SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 30
Clinical practice guidelines
for traumatic brain injury
Extern Siwaporn Khureerung
นิยามของ “สมองบาดเจ็บ”
สมองบาดเจ็บ (Traumatic brain injury) หมายถึง การ
บาดเจ็บที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการทางานของ สมองหรือเกิด
พยาธิสภาพในสมอง อันเนื่องจากมีแรงภายนอกสมองมากระทบ
คาอธิบายเพิ่มเติม
ก. การเปลี่ยนแปลงการทางานของสมอง (Alteration in brain function)
ต้องมีองค์ประกอบทางคลินิก อย่างน้อย 1 ข้อ ดังนี้
1. สูญเสียความรู้สึกตัว หรือความรู้สึกตัวลดลง (Loss of
conscious, LOC)
2. จาเหตุการณ์ไม่ได้ ซึ่งอาจเป็นเหตุการณ์ก่อนเกิดเหตุ
(Retrograde amnesia) หรือหลังเกิดเหตุ (Post traumatic amnesia, PTA)
3. อาการบกพร่องทางระบบประสาท เช่น อ่อนแรง, สูญเสียการ
ทรงตัว, การมองเห็นลดลง, รู้สึกชาที่ ใบหน้าหรือแขนขา, พูดไม่ได้เป็นต้น
4. การเปลี่ยนแปลงของ Mental state ในขณะเกิดเหตุ เช่น สับสน
,มึนงง, จาสถานที่ บุคคลหรือ เวลาไม่ได้, คิดช้าลง เป็นต้น
คาอธิบายเพิ่มเติม
ข. พยาธิสภาพในสมอง
ซึ่งอาจมองด้วยตาเปล่าหรือตรวจพบจากภาพรังสี หรือผลการ
ตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ ที่บ่งถึงการบาดเจ็บที่สมอง
ค. การบาดเจ็บที่มีสาเหตุจากแรงกระทบจากภายนอก เช่น
- ศีรษะถูกวัตถุมากระทบ หรือศีรษะไปกระทบถูกวัตถุ
- สมองเกิดการเคลื่อนไหวแบบเร่งและเฉื่อย
(Acceleration/deceleration) แม้แรงไม่ได้กระทบต่อ ศีรษะโดยตรง
- บาดแผลทะลุถึงสมอง
- มีแรงมากระทบ เช่น แรงระเบิด เป็นต้น
ความรุนแรงของการบาดเจ็บ
สามารถจัดแบ่งได้ออกเป็น 3 ระดับ คือ
 ไม่รุนแรง (Mild)
 ปานกลาง (Moderate)
 รุนแรง (Severe)
โดยพบผู้ป่วยที่สมองบาดเจ็บชนิดไม่รุนแรงเป็นร้อยละ 70-
90 ของผู้ป่วย บาดเจ็บที่สมองทั้งหมด
Glasgow Coma Scale/Score
Clinical Practice Guideline for Traumatic Brain Injury
Moderate to Severe TBI (GCS score 3-12)
ก่อนส่งตัวควรพิจารณาดังนี้
1) Intravenousfluid infusion
 ให้เป็น Isotonic solution เช่น Normal saline, lactated Ringer’ s Solution หรือ
Acetated Ringer’s solution, ควรหลีกเลี่ยงสารละลายที่มีน้าตาลเป็น
ส่วนประกอบ
 Rate: ให้ maintenancefluid ตามน้าหนักตัว
2) Endotracheal intubationตามข้อบ่งชี้:
 GCS<8
 มีแนวโน้มว่าอาการทางระบบประสาทอาจเลวลงและต้องส่งต่อผู้ป่วยเป็นระยะ
ทางไกล
 อาจหรือมีปัญหาทางเดินหายใจ เช่น อาเจียนมาก มี severe maxillofacial injury
เป็นต้น
 มี respiratoryfailure ที่ต้องใช้ventilatorขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของแพทย์ผู้ดูแล
ในรายที่ไม่ได้ใส่ ET tube ตามข้อบ่งชี้ข้างต้น ควรให้ Oxygen supplement ด้วย mask with bag
3) Hyperventilation
respiratory rate ประมาณ 16-20 ครั้ง/นาที เพื่อทาให้ PaCO2 30-35 mmHg
ข้อบ่งชี้:
 มี signs of transtentorial herniation ได้แก่
 unilateral dilated fixed pupil
 abnormal respiration
 decerebrated or decorticated posture
 Rapid deterioration
หมายเหตุ ทา hyperventilation เฉพาะในกรณีข้อบ่งชี้ข้างต้น เท่านั้น
4. Medication
1) Mannitol ข้อบ่งชี้: เช่นเดียวกับ hyperventilation
ขนาดยา: 1 g/kg drip in 15 min เช่น หนัก 50 kg จะให้ 20% mannitol ประมาณ 250 ml
 ถ้าไม่มี mannitol อาจะให้ furosemide 0.5-1 mg/kg IV แทนได้
 ควรระวังไม่ให้ในผู้ป่วยที่ hypovolemia และ/หรือ มี Renal failure
2) ยากันชัก พิจารณาให้ในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง ดังต่อไปนี้
1. Immediate posttraumatic Seizure หรือมีประวัติโรคลมชักมาก่อน
2. ในรายที่ไม่มีอาการชัก เพื่อป้องกัน Early seizure ในกรณีดังต่อไปนี้
2.1 Intracranial hemorrhage (ถ้าทา CT)
2.2 GCS score <10
2.3 Penetrating head injury
2.4 Depressed skull fracture
ขนาดยา: เช่น Phenytoin 18-20 mg/kg drip in 30 min (ไม่เกิน 50 mg / min)
4. Medication (ต่อ)
3) ยาปฏิชีวนะ โดยทั่วไปใน closed head injury ไม่จาเป็นต้องให้ถึงแม้จะมี
fracture base of skull ยกเว้นมีแผลบริเวณอื่นสามารถให้ตามข้อบ่งชี้ได้
4) Tetanus toxoid: ให้ตาม indication
5) Steroids ไม่มีเหตุผลเชิงประจักษ์ที่พิสูจน์ได้ว่ายาในกลุ่ม Steroids ทาให้
ผลการรักษาการบาดเจ็บ ที่ศีรษะดีขึ้น20
5. อธิบายญาติให้เข้าใจถึงสภาวะของผู้ป่ วย เหตุผลที่ต้องส่งตัว
6. โทรศัพท์ติดต่อกับ call center และ/หรือ รพ.ที่ต้องการส่งตัว
Mild Traumatic Brain Injury
