SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 17
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy 
โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ 
และการสื่อสารแห่งประเทศไทย
ก่อตั4ง 
ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2539 โดยการรวมตัวของ 3 สมาคม ประกอบด้วย 
สมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมคอมพิวเตอร์ 
แห่งประเทศไทย และสมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย 
วัตถุประสงค์ 
● เสนอแนะนโยบาย และประสานการดำเนินการระหว่างภาครัฐ และภาคเอกชน 
● ติดตามความเปลี่ยนแปลงของไอซีที เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ถึงปัญหา และผลก 
ระทบทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม 
● เสนอแนะการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ 
● ส่งเสริมและก่อให้เกิดการใช้ และพัฒนาอุตสาหกรรมไอซีที 
● ส่งเสริมสนับสนุนการจัดงาน การจัดกิจกรรมและโครงการต่างๆ ทางด้านไอซีที 
● เผยแพร่ แลกเปลี่ยน ประชาสัมพันธ์ความรู้ 
● เสนอแนะให้มีการพัฒนาการใช้ผลิตภัณฑ์และบริการ 
● เสนอแนะให้มีการเสริมสร้าง และกำกับมาตรฐาน และจรรยาบรรณของผู้ 
ประกอบการ
บทบาท 
ด้านการสนับสนุนการกระจายการใช้ไอซีทีไปยังผู้ด้อยโอกาสและตามชนบท 
● โครงการปลูกต้นกล้าปัญญาเด็กไทยของกระทรวงศึกษาธิการ 
● โครงการคอมพิวเตอร์ไอซีทีเพื่อคนไทยในราคาประหยัด 
● โครงการคอมพิวเตอร์ไอซีทีเพื่อน้องเล็ก 
● โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของโรงเรียนในชนบท (ทสรช.) 
ด้านการพัฒนาและยกระดับขีดความสามารถอุตสาหกรรมไอซีที 
● จัดทำระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Linux TLE และ Office TLA 
● โครงการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ของศูนย์เทคโนโลยี 
อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) และสำนักงานมาตรฐาน 
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
บทบาท 
ด้านการเสนอแนะนโยบายและกำหนดทิศทางอุตสาหกรรมไอซีที 
โดยส่งผู้แทนเข้าร่วมในคณะกรรมการคณะอนุกรรมการ และคณะทำงานต่าง ๆ เช่น 
● คณะกรรมการส่งเสริมอุตสาหกรรมไอซีที 
● คณะกรรมการร่าง พ.ร.บ. สภาไอซีที 
● คณะกรรมการอำนวยการจัดงาน ITU Telecom World 2013 
● คณะอนุกรรมการเจรจาข้อตกลงการค้าสินค้าระหว่างประเทศ 
● คณะอนุกรรมการติดตามผลกระทบจากการเปิดเขตการค้าเสรี 
● คณะอนุกรรมการกฎระเบียบการค้าระหว่างประเทศ 
● คณะอนุกรรมการการค้าระหว่างประเทศ 
● คณะทำงาน ASEAN TELSOM ฝ่ายไทยด้าน Universal Access, Digital 
Divide and e-Government (UADD & e-Govt) 
● คณะทำงานระดับสูงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและอิเล็กทรอนิกส์ของ 
อาเซียน (e-ASEAN Task Force)
สมาชิก 
สมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (TCT) 
สมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (CAT) 
สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย (ATCI) 
สมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย (ATSI) 
สมาคมเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ (INA) 
สมาคมอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ไทย (ATCM) 
สมาคมส่งเสริมการส่งออกอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย (TSEP) 
สมาคมสมองกลฝังตัวไทย (TESA) 
สมาคมผู้ประกอบการแอนิเมชั่นและคอมพิวเตอร์กราฟฟิกส์ไทย (TACGA) 
สมาคมอีเลิร์นนิงแห่งประเทศไทย (ELAT) 
สมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์เกมไทย (TGA) 
สมาคมดิจิทอลคอนเทนท์ไทย (DCAT) 
สมาคมสมาพันธ์โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย (TOSF) 
สมาคมผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตไทย (TISPA)
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย 
DIGITAL ECONOMY 
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 
เป้าหมาย 
● สร้าง National Broadband Network ให้บริการการเชื่อมต่อการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง 
● การใช้โครงข่ายการสื่อสารร่วมกันอย่างเป็นธรรมและเสมอภาค (Infrastructure Sharing & Right of Way) 
● สร้าง International Gateway เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันด้วยการ สร้างเครือข่ายใยแก้วใต้ 
ทะเลเชื่อมโยงกับหลายปลายทางเพื่อความมั่นคงทางการสื่อสาร และกำหนดยุทธ์ศาสตร์ให้ไทยเป็น 
ศูนย์กลางของการส่งข้อมูลความเร็วสูงในภูมิภาค AEC 
ตัวชี้วัด 
● เพิ่มศักยภาพในการสื่อสารด้วยความเร็วขั้นต้น 30 Mbps ครอบคลุมพื้นที่ไม่น้อยกว่า 90% ของ 
จำนวนพื้นที่อยู่อาศัยของประชากร ภายในปี 2559 และกำหนดเป้าหมายเป็น 100 Mbps ครอบคลุม 
พื้นที่ 95% ภายในปี 2563 
● รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานราชการ และเอกชนที่ได้รับใบอนุญาตประเภท 3 มีสิทธิ์เท่าเทียมกันในปี 
2558 
● ลดการลงทุนที่ซ้ำซ้อนประหยัดการรั่วไหลของเงินตราไปต่างประเทศได้อย่างน้อย 15% ในปี 2559 
● มีเครือข่ายใยแก้วใต้ทะเลอีก 5 เครือข่าย ภายใน 5 ปี
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย 
DIGITAL ECONOMY 
ด้านธุรกิจและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 
(Business & E-Commerce)
ด้านธุรกิจและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 
เป้าหมาย 
● กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาและส่งเสริมผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงผลักดัน 
