SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 32
การรับส่งข้อมูลใน PHP
อ.ดร.แจ่มจันทร์ ศรีอรุณรัศมี
คาสั่งต่างๆ ที่ควรรู้ HTML&PHP
คำสั่ง ควำมหมำย
<a href=“URL”> text </a> คำสั่งทำ Link
<form></form> กำรสร้ำงฟอร์มสำหรับรับส่งข้อมูล
Method รูปแบบในกำรส่งข้อมูล
Action กำรกำหนดชื่อไฟล์ที่จะรับข้อมูลต่ำงๆ
ไปประมวลผล
Password เป็นชนิดของเครื่องมือที่ไม่ต้องกำร
เปิดเผยข้อมูล
Input คำสั่งในกำรนำเข้ำข้อมูล
คาสั่งต่างๆ ที่ใช้ในการสร้าง Form
คำสั่ง ควำมหมำย
Name ชื่อเครื่องมือที่ต้องกำรส่งไปทำงำน
Type ประเภทของเครื่องมือ เช่น text filed จะมี
type=“text”
Size ขนำดควำมกว้ำงของ text field
Maxlength จำนวนตัวอักษรสูงสุดที่จะกรอกลงไปในเครื่องมือ
Value กำรกำหนดค่ำเริ่มต้นที่จะแสดงในเครื่องมือ
Text Field เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการรับข้อมูล ประเภทพิมพ์แบบตอบสั้นๆ
เช่น ชื่อ e-mail Password
ตัวอย่าง : Text field
<input name="box" id="box" type="text" size="20" maxlength="15">
<input name="box" id="box" type="text" size="20" maxlength="15">
<br><br>
<input name="password" type="password">
1
2
คาสั่งต่างๆ ที่ใช้ในการสร้าง Form
Hidden Field เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับส่งข้อมูลที่ไม่ต้องการแสดงผล
บนหน้าจอจะไปประมวลผลโดยจะซ่อนหรือแนบข้อมูลนั้นไปพร้อมๆ
กับข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับจากผู้ใช้บริการ เพื่อนาไปใช้งานในส่วนอื่นต่อไป
Text Area เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับรับข้อมูล ประเภทพิมพ์ตอบ
แบบยาว เช่น ที่อยู่ ข้อเสนอแนะ เป็นต้น
ตัวอย่าง : Text Area
<textarea name=“ชื่อเครื่องมือ” cols=“จานวนคอลัมน์” rows=“จานวนแถว”></textarea>
คาสั่งต่างๆ ที่ใช้ในการสร้าง Form
Check Box เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับรับข้อมูลประเภทเลือกตอบ
ที่อนุญาตให้เลือกตอบได้มากกว่า 1 คาตอบ เช่น การเลือกงานอดิเรก
การเลือกสิ่งที่สนใจ เป็นต้น
<input type =“checkbox” name=“ชื่อเครื่องมือ” value=“ค่าที่ถูกส่ง”/>
ตัวอย่าง : Check Box
what is your hobby?<br>
=====================<br>
<input type="checkbox" name="ch1" value="com">
computer game <br>
<input type="checkbox" name="ch2" value="book">
reading<br>
<input type="checkbox" name="ch3" value="sport">
sport<br>
คาสั่งต่างๆ ที่ใช้ในการสร้าง Form
Radio Button เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับรับข้อมูลประเภทเลือกตอบ
ที่อนุญาตให้เลือกตอบได้เพียง 1 คาตอบ เช่น เพศ ชั้นปี อายุ เป็นต้น
