห่ง ั (รอบที่สองแข่งขันวันที่ เทคโนโลยีแห่งชาติ ประเทศไทย” 16 – 18 ต.ค. 2552) (สวทช.)
  • 7. บันทึกผลงานและคุณงามความดี 1. บันทึกผลงานทีได้ ดาเนินการปี งบประมาณ 2552  ครั้งที่ 1  ครั้งที่ 2 ่ 1.1 บันทึกผลงานที่ได้ ปฏิบัติตามหน้ าที่ความรับผิดชอบ ซึ่งดาเนิ นการสาเร็ จตามที่ได้ รับมอบหมาย ทั้งนี้ จะระบุ รายละเอียดเป็ นตัวชี้วด ผลผลิต ผลลัพธ์ และแสดงถึงประโยชน์ ในการนาไปใช้ ด้วยก็ได้ ั  จัดการเรี ยนการสอนใน 3 รายวิชา ได้แก่ - วิชาระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (ง 22101) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/1 และ 2/2 - วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง 31101) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/4, 4/5 และ 4/6 - วิชาระบบงานสื่ อผสม (ง 31204) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/6 - วิชาหนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ (ง 31205) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/6 รวมจานวนชัวโมงที่สอน/สัปดาห์ ่ 17 ชัวโมง/สัปดาห์ ่  ปฏิบติหน้าที่ครู ที่ปรึ กษาชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/1 มีจานวนนักเรี ยนทั้งหมด 51 คน ั  กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนที่รับผิดชอบ - กิจกรรมชุมนุมคอมพิวเตอร์เพื่อชีวต ิ จานวน 1 ชัวโมง/สัปดาห์ ่ - กิจกรรมระดับ ม.1-2 จานวน 1 ชัวโมง/สัปดาห์ ่ - กิจกรรมลูกเสื อ-เนตรนารี จานวน 1 ชัวโมง/สัปดาห์ ่ ผลงานตามหน้ าที่ ประโยชน์ ในการ ตัวชี้วด ั ผลผลิต ผลลัพธ์ ความรับผิดชอบ นาไปใช้ ด้า นการจัด การเรี ย น 1 . มี ค ว า ม รู ้ ค ว า ม 1. แผนการจั ด การ 1. นักเรี ยนมี 1. นาไปปรับปรุ ง การสอน เข้าใจหลักสูตร เรี ยนรู ้ ผลสัมฤทธิ์ทางการ กระบวนการจัดการ 2. มี ทัก ษะในการจัด 2. เอกสาร เรี ยนผ่านเกณฑ์การ เรี ยนการสอนให้มี กิ จ กรรมการเรี ยนรู ้ ประกอบการเรี ยนการ ประเมินร้อยละ 95 ประสิ ทธิภาพมากขึ้น ตามความสนใจของ สอน ขึ้นไป โดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ น ผูเ้ รี ยน 3. รายงานผลการ 2. นักเรี ยนมีคุณธรรม สาคัญ 3. จั ด การเรี ยนการ ปฏิบติการสอน ั จริ ยธรรมและ 2. ปรับปรุ งแผนการ สอนโดยเน้ น ผู ้เ รี ยน 4. ชิ้นงานที่ได้จาก คุณลักษณะอันพึง สอนให้มีความ เป็ นสาคัญ การปฏิบติของผูเ้ รี ยน ประสงค์โดยผ่าน ั เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน 4. ใช้ เ ทคโนโลยี ใ น เกณฑ์การประเมิน แต่ละประเภท การจัด การเรี ยนการ ร้อยละ 100 3. มีสื่อการเรี ยนการ สอน สอนที่สามารถ 5. มีการศึ กษาค้นคว้า นาไปใช้ได้จริ งและมี พั ฒ นาตนเอง และ คุณภาพ จัด ท างานวิ จัย ในชั้น เรี ยนอย่างสม่าเสมอ