Low risk patients
การดูแลผู้ป่ วย low risk
ผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถให้กลับบ้านได้ โดยไม่ต้องสังเกตอาการหรือ CT scan
ที่โรงพยาบาล
*** แต่ต้องอธิบายถึง ความเสี่ยงและวิธีการสังเกตอาการที่บ้านแก่ผู้ดูแล โดยต้องให้ใบ
คาแนะนาไปอ่าน
*** ควรมีหลักฐานการอธิบายและรับใบคาแนะนาเก็บไว้ที่ โรงพยาบาลด้วย โดย
ขึ้นอยู่กับบริบทของโรงพยาบาล
Mild Traumatic Brain Injury – Moderate risk
GCS score ลดลงจากเดิม
ปวดศีรษะมาก
อาเจียนมาก
การดูแลผู้ป่ วย mild TBI with moderate risk
เลือกสังเกตอาการไว้ในโรงพยาบาล หรือ CT scan ก็ได้
กรณีเลือกสังเกตอาการ
 อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจถึงเหตุผลในการรับไว้ในรพ.
 Observe vital sign, GCS score และ pupils ทุก 1 ชม. และพร้อมที่จะส่งตัวผู้ป่วยไป
ทา CT scan หรือส่งมายังโรงพยาบาลที่มีประสาทศัลยแพทย์ได้ตลอดเวลา
 ถ้ามีภาวะดังต่อไปนี้ให้ส่งทา CT scan หรือส่งตัวมายังโรงพยาบาลที่สามารถดูแล
ผู้ป่วยสมอง บาดเจ็บได้:: GCS score ลดลงจากเดิม , ปวดศีรษะมาก , อาเจียนมาก
ขึ้นกับแพทย์ผู้ดูแล สถานการณ์ และบริบทของ โรงพยาบาล และ ควรส่งผู้ป่ วยทา CT scan ตั้งแต่เริ่มต้นหากไม่
พร้อมในการส่งผู้ป่ วยไปทา CT scan ได้อย่าง รวดเร็ว หรือไม่สามารถสังเกตอาการในโรงพยาบาลได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
กรณีเลือกทา CT scan
 ถ้า CT scan แล้วผลไม่พบความผิดปกติ ผู้ป่วยมี GCS score 15 และมีอาการคงที่
อาจจาหน่ายผู้ป่วย ได้เมื่อสังเกตอาการครบ 6 ชั่วโมง
 ถ้าทา CT scan แล้วพบความผิดปกติ ให้ปรึกษาประสาทศัลยแพทย์ศัลยแพทย์
ทั่วไปที่สามารถดูแล ผู้ป่วยสมองบาดเจ็บได้ หรือส่งตัวมายังรพ.ที่สามารถดูแล
ผู้ป่วยสมองบาดเจ็บ
การจาหน่ายผู้ป่ วยกรณี mild TBI with moderate risk
 ถ้าสังเกตอาการครบ 24 ชม.แล้วไม่มีอาการเปลี่ยนแปลง พิจารณาจาหน่ายผู้ป่วยได้
และนัดมา ติดตามผล 1 สัปดาห์
 ผู้ป่วยสมองบาดเจ็บที่จาหน่าย ควรได้รับแผ่นข้อมูลคาแนะนาสาหรับผู้ป่วยสมอง
บาดเจ็บ
Mild Traumatic Brain Injury – High risk
การดูแลผู้ป่ วย mild TBI with high risk
 ผู้ป่วยควรได้รับการทา CT scan ทุกราย เนื่องจากมีความเสี่ยงต่อความ ผิดปกติในสมอง
 กรณีมี open skull fracture หรือมี focal neulogical deficit และ CT scan แล้วพบความ
ผิดปกติ ให้ปรึกษาประสาทศัลยแพทย์ ศัลยแพทย์ทั่วไปที่สามารถดูแล ผู้ป่วยสมอง
บาดเจ็บได้ หรือส่งตัวมายังโรงพยาบาลที่สามารถดูแลผู้ป่วยสมองบาดเจ็บ
 ถ้า CT scan แล้วผลไม่พบความผิดปกติ สังเกตอาการต่ออีก 6 ชั่วโมง โดยถ้ามีภาวะ
ดังต่อไปนี้ให้ส่ง ทา CT scan ซ้าหรือส่งตัวมายังโรงพยาบาลที่สามารถดูแลผู้ป่วยสมอง
บาดเจ็บได้ GCS score ลดลงจากเดิม , ปวดศีรษะมาก , อาเจียนมาก , มี focal
neurological deficit
 เมื่อสังเกตอาการไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมงแล้วผู้ป่วยมี GCS score 15 และอาการปกติ
พิจารณาจาหน่าย ผู้ป่วยได้และให้คาแนะนาพร้อมใบคาแนะนากลับไปด้วย
แนวทางการส่งตรวจ CT scan กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในเด็ก
(CT Scan Guideline for Mild Traumatic Brain Injury in Pediatric Patients)
การพิจารณาส่งตรวจ CT scan แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
A. กลุ่มเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี
B. กลุ่มเด็กอายุ2-15 ปี
Mild Traumatic Brain Injury ในเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี
 ตกจากที่สูง >0.9 เมตร (3 ฟุต)
 ศีรษะถูกกระแทกอย่างแรง
 อุบัติเหตุจราจรที่ผู้ป่วย กระเด็นออกจากยานพาหนะ
 ผู้ร่วมโดยสารอื่นเสียชีวิต, ยานพาหนะพลิกคว่า
 ถูกรถชนในขณะเดินถนนหรือ ขี่จักรยานโดยไม่สวมหมวกกันน็อค
Agitation
Somnolence
repetitivequestioning
slow response to verbal communication.
Mild Traumatic Brain Injury ในเด็กอายุ 2-15 ปี
 ตกจากที่สูง >1.5 เมตร (5 ฟุต)
 ศีรษะถูกกระแทกอย่างแรง
 อุบัติเหตุจราจรที่ผู้ป่วย กระเด็นออกจากยานพาหนะ
 ผู้ร่วมโดยสารอื่นเสียชีวิต, ยานพาหนะพลิกคว่า
 ถูกรถชนในขณะเดินถนนหรือ ขี่จักรยานโดยไม่สวมหมวกกันน็อค
ลักษณะทางคลินิกที่ใช้ทานายการบาดเจ็บภายในกะโหลกศีรษะ
ภายหลังได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะไม่รุนแรง ประกอบด้วย
● Prolonged LOC ● Amnesia
● อาการชัก ● ปวดศีรษะรุนแรง
● Pediatric GCS score <15 ● Severe mechanism of injury
● สงสัยการบาดเจ็บที่เกิดจากการถูกทารุณกรรม ● Focal neurological deficit