<input type =“radio” name=“ชื่อเครื่องมือ” value=“ค่าที่ถูกส่ง”/>
ตัวอย่าง : Radio Button
what is your faculty?<br>
=====================<br>
<input type="radio" name="ch1" value="ed">
Education <br>
<input type="radio" name="ch2" value="sci">
Science<br>
<input type="radio" name="ch3" value="eng">
Engineering<br>
คาสั่งต่างๆ ที่ใช้ในการสร้าง Form
List / Menu เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับรับข้อมูล ในกรณีที่มีคาตอบ
ให้เลือกตอบเป็นจานวนมาก เพื่อประหยัดพื้นที่ในหน้างาน
เช่น ประเทศ จังหวัด อาชีพ เป็นต้น
<select name =“ชื่อเครื่องมือ”>
<option value= “ค่าที่ส่ง”> ข้อความที่แสดง </option>
</select>
รูปแบบการใช้งาน
Menu ใช้สาหรับการแสดงตัวเลือกครั้งละ 1 บรรทัด
List ใช้สาหรับการแสดงตัวเลือกครั้งละมากกว่า 1 บรรทัด
ซึ่งสามารถปรับจานวนบรรทัดได้
ตัวอย่าง : List / Menu
<select name ="list">
<option value="BKK">Bangkok</option>
<option
value="CMI">Chaiangmai</option>
<option value="TRA">Trang</option>
<option value="PYA">Phayan</option>
</select>
คาสั่งต่างๆ ที่ใช้ในการสร้าง Form
File Field เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับให้เลือกอัพโหลดไฟล์
จากเครื่องตนเองขึ้นไปบนเว็บ
<input type="file" name=“ชื่อเครื่องมือ"/>
ตัวอย่าง : File Field
<input type="file" name="f1"/>
<input type="text" name="box" size="20"
maxlength="15">
<input type="file" name="f1"/>
คาสั่งต่างๆ ที่ใช้ในการสร้าง Form
Button เป็นปุ่มที่โปรแกรมเตรียมไว้ให้สาหรับการ Submit
หรือการ Reset ฟอร์ม
<input type="button" value="Submit" onclick="1">
ตัวอย่าง : Button
<input type="button"
value="Submit" onclick="1">
การสร้าง Form
เพื่อรับส่งข้อมูล
การสร้างฟอร์มเพื่อรับส่งข้อมูล
Form คือ องค์ประกอบหนึ่งของเว็บไซต์ ที่ใช้ในการรับข้อมูลจากผู้ใช้บริการ และส่งไป
ประมวลผลกับ Server
การส่งข้อมูลไปยัง Server
การส่งข้อมูลจาก Browser ไปทางานที่ Server มีอยู่
2 วิธี
1) การส่งข้อมูลแบบ POST
เป็นการส่งข้อมูลโดยใช้ฟอร์มในการส่งค่าที่ได้
จากผู้ใช้บริการ ผ่านเครื่องมือต่างๆ เพื่อไปทางาน
ต่อยัง Server
การส่งข้อมูลไปยัง Server
1) การส่งข้อมูลแบบ POST
ตัวอย่าง
คลิกปุ่ม form (EditPlus) / DW
<form name= "form1" method="post" action="post2.php">
username = <input type= "text" name="username"><br><br>
password = <input type= "password" name= "password"><br>
<input type = "submit" name = "Submit" value ="Submit">
</form>
ผลลัพธ์
การรับข้อมูลแบบ POST
<? PHP
echo "username =>".$_POST["username"];
echo "<br>";
echo "password =>".$_POST["password"];