  • 8. ผลงานตามหน้ าที่ ประโยชน์ ในการ ตัวชี้วด ั ผลผลิต ผลลัพธ์ ความรับผิดชอบ นาไปใช้ 6. เตรี ยมการสอน ทา แผนการสอน และ ปฏิ บั ติ ต ามแผนการ สอนที่กาหนดไว้ ด้านการปฏิ บัติหน้าที่ 1. มี การศึ กษาผูเ้ รี ย น 1. นักเรี ยนมีคุณธรรม 1. นักเรี ยนมีคุณธรรม 1. นักเรี ยนมีคุณธรรม เป็ นครู ที่ปรึ กษา เป็ นรายบุคคล จริ ยธรรม และ จริ ยธรรม และ จริ ยธรรม และ 2. มีการอบรมสั่งสอน คุณลักษณะอันพึง คุณลักษณะอันพึง คุณลักษณะอันพึง นักเรี ย นอย่างใกล้ชิ ด ประสงค์ ประสงค์ ประสงค์มากขึ้น มี ช่ วยเหลื อแนะนาเมื่ อ 2. นักเรี ยนส่วนใหญ่มี 2. นักเรี ยนส่วนใหญ่มี ความรับผิดชอบด้าน นักเรี ยนมีปัญหา ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการ การเรี ยน และงานที่ 3. จัดทาระบบดูแล เรี ยนผ่ า นเกณฑ์ ก าร เรี ยนผ่านทุกรายวิชา ได้รับมอบหมาย ช่วยเหลือนักเรี ยน ประเมิน 3. นักเรี ยนมีความสุ ข ตั้งใจเรี ยนและเข้าร่ วม กากับดูแลและติดตาม 3. ลดปั ญหานักเรี ยนที่ กับการเรี ยน กิจกรรมต่างๆ ของ นักเรี ยนอย่าง มีปัญหายาเสพติด 4. นัก เรี ย นปลอดภัย โรงเรี ยน สม่าเสมอ ครอบครัว และ และไม่ ยุ่ง เกี่ ย วกับ ยา 3. สร้างความสัมพันธ์ การเงิน เสพติด การพนัน และ อันดีระหว่างครู กบ ั การทะเลาะวิวาทย์ ผูปกครองเพื่อช่วยกัน ้ ดูแลนักเรี ยนอย่าง ต่อเนื่อง ด้านกิจกรรมลุกเสื อ – 1. จัดกิจกรรมให้ 1. สมาชิกลูกเสื อ – 1. สมาชิกลูกเสื อและ 1. มีลูกเสื อ – เนตร เนตรนารี สมาชิกลูกเสื อ – เนตร ่ เนตรนารี ผานการ เนตรนารี ได้รับการ นารี ที่กระทาตนให้ นารี ได้เรี ยนรู ้ตรงตาม ประเมินผลการจัด ส่งเสริ มด้าน เป็ นประโยชน์ต่อ เป้ าหมายการจัด กิจกรรมร้อยละ 100 คุณลักษณะอันพึง โรงเรี ยนและสังคม กิจกรรม 2. สมาชิกลูกเสื อ – ประสงค์ 2. มีสมาชิกลูกเสื อ 2. ส่ งเสริ มและพัฒนา เนตรนารี มี 2. สมาชิกลูกเสื อ – และเนตรนารี เป็ น ศัก ยภาพของผู ้เ รี ยน ความสามารถในการ เนตรนารี มี อาสาสมัครช่วยเหลือ ด้านกิ จกรรมเต็มตาม ทางานร่ วมกัน มี ความสามารถในการ กิจกรรมต่างๆ ใน ศักยภาพ คุณธรรม จริ ยธรรม ทางานเป็ นหมูคณะ มี โรงเรี ยนและชุมชน ตรงตามที่กาหนด ความรับผิดชอบ มี และมีความประพฤติ ระเบียบวินยในตนเอง ั ตามคุณลักษณะอันพึง มากขึ้น ประสงค์ทุกประการ
  • 9. ผลงานตามหน้ าที่ ประโยชน์ ในการ ตัวชี้วด ั ผลผลิต ผลลัพธ์ ความรับผิดชอบ นาไปใช้ กิ จ ก ร ร ม ชุ ม นุ ม 1. นักเรี ยนทีเรี ยนใน 1. นักเรี ยนมีทกษะใน 1. นักเรี ยนมีความสุข 1. นักเรี ยนสามารถใช้ ั คอมพิวเตอร์เพื่อชีวต กิจกรรมชุมนุม ิ การใช้คอมพิวเตอร์ ที่ได้ร่วมกิจกรรม คอมพิวเตอร์ สามารถนาความรู ้ที่ เพื่องานอาชีพและ และเรี ยนกิจกรรม สร้างสรรค์ชิ้นงาน ได้รับจากการเรี ยน สร้างชิ้นงาน ชุมนุมคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็ นแนวทางใน กิจกรรมชุมนุมไปใช้ 2. นักเรี ยนมีความรู ้ เพื่อชีวติ การประกอบอาชีพ ให้เกิดประโยชน์กบ ั ความสามารถในการ 2. นักเรี ยนเห็นคุณค่า 2. เพื่อทักษะการ ชีวตประจาวัน ิ ใช้คอมพิวเตอร์ ประโยชน์ ของการใช้ ทางานร่ วมกับผูอื่น ้ 2. นักเรี ยนมีทกษะใน ั 3. นักเรี ยนสามารถ คอมพิวเตอร์ และการ การใช้คอมพิวเตอร์ สร้างชิ้นงานได้ดวย สร้างสรรค์ชิ้นงาน ้ เพื่อทางานหรื อ ตนเอง ด้วยคอมพิวเตอร์ ประกอบอาชีพมาก ยิงขึ้น ่ 3. นักเรี ยนใช้ คอมพิวเตอร์ในทางที่ สร้างสรรค์และเกิด ประโยชน์ 2. บันทึกผลงานทีได้รับมอบหมายพิเศษ (ถ้ ามี) โดยระบุเป็ นตัวชี้วด ผลผลิต ผลลัพธ์ และประโยชน์ ในการนาไปใช้ ด้วย ่ ั ก็ได้ 1. รับผิดชอบเว็บไซต์โรงเรี ยน พัฒนาเว็บไซต์โรงเรี ยนใหม่ โดยได้ปรับปรุ งข้อมูลของโรงเรี ยน ข้อมูลครู -อาจารย์ ข้อมูลนักเรี ยน ข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรี ยนให้เป็ นปั จจุบน เพื่อให้ผสนใจ หรื อผูที่ ั ู้ ้ ติดตามข่าวสารของโรงเรี ยน ได้รับข่าวสารที่เป็ นปัจจุบน ทันต่อเหตุการณ์หรื อกิจกรรมต่างๆ ที่ทางโรงเรี ยนจะ ั จัดทาขึ้น 2. รับผิดชอบหัวหน้างานระบบสารสนเทศโรงเรี ยน เก็บรวมรวมข้อมูลต่างๆ ของโรงเรี ยน ทั้งข้อมูลอาคาร สถานที่ บุคลากร นักเรี ยน ให้เป็ นปั จจุบน และเผยแพร่ สารสนเทศที่จดทาสู่ผปกครอง ชุมชน และโรงเรี ยนใกล้เคียง ั ั ู้ ั ปรับปรุ งข้อมูลข่าวสาร และข้อมูลสารสนเทศอื่นๆ ให้กบทางสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานีเขต 2 และ สานักงานการจัดการมัธยมศึกษา ศูนย์ที่ 3 ปทุมธานี – สระบุรี 3. เป็ นหัวหน้ากิจกรรมผจญภัย ในการจัดกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมของลูกเสื อ – เนตรนารี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ทา หน้าที่สารวจฐานกิจกรรมต่างๆ วางแผนการจัดกิจกรรม การดาเนินการจัดกิจกรรม การจัดผูกากับลูกเสื อ เพื่อ ้ ประจาฐานกิจกรรมต่างๆ และสรุ ปกิจกรรม 4. เป็ นกรรมการในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรี ยน เช่น กิจกรรมวันไหว้ครู กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ กิจกรรม ตลาดนัดอาชีพ กิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ (คอมพิวเตอร์) 5. รับผิดชอบการจัดทาแผนสรุ ปงานหรื อโครงการต่างๆ (PDCA) ให้กบกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ั