● Signs of a depressed or basilar skull fracture or bulging fontanel
● Non-frontal scalp hematoma for children <2 years of age
● อาการอาเจียนที่เกิดขึ้นหลังการบาดเจ็บหลายชั่วโมง หรืออาเจียนมากกว่า 1
ครั้ง
แนวทางการส่งตรวจ CT scan กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในเด็ก
(CT Scan Guideline for Mild Traumatic Brain Injury in Pediatric Patients)
แนวทางปฏิบัติการ กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในผู้ป่ วยเด็ก
1. ไม่แนะนาการส่งตรวจ CT scan ในผู้ป่ วยเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี เมื่อมีลักษณะดังนี้:
● Normal neurologic examination(including a normal fontanel)
● ไม่เคยมีประวัติชัก
● ไม่มีอาเจียนต่อเนื่อง
● ไม่สงสัยว่าถูกทารุณกรรม
● No parietal,occipitalor temporal scalp hematoma
● No loss of consciousness
● No evidence of skull fracture
● Normal behavior according to the routine caregiver
● No severe mechanism of injury
ความเสี่ยงที่จะมีสมองบาดเจ็บในผู้ป่ วยกลุ่มนี้มีน้อยกว่าร้อยละ 0.02
2. แนะนาการส่งตรวจ CT scan ในผู้ป่ วยเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี เมื่อมีลักษณะดังนี้
● Focal neurologicalfindings ● Depressedmental status
● Irritability ● กระหม่อมโป่ง
● อาเจียนต่อเนื่อง ● มีอาการชัก
● Acute skull fracture, including depressedor basilar fracture
● Definite loss of consciousness
● สงสัยถูกทารุณกรรม
● Underlying condition predisposingto intracranialinjury
● Large non-frontal scalp hematomas, especiallyin children younger than 12 months
● Infants less than three months old with nontrivialtrauma
● Vomiting that is delayed by severalhours after injury or occurs more than once
แนวทางปฏิบัติการ กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในผู้ป่ วยเด็ก
3. การสังเกตอาการในผู้ป่ วยอายุน้อยกว่า 2 ปี
แนะนาให้สังเกตอาการอย่างน้อย 4-6 ชม. หรือส่งตรวจ CT scan เมื่อมีลักษณะดังนี้
- เมื่อมีอาเจียน
- Loss of consciousnessthat is uncertain or very brief (less than a few seconds)
- History of lethargy or irritability,now resolved
- Behavioral change reported by caregiver
- Skull fracture more than 24 hours old (nonacute)
- Injury caused by high-risk mechanism of injury (eg, fall more than three to four feet, patient
ejection,death of a passenger,rollover, high impact head injury)
- Unwitnessed trauma that may be significant
แนวทางปฏิบัติการ กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในผู้ป่ วยเด็ก
4. แนะนาการส่งตรวจ CT scan ทันที ในผู้ป่ วยเด็กอายุ 2-15 ปี เมื่อมี
ลักษณะดังนี้
● Focal neurologic findings
● Skull fracture, especially findings of basilar skull fracture
● มีอาการชัก
● Prolonged loss of consciousness
● Altered mental status (eg, agitation, lethargy, repetitive questioning, or
slow response to verbal questioning)
แนวทางปฏิบัติการ กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในผู้ป่ วยเด็ก
5. การสังเกตอาการในผู้ป่ วยอายุ 2-15 ปี
แนะนาให้สังเกตอาการอย่างน้อย 4-6 ชม. และ/หรือส่งตรวจ CT scan เมื่อมี
ลักษณะข้อใดข้อหนึ่งดังนี้
- อาเจียน
- ปวดศีรษะ
- Questionable or brief loss of consciousness with no other signs or symptoms
- Injury caused by severe mechanism of injury
- หากผู้ป่วยมีอาการรุนแรง ต่อเนื่อง หรือมีอาการมากว่า 1 ข้อ ให้พิจารณาส่งตรวจ CT
scan เร็วขึ้น
แนวทางปฏิบัติการ กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในผู้ป่ วยเด็ก
6. ควรรับผู้ป่ วยไว้ในโรงพยาบาลหรือพิจารณาส่งต่อไปยังโรงพยาบาลที่มีศักยภาพใน
การดูแลรักษา เมื่อมี ข้อบ่งชี้ข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ :-
● เมื่อผู้ป่วยมี CT scan ผิดปกติ และปรึกษาประสาทศัลยแพทย์แล้ว ให้รับไว้ดูแลใน
โรงพยาบาลได้
● CT scan ปกติ แต่ mental status ไม่กลับสู่ภาวะปกติ
● สงสัยถูกทารุณกรรม (suspected inflicted injury)
● อาเจียนอย่างต่อเนื่อง
● ไม่มั่นใจว่าผู้ดูแลจะดูแลผู้ป่วยได้ หรือไม่สามารถพาผู้ป่วยมาตรวจซ้าได้
แนวทางปฏิบัติการ กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในผู้ป่ วยเด็ก
Clinical practice guidelines mild head injury

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryUtai Sukviwatsirikul
 
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...Utai Sukviwatsirikul
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
Emergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientEmergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientKrongdai Unhasuta
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...Chutchavarn Wongsaree
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำPrathan Somrith
 

Was ist angesagt? (20)

Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
22
2222
22
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
Head Injury
Head InjuryHead Injury
Head Injury
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
Emergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientEmergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patient
 
Shock
ShockShock
Shock
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
 

Andere mochten auch

Fran Lockie on Paediatric TBI
Fran Lockie on Paediatric TBIFran Lockie on Paediatric TBI
Fran Lockie on Paediatric TBISMACC Conference
 
Neuropsysiology of amnesia
Neuropsysiology of amnesiaNeuropsysiology of amnesia
Neuropsysiology of amnesiaAby Mathews
 
TBI and Holistic Neuropsychology
TBI and Holistic NeuropsychologyTBI and Holistic Neuropsychology
TBI and Holistic NeuropsychologyTad Gorske, Ph.D.
 
Collaborative Therapeutic Neuropsychological Assessment
Collaborative Therapeutic Neuropsychological AssessmentCollaborative Therapeutic Neuropsychological Assessment
Collaborative Therapeutic Neuropsychological AssessmentTad Gorske, Ph.D.
 
"The Politics Of Amnesia" by Terry Eagleton .
"The Politics Of Amnesia" by  Terry Eagleton ."The Politics Of Amnesia" by  Terry Eagleton .
"The Politics Of Amnesia" by Terry Eagleton .St:Mary's College
 
Tbi rehab family_lecture
Tbi rehab family_lectureTbi rehab family_lecture
Tbi rehab family_lectureChris Byrne
 
New directions in neuropsychological assessment: Augmenting neuropsychologica...
New directions in neuropsychological assessment: Augmenting neuropsychologica...New directions in neuropsychological assessment: Augmenting neuropsychologica...
New directions in neuropsychological assessment: Augmenting neuropsychologica...Kevin McGrew
 
Traumatic Brain Injury:From combat to reintegration
Traumatic Brain Injury:From combat to reintegrationTraumatic Brain Injury:From combat to reintegration
Traumatic Brain Injury:From combat to reintegrationDrJenniferImig
 
Neuropsychiatric aspects of Head Injury / Traumatic Brain Injury
Neuropsychiatric aspects of Head Injury / Traumatic Brain InjuryNeuropsychiatric aspects of Head Injury / Traumatic Brain Injury
Neuropsychiatric aspects of Head Injury / Traumatic Brain InjuryCijo Alex
 
Detecting the basis of cognitive dysfunction in mild Traumatic Brain Injury
Detecting the basis of cognitive dysfunction in mild Traumatic Brain InjuryDetecting the basis of cognitive dysfunction in mild Traumatic Brain Injury
Detecting the basis of cognitive dysfunction in mild Traumatic Brain InjuryYasir Hameed
 
Neuropsychiatric aspects of traumatic brain injury
Neuropsychiatric aspects of traumatic brain injuryNeuropsychiatric aspects of traumatic brain injury
Neuropsychiatric aspects of traumatic brain injuryAzfer Ibrahim
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Utai Sukviwatsirikul
 
Traumatic brain injury
Traumatic brain injuryTraumatic brain injury
Traumatic brain injurymarwa Mahrous
 
An overview of dementia
An overview of dementiaAn overview of dementia
An overview of dementiaCijo Alex
 
Traumatic Brain Injury Pearls and Pitfalls (2014)
Traumatic Brain Injury Pearls and Pitfalls (2014)Traumatic Brain Injury Pearls and Pitfalls (2014)
Traumatic Brain Injury Pearls and Pitfalls (2014)Rathachai Kaewlai
 
Lower Limb Vascular Trauma
Lower  Limb  Vascular  TraumaLower  Limb  Vascular  Trauma
Lower Limb Vascular TraumaSaeed Al-Shomimi
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 

Andere mochten auch (20)

Case conference
Case conferenceCase conference
Case conference
 
Fran Lockie on Paediatric TBI
Fran Lockie on Paediatric TBIFran Lockie on Paediatric TBI
Fran Lockie on Paediatric TBI
 
Neuropsysiology of amnesia
Neuropsysiology of amnesiaNeuropsysiology of amnesia
Neuropsysiology of amnesia
 
TBI and Holistic Neuropsychology
TBI and Holistic NeuropsychologyTBI and Holistic Neuropsychology
TBI and Holistic Neuropsychology
 
Collaborative Therapeutic Neuropsychological Assessment
Collaborative Therapeutic Neuropsychological AssessmentCollaborative Therapeutic Neuropsychological Assessment
Collaborative Therapeutic Neuropsychological Assessment
 
"The Politics Of Amnesia" by Terry Eagleton .
"The Politics Of Amnesia" by  Terry Eagleton ."The Politics Of Amnesia" by  Terry Eagleton .
"The Politics Of Amnesia" by Terry Eagleton .
 
Tbi rehab family_lecture
Tbi rehab family_lectureTbi rehab family_lecture
Tbi rehab family_lecture
 
New directions in neuropsychological assessment: Augmenting neuropsychologica...
New directions in neuropsychological assessment: Augmenting neuropsychologica...New directions in neuropsychological assessment: Augmenting neuropsychologica...
New directions in neuropsychological assessment: Augmenting neuropsychologica...
 