?>
คุณสมบัติของการส่งข้อมูลแบบ POST
• มีการป้ องกันข้อมูลที่ส่งไป โดยจะไม่มีการแสดงค่านั้น
ออกมาให้เห็นทาง address bar
• สามารถส่งข้อมูลได้เป็นจานวนมากถึง 64 kbyte จึงนิยม
ใช้กับการรับส่งข้อมูลที่มีจานวนมาก เช่น ข้อมุลในการ
สมัครสมาชิก
การส่งข้อมูลไปยัง Server
2) การส่งข้อมูลแบบ GET
เป็นการส่งข้อมูลผ่านทาง address bar โดยข้อมูลที่ต้องการนั้นต่อท้ายชื่อ
ไฟล์ที่จะรับข้อมูล เพื่อนาไปใช้งานต่อไป
ส่งเพียงค่ำเดียว
Filename.php?variable=value
ส่งมำกกว่ำ 1 ค่ำ
Filename.php?variable=1&variable=value1&…. variable=valueN
การส่งข้อมูลไปยัง Server
2) การส่งข้อมูลแบบ GET
ตัวอย่าง
<a href="get2.php? A=10&B=20">Link</a>
การส่งข้อมูลไปยัง Server
การรับข้อมูลแบบ GET
ตัวอย่าง
<? php
echo "A =>".$_GET['A'];
echo "<br>";
echo "B =>".$_GET['B'];
?>
คุณสมบัติของการส่งข้อมูลแบบ GET
• สามารถส่งข้อมูลได้เร็วกว่าแบบ POST
• สามารถส่งข้อมูลผ่านได้ทั้งทางลิงค์และฟอร์ม โดย
การกาหนด method=“GET”
• สามารถส่งข้อมูลได้เป็นจานวนสูงสุดเพียง 256
bytes จึงนิยมใช้กับการส่งข้อมูลสาคัญ เช่น ID
หรือ Key ที่จะนาไปใช้งานต่อ เช่น การส่ง ID เพื่อ
ไปค้นหาข้อมูลรายละเอียดจากฐานข้อมูลขึ้นมาใช้
งาน
ตัวอย่ำงกำรสร้ำงฟอร์มรับส่งข้อมูล
<form method="post" action="receive.php">
<table width="450" border="1" cellpadding="0"
cellspacing="1" bordercolor="#999999">
<tr align="center">
<td colspan="2"
bgcolor="#D8D8D8"><strong> FORM </strong></td>
</tr>
<tr>
<td width="191" bgcolor="EEEEEE" ><strong>
Text </strong></td>
<td width= "250" bgcolor="#F7F7F7">
<input type="text" name="txt" size="25"
maxlength="5" value="hello">
</td>
</tr>
<tr>
<td bgcolor="EEEEEE" ><strong>Password
</strong></td>
<td bgcolor="#F7F7F7">
<input type="password" name="pwd">
</td>
</form>
<? PHP
echo $_POST['txt'];
<br>
echo $_POST['pwd'];
?>
ฟอร์มส่งข้อมูล ฟอร์มรับข้อมูล
การบ้าน (งานเดี่ยว สุดท้าย)
ให้นิสิตแต่ละคนออกแบบฟอร์มของตนเอง
โดยเขียนฟอร์มรับและส่ง คือ ไฟล์ส่ง 1 ไฟล์ และไฟล์สำหรับรับ 1 ไฟล์
ตกแต่งตำมควำมสวยงำม
ส่งใน Classstart ในแบบฝึกหัด กำรส่งงำนฟอร์มรับ-ส่งข้อมูล
(ส่งภำยในวันที่ 16 เมษำยน 2558)
ในรำยละเอียดให้แจ้งว่ำฟอร์มนี้เกี่ยวกับอะไรค่ะ
ส่งไฟล์ capture หน้ำจอทั้งสองแนบด้วยค่ะ
เงื่อนไขกำรให้คะแนน มีครบองค์ประกอบของรูปแบบเครื่องมือกำรสร้ำงฟอร์ม
Create an Office Mix
Let’s Get Started…
See Mix
in Action!
https://mix.office.com/watch/1otxpj7hz6kbx
(Copy the link and paste into your browser.
Or, when in a slide show, click the photo.)