  • 10. 3. สรุ ปผลงานที่เห็นว่ าโดดเด่ นหรื อผลงานสาคัญที่ปฏิบัติได้ ในช่ วงนี้ จากที่บันทึกไว้ ไม่ เกิน 6 ผลงาน (กรณีที่มีผลงาน สาคัญเกินกว่ า 6 ผลงาน ก็ให้ สรุปและจัดเรียงลาดับไว้ ได้ ) 1. เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยนเพื่อเข้าแข่งขันทักษะทางวิชาการ (คอมพิวเตอร์) ในการแข่งขันการออกแบบบรรจุภณฑ์ ั ด้วยโปรแกรม Pro/DESKTOP ช่วงชั้นที่ 3 ได้รับรางวัลเหรี ยญเงิน 2. เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยนเพื่อเข้าแข่งขันทักษะทางวิชาการ (คอมพิวเตอร์) ในการแข่งขันการออกแบบบรรจุภณฑ์ ั ด้วยโปรแกรม Pro/DESKTOP ช่วงชั้นที่ 4 ได้รับรางวัลเหรี ยญทองแดง 3. เป็ นครู ฝึกสอนนักเรี ยนเพื่อเข้าแข่งขันรายการ “การแข่งขันระบบปฏิบติการลินุกซ์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 ” ั หรื อ The National Linux Competition 10th ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ได้รับรางวัลเกียรติบตรและผ่าน ั เข้าสู่รอบที่สองต่อไป 1.2 บันทึกพฤติกรรมทีเ่ ป็ นคุณงามความดี ปี งบประมาณ 2552  ครั้งที่ 1  ครั้งที่ 2 วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการบั น ทึ กนี้ เพื่ อ ให้ เ ป็ นไปตามเจตนารมณ์ ข องวาระแห่ งชาติ ด้ า นจริ ยธรรม ธรรมาภิบาล และการป้ องกันการทุจริ ตและประพฤติมิชอบในราชการตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 19 ธันวาคม 2549 ที่ ต้องการส่งเสริ มให้ขาราชการได้ประพฤติสิ่งที่เป็ นคุณงามความดีในราชการให้ดียงขึ้นไป และสร้างกาลังใจแก่ขาราชการที่ ้ ิ่ ้ ได้ประพฤติดงกล่าว โดยให้ผบงคับบัญชานาไปประกอบการพิจารณา เรื่ องการบริ หารงานบุคคลต่อไป ดังนั้น ข้าราชการ ั ู้ ั จึ ง บัน ทึ ก พฤติ ก รรม หรื อ เหตุ ก ารณ์ ส าคัญ ในการปฏิ บัติ ร าชการที่ เ ป็ นคุ ณ งามความดี ท้ ัง ระดับ ที่ ไ ด้ป ฏิ บัติ ต ามวินัย จรรยาบรรณ งานในหน้าที่ หรื อตามที่ ส่วนราชการกาหนดก็ได้ หรื อระดับที่ เกิ ดคุ ณค่าหรื อคุ ณงามความดี ที่เป็ นผลต่อ ข้าราชการ ประชาชน หรื อส่วนราชการ หรื อผลสัมฤทธิ์ของทางราชการต่อไปอีกก็ได้ กรอบการประพฤติปฏิบัตของข้ าราชการครู ิ ระบุพฤติกรรมหรือเหตุการณ์ สาคัญทีท่านได้ ประพฤติดี ประพฤติชอบ ่ และบุคลากรทางการศึกษาทีเ่ ป็ นคุณงาม ตามวินัยและจรรยาบรรณ ทีได้ รับปฏิบัตจนเกิดผลดีหรือเกิดคุณงาม ่ ิ ความดี ความดีต่อข้ าราชการ และประชาชนหรือเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อทางราชการ ระดับใดก็ได้ หรือตามทีส่วนราชการกาหนดก็ได้ ่ 1. ปฏิบัตตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ิ ่ 1. ประพฤติตนอยูในระเบียบวินยของโรงเรี ยนและสังคมอย่างเคร่ งครัด ั 1.1 จรรยาบรรณต่ อตนเอง 2. มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบและซื่ อ ตรง ต่ อ การปฏิ บัติ ห น้ า ที่ โดยยึ ด ถื อ (มีวนยในตนเอง พัฒนาตนเอง ด้านวิชาชีพ ิ ั ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นต่อส่วนรวมเป็ นสาคัญ บุคลิกภาพ และวิสยทัศน์ ให้ทนต่อการพัฒนา ั ั 3. ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ ดีในการดาเนิ นชี วิต ตามประเพณี และ ทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่ วัฒนธรรมไทย เช่น ยกมือไหว้ครู ที่อาวุโสกว่าตามวัฒนธรรมไทย เพื่อ เสมอ) ั เป็ นแบบอย่างให้กบผูเ้ รี ยน 4. ปฏิบติงานที่ได้รับมอบหมายได้สาเร็ จมีคุณภาพตามเป้ าหมายที่กาหนด ั ิ ั ั ั 5. มีวนยในตนเอง ประพฤติปฏิบติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีให้กบผูเ้ รี ยน
  • 11. กรอบการประพฤติปฏิบัตของข้ าราชการครู ิ ระบุพฤติกรรมหรือเหตุการณ์ สาคัญทีท่านได้ ประพฤติดี ประพฤติชอบ ่ และบุคลากรทางการศึกษาทีเ่ ป็ นคุณงาม ตามวินัยและจรรยาบรรณ ทีได้ รับปฏิบัตจนเกิดผลดีหรือเกิดคุณงาม ่ ิ ความดี ความดีต่อข้ าราชการ และประชาชนหรือเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อทางราชการ ระดับใดก็ได้ หรือตามทีส่วนราชการกาหนดก็ได้ ่ 6. ดาเนิ นชี วิตอย่างเหมาะสม ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง รู ้จกใช้ ั จ่ายเงินอย่างประหยัด ไม่ฟมเฟื อย หลีกเลี่ยงอบายมุขทุกชนิด ุ่ 1.2 จรรยาบรรณต่ อวิชาชีพ 1. เป็ นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู รักและศรัทธาในวิชาชีพครู โดย (รั ก ศรั ท ธา ซื่ อ สัต ย์สุ จ ริ ต รั บ ผิ ด ชอบต่ อ คานึ งอยู่เสมอว่าอาชี พครู คืออาชีพที่มีเกี ยรติและเป็ นผูสร้างบุคลากรที่ ดี ้ วิชาชีพ และเป็ นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ) และมีคุณภาพทั้งด้านความรู ้และคุณธรรม 2. รั บผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายอย่างเคร่ งครั ด โดยคานึ งถึ ง คุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย และความถูกต้อง 3. ตั้งใจอบรมสั่งสอนศิ ษย์ทุกคนด้วยความตั้งใจ ด้วยการจัดทาแผนการ สอนเป็ นรายชัวโมง ติดตามดูแลนักเรี ยนที่อยูในกลุ่มเสี่ ยง และอบรมสั่ง ่ ่ สอนศิษย์โดยเน้นที่คุณธรรม จริ ยธรรมเป็ นหลัก ั 3. ใฝ่ หาความรู ้เพิมเติมเพื่อนามาถ่ายทอดให้กบศิษย์ ด้วยการสื บค้นข้อมูล ่ ทางอินเตอร์ เน็ต การหาความรู ้ จากตาราต่างๆ และการอบรมสัมมนาที่ ทางโรงเรี ยนและหน่วยงานต่างๆ จัดขึ้น 1.3 จรรยาบรรณต่ อผู้รับบริการ 1. อบรมสังสอนศิษย์ทุกคนด้วยความตั้งใจ และเท่าเทียมกัน ไม่แบ่งแยก ่ (รั ก เมตตา เอาใจใส่ ช่ วยเหลื อ ส่ งเสริ ม ให้ ว่าศิษย์คนใดจะเรี ยนเก่งหรื อไม่เก่ง ให้ความรู ้และวิทยาการแก่ศิษย์อย่าง ก าลังใจแก่ ศิ ษย์ และผูรั บบริ การ ตามบทบาท ้ เต็มความสามารถ หน้าที่ โดยเสมอหน้า ส่ งเสริ มให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ 2. ส่งเสริ มให้ศิษย์เกิดการเรี ยนรู ้ดวยตนเอง สร้างเสริ มทักษะกระบวนการ ้ ทักษะและนิ สัยที่ ถู กต้องดี งามแก่ ศิ ษย์ และรั บ ิ ั ชีวต และพัฒนาองค์ความรู ้ให้กบศิษย์ไปพร้อมๆ กับการปลูกฝังคุณธรรม บริ การตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ จริ ยธรรม ด้วยความบริ สุทธิ์ ใจ ประพฤติปฏิ บติตน เป็ น ั ั 3. เป็ นแบบอย่างที่ดีให้กบศิษย์ทุกคน ได้แก่ การมาตรงต่อเวลา การแสดง แบบอย่างที่ ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิ ตใจ ไม่ ความเคารพครู อาจารย์ที่มีความอาวุโสกว่า การรักษาความสะอาด กระท าตนเป็ นปฏิ ปั กษ์ต่อความเจริ ญทางกาย 4. หมันหาความรู ้ ความเจริ ญทางกาย วาจา ใจ ปฏิบติงานและหน้าที่ดวย ่ ั ้ สติ ปัญญา จิ ตใจ อารมณ์ และสังคมของศิ ษย์ อารมณ์แจ่มใส จริ งใจ และเสมอภาค และผูรับบริ การ และให้บริ การด้วยความจริ งใจ ้ และเสมอภาค โดยไม่ เ รี ย กรั บ หรื อ ยอมรั บ ผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่ งหน้าที่ โดยมิ ชอบ)
  • 12. กรอบการประพฤติปฏิบัตของข้ าราชการครู ิ ระบุพฤติกรรมหรือเหตุการณ์ สาคัญทีท่านได้ ประพฤติดี ประพฤติชอบ ่ และบุคลากรทางการศึกษาทีเ่ ป็ นคุณงาม ตามวินัยและจรรยาบรรณ ทีได้ รับปฏิบัตจนเกิดผลดีหรือเกิดคุณงาม ่ ิ ความดี ความดีต่อข้ าราชการ และประชาชนหรือเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อทางราชการ ระดับใดก็ได้ หรือตามทีส่วนราชการกาหนดก็ได้ ่ 1.4 จรรยาบรรณต่ อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ 1. ทางานร่ วมกับเพื่อนร่ วมกันอย่างเต็มที่ ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่ งกันและกัน (ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่าง ยึดมันในระบบงานที่มีคุณธรรม ่ สร้างสรรค์ โดยยึดมันในระบบคุณธรรม สร้าง 2. ท างานด้ว ยความสามัค คี และช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ นร่ วมกัน ทุ ก ครั้ งที่ เ กิ ด ่ ความสามัคคีในหมู่คณะ) ปั ญหา 3. ให้คาแนะนา ที่เป็ นประโยชน์ต่อเพื่อนร่ วมงาน เช่น ความรู ้ที่ได้รับจาก การเข้ารับการอบรม แนวทางการปฏิบติงานที่ดี หรื อวิธีการทางานที่ช่วย ั ให้การทางานราบรื่ น รวดเร็ ว และถูกต้อง 4. มี น้ าใจกับเพื่อ นร่ วมงานทุ กคน เอื้ อเฟื้ อเผื่อ แผ่ และให้ความเคารพ เพื่อนร่ วมงาน 1.5 จรรยาบรรณต่ อสังคม 1. ปฏิ บติตนเป็ นผูนาในการปฏิ บติตามปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง ดารง ั ้ ั (ประพฤติปฏิบติตนเป็ นผูนาในการอนุรักษ์ ั ้ รักษาวัฒนธรรมไทย ภาษาไทย ด้วยการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง ภูมิใจและ แ ล ะ พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม ศ า ส น า ส่ งเสริ มให้นักเรี ยนได้เห็ นคุ ณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่ น วัฒนธรรมใน ศิ ล ปวัฒนธรรม ภู มิปั ญญา สิ่ งแวดล้อม รั กษา ท้องถิ่น รักษาผลประโยชน์ของประเทศชาติ ผลประโยชน์ ของส่ วนรวม และยึดมั่นในการ 2. ช่วยตรวจสอบ และเชิญชวนให้นกเรี ยนช่วยกันประหยัด ทั้งในด้านเงิน ั ป ก ค ร อ ง ร ะ บ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย อั น มี ทอง สิ่ งของ รวมทั้งสาธารณูปโภคต่าง ๆได้แก่ น้ า ไฟฟ้ า ด้วยการใช้น้ า พระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข) ์ อย่างประหยัด ปิ ดไฟและพัดลมในห้องเรี ยนทุกครั้งที่ออกจากห้อง 3. ร่ วมงานกิ จ กรรมวัน ส าคัญ ต่ า งๆ บ าเพ็ ญ ประโยชน์ ปฏิ บั ติ ต าม กฎระเบียบวินย กฎหมายบ้านเมือง ยึดถือในคุณธรรมและเป็ นตัวอย่างที่ดี ั แก่ศิษย์ 4. ยึดมันในการปกครองระบบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรง ่ ์ เป็ นประมุข ด้วยการปฏิบติหน้าที่ การเป็ นข้าราชการอย่างเคร่ งครัด และ ั รักษาสิ ทธิ์ในการเลือกตั้งทุกครั้ง
  • 13. กรอบการประพฤติปฏิบตของข้ าราชการครู และบุคลากร ั ิ ระบุพฤติกรรมหรือเหตุการณ์ สาคัญทีท่านได้ ประพฤติดี ่ ทางการศึกษาทีเ่ ป็ นคุณงามความดี ประพฤติชอบ ตามวินัยและจรรยาบรรณ ทีได้ รับปฏิบัตจน ่ ิ เกิดผลดีหรือเกิดคุณงามความดีต่อข้ าราชการ และประชาชน หรือเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อทางราชการระดับใดก็ได้ หรือตามที่ ส่ วนราชการกาหนดก็ได้ 2. การประพฤติ การปฏิบัตตนตามงานในหน้ าทีความ ิ ่ 1. ปฏิ บัติการสอนด้วยความความรั บ ผิดชอบ เต็มใจ เต็ม รับผิดชอบ กาลังความสามารถ ทาให้นักเรี ยนสามารถ อ่านออก เขียน ได้ คิดเลขได้ 2. ติดตามนักเรี ยนที่ มีปัญหาด้านการเรี ยนอย่างต่อเนื่ อง ทา ให้ ล ดปั ญ หาผลการเรี ย นตกต่ า สามารถเพิ่ ม ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนได้ 3. ปฏิบติหน้าที่ ดวยความเสี ยสละ ทั้งเวลา แรงกายและทุน ั ้ ทรัพย์ 4. ปฏิ บัติ ง านที่ ไ ด้รั บ มอบหมายด้ว ยความตั้ง ใจละเอี ย ด รอบคอบ ผลงานที่ได้มีคุณภาพดีเป็ นที่พอใจ 3. พฤติกรรมการทาคุณงามความดีอนๆ ทีส่วนราชการ ่ื ่ 1. แต่งเครื่ องแบบข้าราชการในวันที่โรงเรี ยนกาหนด กาหนดตามลักษณะงานของตนหรือทีมมติคณะรัฐมนตรี ่ ี ั 2. ส่งข้อมูลสารสนเทศโรงเรี ยนให้กบเขตพื้นที่การศึกษา กาหนด ตามกาหนดเวลา
  • 14. 2. หลักสู ตรอบรมและสัมมนาทีทางราชการมอบหมายให้ ไปเข้ าอบรมและสัมมนา รวมทั้งข้ อเสนอการพัฒนาทีต้องการ ่ ่ วัน/เดือน/ปี ชื่ อหลักสู ตร สถานทีจัด ่ หน่ วยงานทีจัด ่ 13 ก.ค. 2552 ประชุมเชิงปฏิบติการผูรับผิดชอบงาน ั ้ โรงเรี ยนหอวัง ปทุมธานี ศูนย์ประสานงานการ (1 วัน) สารสนเทศของโรงเรี ยน จัดการมัธยมศึกษาศูนย์ที่ 3 (ปทุมธานี สระบุรี) 25 – 26 ก.ค. 2552 อบรมหลักสูตรการผลิตสื่ อการสอนประเภท โรงเรี ยนสายปั ญญารังสิ ต สานักงานเขตพื้นที่ (2 วัน) เกมส์ ด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซล (MS. การศึกษาปทุมธานี เขต 2 Excel) 4 – 5 ส.