Traumatic Brain Injury:From combat to reintegration
Traumatic Brain Injury:From combat to reintegrationTraumatic Brain Injury:From combat to reintegration
Traumatic Brain Injury:From combat to reintegration
 
Neuropsychiatric aspects of Head Injury / Traumatic Brain Injury
Neuropsychiatric aspects of Head Injury / Traumatic Brain InjuryNeuropsychiatric aspects of Head Injury / Traumatic Brain Injury
Neuropsychiatric aspects of Head Injury / Traumatic Brain Injury
 
Detecting the basis of cognitive dysfunction in mild Traumatic Brain Injury
Detecting the basis of cognitive dysfunction in mild Traumatic Brain InjuryDetecting the basis of cognitive dysfunction in mild Traumatic Brain Injury
Detecting the basis of cognitive dysfunction in mild Traumatic Brain Injury
 
Neuropsychiatric aspects of traumatic brain injury
Neuropsychiatric aspects of traumatic brain injuryNeuropsychiatric aspects of traumatic brain injury
Neuropsychiatric aspects of traumatic brain injury
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 
Traumatic brain injury
Traumatic brain injuryTraumatic brain injury
Traumatic brain injury
 
TBI Presentation
TBI PresentationTBI Presentation
TBI Presentation
 
An overview of dementia
An overview of dementiaAn overview of dementia
An overview of dementia
 
Amnesia
AmnesiaAmnesia
Amnesia
 
Traumatic Brain Injury Pearls and Pitfalls (2014)
Traumatic Brain Injury Pearls and Pitfalls (2014)Traumatic Brain Injury Pearls and Pitfalls (2014)
Traumatic Brain Injury Pearls and Pitfalls (2014)
 
Lower Limb Vascular Trauma
Lower  Limb  Vascular  TraumaLower  Limb  Vascular  Trauma
Lower Limb Vascular Trauma
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 

Ähnlich wie Clinical practice guidelines mild head injury

[Mlp2013 1] migraine
[Mlp2013 1] migraine[Mlp2013 1] migraine
[Mlp2013 1] migraineJoey Live
 
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut key
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut keyNle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut key
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut keyLoveis1able Khumpuangdee
 
Nt2009 Complete Ans
Nt2009 Complete AnsNt2009 Complete Ans
Nt2009 Complete Ansvora kun
 
แนวปฏิบัติการใช้ยา Thrombolytic agent
แนวปฏิบัติการใช้ยา Thrombolytic agentแนวปฏิบัติการใช้ยา Thrombolytic agent
แนวปฏิบัติการใช้ยา Thrombolytic agentSupang Mp
 
Case study surgery
Case study surgeryCase study surgery
Case study surgerysoftmail
 
สภาพบุคคล และปัญหา
สภาพบุคคล และปัญหาสภาพบุคคล และปัญหา
สภาพบุคคล และปัญหาSomsa Zomza
 
Psychoactive substance
Psychoactive substancePsychoactive substance
Psychoactive substancetaveena
 

Ähnlich wie Clinical practice guidelines mild head injury (12)

[Mlp2013 1] migraine
[Mlp2013 1] migraine[Mlp2013 1] migraine
[Mlp2013 1] migraine
 
Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010
 
Acute Stroke 2010
Acute Stroke 2010Acute Stroke 2010
Acute Stroke 2010
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Chronic Back Pain
Chronic Back PainChronic Back Pain
Chronic Back Pain
 
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut key
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut keyNle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut key
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut key
 
Nt2009 Complete Ans
Nt2009 Complete AnsNt2009 Complete Ans
Nt2009 Complete Ans
 
Psychiatric Emergency
Psychiatric EmergencyPsychiatric Emergency
Psychiatric Emergency
 
แนวปฏิบัติการใช้ยา Thrombolytic agent
แนวปฏิบัติการใช้ยา Thrombolytic agentแนวปฏิบัติการใช้ยา Thrombolytic agent
แนวปฏิบัติการใช้ยา Thrombolytic agent
 
Case study surgery
Case study surgeryCase study surgery
Case study surgery
 
สภาพบุคคล และปัญหา
สภาพบุคคล และปัญหาสภาพบุคคล และปัญหา
สภาพบุคคล และปัญหา
 
Psychoactive substance
Psychoactive substancePsychoactive substance
Psychoactive substance
 

Mehr von Siwaporn Khureerung

แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุSiwaporn Khureerung
 
Organophosphate and carbamate poisoning
Organophosphate and carbamate poisoningOrganophosphate and carbamate poisoning
Organophosphate and carbamate poisoningSiwaporn Khureerung
 

Mehr von Siwaporn Khureerung (8)

แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
 
Cervical trauma
Cervical traumaCervical trauma
Cervical trauma
 
Ultrasound liver
Ultrasound liverUltrasound liver
Ultrasound liver
 
Organophosphate and carbamate poisoning
Organophosphate and carbamate poisoningOrganophosphate and carbamate poisoning
Organophosphate and carbamate poisoning
 
Baker's cyst
Baker's cystBaker's cyst
Baker's cyst
 
Hallux valgus.pptx
Hallux valgus.pptxHallux valgus.pptx
Hallux valgus.pptx
 
Journal review
Journal reviewJournal review
Journal review
 
Epidermal necrolysis
Epidermal necrolysisEpidermal necrolysis
Epidermal necrolysis
 