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Data structure lecture 3
Data structure lecture 3Data structure lecture 3
Data structure lecture 3Kumar
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer languageIrinApat
 
บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐานบทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐานtapabnum
 
ตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบส
ตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบสตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบส
ตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบสrubtumproject.com
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมwaradakhantee
 
บทที่2 โครงสร้างข้อมูลอาร์เรย์
บทที่2 โครงสร้างข้อมูลอาร์เรย์บทที่2 โครงสร้างข้อมูลอาร์เรย์
บทที่2 โครงสร้างข้อมูลอาร์เรย์tapabnum
 
Php เงื่อนไขต่างๆ
Php เงื่อนไขต่างๆPhp เงื่อนไขต่างๆ
Php เงื่อนไขต่างๆJaemjan Sriarunrasmee
 
การสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือการสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือJaemjan Sriarunrasmee
 
โครงสร้างข้อมูลแบบสแต็ก
โครงสร้างข้อมูลแบบสแต็กโครงสร้างข้อมูลแบบสแต็ก
โครงสร้างข้อมูลแบบสแต็กwaradakhantee
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึมwaradakhantee
 
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์waradakhantee
 
Unit1 psudocode
Unit1 psudocodeUnit1 psudocode
Unit1 psudocodeIrinApat
 
Unit 2 Java Programming
Unit 2 Java ProgrammingUnit 2 Java Programming
Unit 2 Java ProgrammingIrinApat
 
Unit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวา
Unit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวาUnit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวา
Unit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวาIrinApat
 
ภาษาจาวา
ภาษาจาวาภาษาจาวา
ภาษาจาวาSanita Fakbua
 
Unit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptUnit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptIrinApat
 

Andere mochten auch (19)

Algorithm programming
Algorithm programmingAlgorithm programming
Algorithm programming
 
Data structure lecture 3
Data structure lecture 3Data structure lecture 3
Data structure lecture 3
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer language
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐานบทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
 
ตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบส
ตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบสตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบส
ตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบส
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
 
บทที่2 โครงสร้างข้อมูลอาร์เรย์
บทที่2 โครงสร้างข้อมูลอาร์เรย์บทที่2 โครงสร้างข้อมูลอาร์เรย์
บทที่2 โครงสร้างข้อมูลอาร์เรย์
 
Php เงื่อนไขต่างๆ
Php เงื่อนไขต่างๆPhp เงื่อนไขต่างๆ
Php เงื่อนไขต่างๆ
 
การสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือการสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือ
 
โครงสร้างข้อมูลแบบสแต็ก
โครงสร้างข้อมูลแบบสแต็กโครงสร้างข้อมูลแบบสแต็ก
โครงสร้างข้อมูลแบบสแต็ก
 
Programmer1
Programmer1Programmer1
Programmer1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึม
 
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
 
Unit1 psudocode
Unit1 psudocodeUnit1 psudocode
Unit1 psudocode
 
Unit 2 Java Programming
Unit 2 Java ProgrammingUnit 2 Java Programming
Unit 2 Java Programming
 
Unit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวา
Unit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวาUnit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวา
Unit2 เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวา
 
ภาษาจาวา
ภาษาจาวาภาษาจาวา
ภาษาจาวา
 
Unit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptUnit1 decveloping concept
Unit1 decveloping concept
 

Ähnlich wie Post get (12)

06 form input_php
06 form input_php06 form input_php
06 form input_php
 
lesson1 JSP
lesson1 JSPlesson1 JSP
lesson1 JSP
 
Php FORM
Php FORMPhp FORM
Php FORM
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Lect 05
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
 
lesson1 JSP
lesson1 JSPlesson1 JSP
lesson1 JSP
 
Websitebasic
WebsitebasicWebsitebasic
Websitebasic
 
Dw ch08 display_records
Dw ch08 display_recordsDw ch08 display_records
Dw ch08 display_records
 
Website
WebsiteWebsite
Website
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
Webbasic
WebbasicWebbasic
Webbasic
 
Ftp rss mashup gedget widget ai phishing
Ftp rss mashup gedget widget ai phishingFtp rss mashup gedget widget ai phishing
Ftp rss mashup gedget widget ai phishing
 

Post get