ค. 2552 อบรมเชิงปฏิบติการ การใช้โปรแกรม ั ห้องคอมพิวเตอร์ 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษา (2 วัน) คอมพิวเตอร์เพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยใช้ โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษา พัฒนาการ ลาลูกกา โปรแกรม Pro/DESKTOP พัฒนาการ ลาลูกกา 7 - 8 ส.ค. 2552 อบรมการใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ปในการ ห้องปฏิบติการ ั คณะวิทยาศาสตร์และ (2 วัน) วิเคราะห์ขอมูลสถิติข้ นต้นและขั้นสูง ้ ั คอมพิวเตอร์ SC1912 ชั้น เทคโนโลยี มหาวิทยาลัย 9 คณะวิทยาศาสตร์และ ราชมงคลธัญบุรี เทคโนโลยี มหาวิทยาลัย ราชมงคลธัญบุรี 22 ส.ค. 2552 การอบรมจัดทาข้อมูลรายงานการจาแนก ห้องประชุม โรงเรี ยนธัญ สานักงานเขตพื้นที่ (1 วัน) สถานะสถานศึกษาเพื่อดารงความเข้มแข็งใน รัตน์ อ.ธัญบุรี การศึกษาปทุมธานี เขต 2 การป้ องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน จ.ปทุมธานี สถานศึกษา 15 - 16 ก.ย. 2552 การอบรมเชิงปฏิบติการโครงการพัฒนาระบบ ห้องประชุม โรงเรี ยนธัญ ศูนย์ประสานงานการ ั (2 วัน) สารสนเทศของศูนย์ประสานงานการจัดการ รัตน์ อ.ธัญบุรี จัดการมัธยมศึกษาศูนย์ที่ มัธยมศึกษาศูนย์ที่ 3 (ปทุมธานี สระบุรี) จ.ปทุมธานี 3 (ปทุมธานี สระบุรี) 3. สิ่งทีต้องการพัฒนาเพือนาไปจัดทาแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ่ ่  การจัดทาแผนการเรี ยนรู ้รายบุคคล ให้เหมาะสมกับนักเรี ยนที่มีความสามารถในการเรี ยนรู ้ต่างกันในชั้นเรี ยน โดย การอบรมเชิงปฏิบติการ ในช่วงปิ ดภาคเรี ยน ั  กระบวนการจัดทาวิจยในชั้นเรี ยน เพื่อพัฒนากระบวนการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนให้มีประสิทธิภาพ โดยการอบรมเชิง ั ปฏิบติการ ให้ครู อาจารย์ได้ทดลองเขียนรายงานหรื อตัวอย่างวิจยในชั้นเรี ยนแบบย่อ โดยจัดการอบรมในช่วงเปิ ด ั ั ภาคเรี ยนปกติ  กระบวนการจัดการเรี ยนการสอนให้น่าสนใจในรายวิชาของคอมพิวเตอร์ โดยการใช้วธีการสอนแบบต่างๆ ิ
  • 15. 4. ความเห็นหรือข้ อเสนอแนะ พัฒนาปรับปรุงงานอืนๆ (ถ้ ามี) ่ .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. ลงชื่อข้าราชการผูบนทึก.............................................................. ้ ั (นายณัฐพล บัวอุไร) วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ความเห็นชอบผู้บงคับบัญชาเหนือขึนไป ั ้ .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ......................................................... (นายปรี ชา กล่ารัศมี) ผูอานวยการโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา ้ วันที่.......... เดือน....................... พ.ศ. .......