Clinical practice guidelines mild head injury

  • 1. Clinical practice guidelines for traumatic brain injury Extern Siwaporn Khureerung
  • 2.
  • 3. นิยามของ “สมองบาดเจ็บ” สมองบาดเจ็บ (Traumatic brain injury) หมายถึง การ บาดเจ็บที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการทางานของ สมองหรือเกิด พยาธิสภาพในสมอง อันเนื่องจากมีแรงภายนอกสมองมากระทบ
  • 4. คาอธิบายเพิ่มเติม ก. การเปลี่ยนแปลงการทางานของสมอง (Alteration in brain function) ต้องมีองค์ประกอบทางคลินิก อย่างน้อย 1 ข้อ ดังนี้ 1. สูญเสียความรู้สึกตัว หรือความรู้สึกตัวลดลง (Loss of conscious, LOC) 2. จาเหตุการณ์ไม่ได้ ซึ่งอาจเป็นเหตุการณ์ก่อนเกิดเหตุ (Retrograde amnesia) หรือหลังเกิดเหตุ (Post traumatic amnesia, PTA) 3. อาการบกพร่องทางระบบประสาท เช่น อ่อนแรง, สูญเสียการ ทรงตัว, การมองเห็นลดลง, รู้สึกชาที่ ใบหน้าหรือแขนขา, พูดไม่ได้เป็นต้น 4. การเปลี่ยนแปลงของ Mental state ในขณะเกิดเหตุ เช่น สับสน ,มึนงง, จาสถานที่ บุคคลหรือ เวลาไม่ได้, คิดช้าลง เป็นต้น
  • 5. คาอธิบายเพิ่มเติม ข. พยาธิสภาพในสมอง ซึ่งอาจมองด้วยตาเปล่าหรือตรวจพบจากภาพรังสี หรือผลการ ตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ ที่บ่งถึงการบาดเจ็บที่สมอง ค. การบาดเจ็บที่มีสาเหตุจากแรงกระทบจากภายนอก เช่น - ศีรษะถูกวัตถุมากระทบ หรือศีรษะไปกระทบถูกวัตถุ - สมองเกิดการเคลื่อนไหวแบบเร่งและเฉื่อย (Acceleration/deceleration) แม้แรงไม่ได้กระทบต่อ ศีรษะโดยตรง - บาดแผลทะลุถึงสมอง - มีแรงมากระทบ เช่น แรงระเบิด เป็นต้น
  • 6. ความรุนแรงของการบาดเจ็บ สามารถจัดแบ่งได้ออกเป็น 3 ระดับ คือ  ไม่รุนแรง (Mild)  ปานกลาง (Moderate)  รุนแรง (Severe) โดยพบผู้ป่วยที่สมองบาดเจ็บชนิดไม่รุนแรงเป็นร้อยละ 70- 90 ของผู้ป่วย บาดเจ็บที่สมองทั้งหมด
  • 8. Clinical Practice Guideline for Traumatic Brain Injury
  • 9. Moderate to Severe TBI (GCS score 3-12) ก่อนส่งตัวควรพิจารณาดังนี้ 1) Intravenousfluid infusion  ให้เป็น Isotonic solution เช่น Normal saline, lactated Ringer’ s Solution หรือ Acetated Ringer’s solution, ควรหลีกเลี่ยงสารละลายที่มีน้าตาลเป็น ส่วนประกอบ  Rate: ให้ maintenancefluid ตามน้าหนักตัว 2) Endotracheal intubationตามข้อบ่งชี้:  GCS<8  มีแนวโน้มว่าอาการทางระบบประสาทอาจเลวลงและต้องส่งต่อผู้ป่วยเป็นระยะ ทางไกล  อาจหรือมีปัญหาทางเดินหายใจ เช่น อาเจียนมาก มี severe maxillofacial injury เป็นต้น  มี respiratoryfailure ที่ต้องใช้ventilatorขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของแพทย์ผู้ดูแล ในรายที่ไม่ได้ใส่ ET tube ตามข้อบ่งชี้ข้างต้น ควรให้ Oxygen supplement ด้วย mask with bag
  • 10. 3) Hyperventilation respiratory rate ประมาณ 16-20 ครั้ง/นาที เพื่อทาให้ PaCO2 30-35 mmHg ข้อบ่งชี้:  มี signs of transtentorial herniation ได้แก่  unilateral dilated fixed pupil  abnormal respiration  decerebrated or decorticated posture  Rapid deterioration หมายเหตุ ทา hyperventilation เฉพาะในกรณีข้อบ่งชี้ข้างต้น เท่านั้น
  • 11. 4. Medication 1) Mannitol ข้อบ่งชี้: เช่นเดียวกับ hyperventilation ขนาดยา: 1 g/kg drip in 15 min เช่น หนัก 50 kg จะให้ 20% mannitol ประมาณ 250 ml  ถ้าไม่มี mannitol อาจะให้ furosemide 0.5-1 mg/kg IV แทนได้  ควรระวังไม่ให้ในผู้ป่วยที่ hypovolemia และ/หรือ มี Renal failure 2) ยากันชัก พิจารณาให้ในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง ดังต่อไปนี้ 1. Immediate posttraumatic Seizure หรือมีประวัติโรคลมชักมาก่อน 2. ในรายที่ไม่มีอาการชัก เพื่อป้องกัน Early seizure ในกรณีดังต่อไปนี้ 2.1 Intracranial hemorrhage (ถ้าทา CT) 2.2 GCS score <10 2.3 Penetrating head injury 2.4 Depressed skull fracture ขนาดยา: เช่น Phenytoin 18-20 mg/kg drip in 30 min (ไม่เกิน 50 mg / min)
  • 12. 4. Medication (ต่อ) 3) ยาปฏิชีวนะ โดยทั่วไปใน closed head injury ไม่จาเป็นต้องให้ถึงแม้จะมี fracture base of skull ยกเว้นมีแผลบริเวณอื่นสามารถให้ตามข้อบ่งชี้ได้ 4) Tetanus toxoid: ให้ตาม indication 5) Steroids ไม่มีเหตุผลเชิงประจักษ์ที่พิสูจน์ได้ว่ายาในกลุ่ม Steroids ทาให้ ผลการรักษาการบาดเจ็บ ที่ศีรษะดีขึ้น20 5. อธิบายญาติให้เข้าใจถึงสภาวะของผู้ป่ วย เหตุผลที่ต้องส่งตัว 6. โทรศัพท์ติดต่อกับ call center และ/หรือ รพ.ที่ต้องการส่งตัว
  • 14. Low risk patients การดูแลผู้ป่ วย low risk ผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถให้กลับบ้านได้ โดยไม่ต้องสังเกตอาการหรือ CT scan ที่โรงพยาบาล *** แต่ต้องอธิบายถึง ความเสี่ยงและวิธีการสังเกตอาการที่บ้านแก่ผู้ดูแล โดยต้องให้ใบ คาแนะนาไปอ่าน *** ควรมีหลักฐานการอธิบายและรับใบคาแนะนาเก็บไว้ที่ โรงพยาบาลด้วย โดย ขึ้นอยู่กับบริบทของโรงพยาบาล
  • 15. Mild Traumatic Brain Injury – Moderate risk GCS score ลดลงจากเดิม ปวดศีรษะมาก อาเจียนมาก
  • 16. การดูแลผู้ป่ วย mild TBI with moderate risk เลือกสังเกตอาการไว้ในโรงพยาบาล หรือ CT scan ก็ได้ กรณีเลือกสังเกตอาการ  อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจถึงเหตุผลในการรับไว้ในรพ.  Observe vital sign, GCS score และ pupils ทุก 1 ชม. และพร้อมที่จะส่งตัวผู้ป่วยไป ทา CT scan หรือส่งมายังโรงพยาบาลที่มีประสาทศัลยแพทย์ได้ตลอดเวลา  ถ้ามีภาวะดังต่อไปนี้ให้ส่งทา CT scan หรือส่งตัวมายังโรงพยาบาลที่สามารถดูแล ผู้ป่วยสมอง บาดเจ็บได้:: GCS score ลดลงจากเดิม , ปวดศีรษะมาก , อาเจียนมาก ขึ้นกับแพทย์ผู้ดูแล สถานการณ์ และบริบทของ โรงพยาบาล และ ควรส่งผู้ป่ วยทา CT scan ตั้งแต่เริ่มต้นหากไม่ พร้อมในการส่งผู้ป่ วยไปทา CT scan ได้อย่าง รวดเร็ว หรือไม่สามารถสังเกตอาการในโรงพยาบาลได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
  • 17. กรณีเลือกทา CT scan  ถ้า CT scan แล้วผลไม่พบความผิดปกติ ผู้ป่วยมี GCS score 15 และมีอาการคงที่ อาจจาหน่ายผู้ป่วย ได้เมื่อสังเกตอาการครบ 6 ชั่วโมง  ถ้าทา CT scan แล้วพบความผิดปกติ ให้ปรึกษาประสาทศัลยแพทย์ศัลยแพทย์ ทั่วไปที่สามารถดูแล ผู้ป่วยสมองบาดเจ็บได้ หรือส่งตัวมายังรพ.ที่สามารถดูแล ผู้ป่วยสมองบาดเจ็บ การจาหน่ายผู้ป่ วยกรณี mild TBI with moderate risk  ถ้าสังเกตอาการครบ 24 ชม.แล้วไม่มีอาการเปลี่ยนแปลง พิจารณาจาหน่ายผู้ป่วยได้ และนัดมา ติดตามผล 1 สัปดาห์  ผู้ป่วยสมองบาดเจ็บที่จาหน่าย ควรได้รับแผ่นข้อมูลคาแนะนาสาหรับผู้ป่วยสมอง บาดเจ็บ
  • 18. Mild Traumatic Brain Injury – High risk
  • 19. การดูแลผู้ป่ วย mild TBI with high risk  ผู้ป่วยควรได้รับการทา CT scan ทุกราย เนื่องจากมีความเสี่ยงต่อความ ผิดปกติในสมอง  กรณีมี open skull fracture หรือมี focal neulogical deficit และ CT scan แล้วพบความ ผิดปกติ ให้ปรึกษาประสาทศัลยแพทย์ ศัลยแพทย์ทั่วไปที่สามารถดูแล ผู้ป่วยสมอง บาดเจ็บได้ หรือส่งตัวมายังโรงพยาบาลที่สามารถดูแลผู้ป่วยสมองบาดเจ็บ  ถ้า CT scan แล้วผลไม่พบความผิดปกติ สังเกตอาการต่ออีก 6 ชั่วโมง โดยถ้ามีภาวะ ดังต่อไปนี้ให้ส่ง ทา CT scan ซ้าหรือส่งตัวมายังโรงพยาบาลที่สามารถดูแลผู้ป่วยสมอง บาดเจ็บได้ GCS score ลดลงจากเดิม , ปวดศีรษะมาก , อาเจียนมาก , มี focal neurological deficit  เมื่อสังเกตอาการไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมงแล้วผู้ป่วยมี GCS score 15 และอาการปกติ พิจารณาจาหน่าย ผู้ป่วยได้และให้คาแนะนาพร้อมใบคาแนะนากลับไปด้วย
  • 20. แนวทางการส่งตรวจ CT scan กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในเด็ก (CT Scan Guideline for Mild Traumatic Brain Injury in Pediatric Patients) การพิจารณาส่งตรวจ CT scan แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ A. กลุ่มเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี B. กลุ่มเด็กอายุ2-15 ปี
  • 21. Mild Traumatic Brain Injury ในเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี  ตกจากที่สูง >0.9 เมตร (3 ฟุต)  ศีรษะถูกกระแทกอย่างแรง  อุบัติเหตุจราจรที่ผู้ป่วย กระเด็นออกจากยานพาหนะ  ผู้ร่วมโดยสารอื่นเสียชีวิต, ยานพาหนะพลิกคว่า  ถูกรถชนในขณะเดินถนนหรือ ขี่จักรยานโดยไม่สวมหมวกกันน็อค Agitation Somnolence repetitivequestioning slow response to verbal communication.
  • 22. Mild Traumatic Brain Injury ในเด็กอายุ 2-15 ปี  ตกจากที่สูง >1.5 เมตร (5 ฟุต)  ศีรษะถูกกระแทกอย่างแรง  อุบัติเหตุจราจรที่ผู้ป่วย กระเด็นออกจากยานพาหนะ  ผู้ร่วมโดยสารอื่นเสียชีวิต, ยานพาหนะพลิกคว่า  ถูกรถชนในขณะเดินถนนหรือ ขี่จักรยานโดยไม่สวมหมวกกันน็อค
  • 23. ลักษณะทางคลินิกที่ใช้ทานายการบาดเจ็บภายในกะโหลกศีรษะ ภายหลังได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะไม่รุนแรง ประกอบด้วย ● Prolonged LOC ● Amnesia ● อาการชัก ● ปวดศีรษะรุนแรง ● Pediatric GCS score <15 ● Severe mechanism of injury ● สงสัยการบาดเจ็บที่เกิดจากการถูกทารุณกรรม ● Focal neurological deficit ● Signs of a depressed or basilar skull fracture or bulging fontanel ● Non-frontal scalp hematoma for children <2 years of age ● อาการอาเจียนที่เกิดขึ้นหลังการบาดเจ็บหลายชั่วโมง หรืออาเจียนมากกว่า 1 ครั้ง แนวทางการส่งตรวจ CT scan กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในเด็ก (CT Scan Guideline for Mild Traumatic Brain Injury in Pediatric Patients)
  • 24. แนวทางปฏิบัติการ กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในผู้ป่ วยเด็ก 1. ไม่แนะนาการส่งตรวจ CT scan ในผู้ป่ วยเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี เมื่อมีลักษณะดังนี้: ● Normal neurologic examination(including a normal fontanel) ● ไม่เคยมีประวัติชัก ● ไม่มีอาเจียนต่อเนื่อง ● ไม่สงสัยว่าถูกทารุณกรรม ● No parietal,occipitalor temporal scalp hematoma ● No loss of consciousness ● No evidence of skull fracture ● Normal behavior according to the routine caregiver ● No severe mechanism of injury ความเสี่ยงที่จะมีสมองบาดเจ็บในผู้ป่ วยกลุ่มนี้มีน้อยกว่าร้อยละ 0.02
  • 25. 2. แนะนาการส่งตรวจ CT scan ในผู้ป่ วยเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี เมื่อมีลักษณะดังนี้ ● Focal neurologicalfindings ● Depressedmental status ● Irritability ● กระหม่อมโป่ง ● อาเจียนต่อเนื่อง ● มีอาการชัก ● Acute skull fracture, including depressedor basilar fracture ● Definite loss of consciousness ● สงสัยถูกทารุณกรรม ● Underlying condition predisposingto intracranialinjury ● Large non-frontal scalp hematomas, especiallyin children younger than 12 months ● Infants less than three months old with nontrivialtrauma ● Vomiting that is delayed by severalhours after injury or occurs more than once แนวทางปฏิบัติการ กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในผู้ป่ วยเด็ก
  • 26. 3. การสังเกตอาการในผู้ป่ วยอายุน้อยกว่า 2 ปี แนะนาให้สังเกตอาการอย่างน้อย 4-6 ชม. หรือส่งตรวจ CT scan เมื่อมีลักษณะดังนี้ - เมื่อมีอาเจียน - Loss of consciousnessthat is uncertain or very brief (less than a few seconds) - History of lethargy or irritability,now resolved - Behavioral change reported by caregiver - Skull fracture more than 24 hours old (nonacute) - Injury caused by high-risk mechanism of injury (eg, fall more than three to four feet, patient ejection,death of a passenger,rollover, high impact head injury) - Unwitnessed trauma that may be significant แนวทางปฏิบัติการ กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในผู้ป่ วยเด็ก
  • 27. 4. แนะนาการส่งตรวจ CT scan ทันที ในผู้ป่ วยเด็กอายุ 2-15 ปี เมื่อมี ลักษณะดังนี้ ● Focal neurologic findings ● Skull fracture, especially findings of basilar skull fracture ● มีอาการชัก ● Prolonged loss of consciousness ● Altered mental status (eg, agitation, lethargy, repetitive questioning, or slow response to verbal questioning) แนวทางปฏิบัติการ กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในผู้ป่ วยเด็ก
  • 28. 5. การสังเกตอาการในผู้ป่ วยอายุ 2-15 ปี แนะนาให้สังเกตอาการอย่างน้อย 4-6 ชม. และ/หรือส่งตรวจ CT scan เมื่อมี ลักษณะข้อใดข้อหนึ่งดังนี้ - อาเจียน - ปวดศีรษะ - Questionable or brief loss of consciousness with no other signs or symptoms - Injury caused by severe mechanism of injury - หากผู้ป่วยมีอาการรุนแรง ต่อเนื่อง หรือมีอาการมากว่า 1 ข้อ ให้พิจารณาส่งตรวจ CT scan เร็วขึ้น แนวทางปฏิบัติการ กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในผู้ป่ วยเด็ก
  • 29. 6. ควรรับผู้ป่ วยไว้ในโรงพยาบาลหรือพิจารณาส่งต่อไปยังโรงพยาบาลที่มีศักยภาพใน การดูแลรักษา เมื่อมี ข้อบ่งชี้ข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ :- ● เมื่อผู้ป่วยมี CT scan ผิดปกติ และปรึกษาประสาทศัลยแพทย์แล้ว ให้รับไว้ดูแลใน โรงพยาบาลได้ ● CT scan ปกติ แต่ mental status ไม่กลับสู่ภาวะปกติ ● สงสัยถูกทารุณกรรม (suspected inflicted injury) ● อาเจียนอย่างต่อเนื่อง ● ไม่มั่นใจว่าผู้ดูแลจะดูแลผู้ป่วยได้ หรือไม่สามารถพาผู้ป่วยมาตรวจซ้าได้ แนวทางปฏิบัติการ กรณีสมองบาดเจ็บไม่รุนแรงในผู้ป่ วยเด็ก