ให้เติบโตถึงในระดับภูมิภาค 
● สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ด้วยการสร้างกลไก 
คุ้มครองผู้บริโภค (เช่นเดียวกับสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค) 
● ผลักดันกฎหมายและระเบียบรับรองเอกสารทางการค้าในรูปแบบดิจิทัล 
● เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันด้วยการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านกระบวนการ e-Learning และส่ง 
เสริมการสร้าง Digital Content ภายในประเทศ 
● ขยายโอกาสให้กับอุตสาหกรรม Digital Content พร้อมปรับโฉมธุรกิจดั้งเดิมให้สอดคล้องกับการ 
แข่งขันในยุคปัจจุบัน 
● พัฒนากระบวนการบริหารจัดการให้กับธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SME) โดยประยุกต์ใช้ไอที 
เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มความสามารถทางการแข่งขันอย่างเป็นรูปธรรม
ด้านธุรกิจและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 
ตัวชี้วัด 
● เพิ่มจำนวนผู้ประกอบการเป็น 80,000 ราย ภายในปี 2559 
● สร้างมูลค่าการค้าในรูปแบบ B2C ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ไม่น้อยกว่า 5,000 ล้านบาทในปี 2559 
● สร้างการเติบโตของมูลค่าการซื้อขายมากกว่าร้อยละ 15 ในปี 2559 
● ออกกฎหมายและระเบียบเพื่อรองรับเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ภายในปี 2558 
● ส่งเสริมและผลักดันผู้ประกอบการด้าน e-Learning ให้ผลิตคอนเทนต์ป้อนภาคการศึกษา ธุรกิจและ 
อุตสาหกรรม มีเงินสะพัดไม่น้อยกว่า 10,000 ล้านบาทในปี 2560 
● กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทอล เช่น ซอฟต์แวร์เกมและแอนิเมชั่นอย่างเป็น 
รูปธรรม พร้อมร่วมกับกลุ่มวิชาชีพ และสมาคมธุรกิจต่างๆ กำหนดยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาธุรกิจ 
ต่างๆ เช่น e-Logistic, e-Healthcare, e-Tourism 
● ลดต้นทุนในการบริหารจัดการของธุรกิจเอสเอ็มอีร้อยละ 10 ครอบคลุมจำนวนผู้ประกอบการ 5,000 
ราย ในปี 2558 และ 15,000 รายในปี 2560
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย 
DIGITAL ECONOMY 
ด้านการพัฒนาบุคลากร
ด้านการพัฒนาบุคลากร 
เป้าหมาย 
● พัฒนาบุคลากรภาครัฐเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างมีระบบ 
● สร้างมาตรฐานวิชาชีพนักไอซีที และสร้างมาตรฐานหลักสูตรการพัฒนาบุคลากร 
● ส่งเสริมบุคลากรสร้างสรรค์ โดยการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมโครงการสร้างสรรค์ 
● ส่งเสริมให้เกิดศูนย์กลางข้อมูลดิจิทัลแห่งชาติ (Digital Content Data Center) 
ตัวชี้วัด 
● บุคลากรภาครัฐจะต้องสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตได้ (information literated) 80% 
ภายในปี 2558 
● กำหนดให้บุคลากรในสายงานไอทีต้องผ่านมาตรฐานวิชาชีพนักไอทีซี ไม่น้อยกว่า 60 เปอร์เซนต์ใน 
ปี 2558 และ 100 เปอร์เซนต์ในปี 2559 
● จัดตั้งกองทุนส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรไม่น้อยกว่า 5,000 ล้านบาทในปี 2558 
● จัดตั้งศูนย์กลางข้อมูลดิจิทัลแห่งชาติ ภายในปี 2560
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย 
DIGITAL ECONOMY 
ภาครัฐบาล
ภาครัฐบาล 
เป้าหมาย 
● พัฒนาสู่รัฐบาลดิจิทัล เพื่อลดความซับซ้อนและเพิ่มประสิทธิภาพ 
● ออกหรือปรับแก้กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องการทำธุรกรรมดิจิทัลและธุรกิจไอซีทีให้ทันสมัย 
● ออกหรือปรับแก้กฎหมายและวางโครงสร้างพื้นฐานให้เกิดการบันทึกและแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ 
ภายใต้แนวคิด Open Data เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ 
● จัดทำโครงการ Smart City เพื่อช่วยในการตัดสินใจเชิงนโยบาย 
● จัดทำโครงการ Business Intelligence ภาครัฐเพื่อการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของชาติได้อย่างทัน 
ท่วงที 
● กำหนดกลยุทธ์ในการพัฒนา Business to Government Process ปฏิรูปการประสานงานระหว่างรัฐ 
และเอกชน 
● ปฏิรูปบทบาทและหน้าที่คณะกรรมการกำกับกิจการโทรคมนาคม กิจการกระจายเสียงและกิจการ 
โทรทัศน์แห่งชาติ (กสทช.) 
● สร้างความมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา ด้วยสภาไอซีที เพื่อกำกับดูแล 
การดำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ภาครัฐบาล 
ตัวชี้วัด 
● ปรับกระบวนการทำงานให้เป็นดิจิทัล พัฒนาบุคลากร ปรับกฎหมาย กฎระเบียบที่ไม่เอื้อต่อการ 
ทำงานแบบดิจิทัล ภายในปี 2559 
ออกหรือแก้กฎหมายและระเบียบต่างๆ ธุรกรรมดิจิทัลและธุรกิจไอซีทีให้แล้วเสร็จภายในปี 2558 
● ออกหรือแก้กฎหมายและระเบียบต่างๆ เพื่นรองรับนโยบาย Open Data ให้แล้วเสร็จภายในปี 2559 
● ผลักดันโครงการ Smart City ให้ครอบคลุม 20 จังหวัดในปี 2558 พร้อมเพิ่มเป็น 40 จังหวัดในปี 
2559 และทั่วประเทศในปี 2560 
● เริ่มต้นโครงการ Business Intelligence ภาครัฐในปี 2559 และเสร็จสิ้นในปี 2561 
● พัฒนาระบบงานที่รองรับเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ 40% ในปี 2558 และ 70% ในปี 2559 และเร่งให้ 
ประเทศไทยติด 1 ใน 50 อันดับแรกของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ที่จัดโดย UNPACS 
ปรับรูปแบบการบริหารของ กสทช. ให้สอดคล้องกับพันธกิจด้านโทรคมนาคมและการกระจายเสียง 
ตามนโยบายของรัฐบาล พร้อมกำหนดตัวชี้วัดที่เป็นรูปธรรม 
● จัดตั้งสภาไอซีที พร้อมสรรหาคณะกรรมการ ให้แล้วเสร็จภายในปี 2558
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย 
DIGITAL ECONOMY 
บทสรุป
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT

NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Ähnlich wie ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT (20)

ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
 
IMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in ThaiIMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in Thai
 
e-Government Thailand
e-Government Thailande-Government Thailand
e-Government Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
 
200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government
 
Bangkok1
Bangkok1Bangkok1
Bangkok1
 
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
 
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
 
Ict asean presentation
Ict asean presentationIct asean presentation
Ict asean presentation
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
 
A5 survey 2018 v31
A5 survey 2018 v31A5 survey 2018 v31
A5 survey 2018 v31
 
รายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติ
รายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติรายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติ
รายละเอียดโครงการพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานระบบอัตโนมัติ
 
MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023
 
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to WorkIT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
IT Trends 2019: Putting Digital Transformation to Work
 
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
 
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2018
 
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
 
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
 
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy
 
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
 

Mehr von IMC Institute

Mehr von IMC Institute (20)

นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
 
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
 
บทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AIบทความ The evolution of AI
บทความ The evolution of AI
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
 
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformationเพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
 
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
 
บทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valleyบทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valley
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
 
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
 
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9 IT Trends eMagazine  Vol 3. No.9
IT Trends eMagazine Vol 3. No.9
 
Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016
 
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
 
Digital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.orgDigital transformation @thanachart.org
Digital transformation @thanachart.org
 
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgบทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
 
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformationกลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
กลยุทธ์ 5 ด้านกับการทำ Digital Transformation
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute Vol. 3 No 8 ฉบับเดือนมกราคม - เมษายน 2018
 

ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT

  • 1. ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารแห่งประเทศไทย
  • 2. ก่อตั4ง ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2539 โดยการรวมตัวของ 3 สมาคม ประกอบด้วย สมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมคอมพิวเตอร์ แห่งประเทศไทย และสมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย วัตถุประสงค์ ● เสนอแนะนโยบาย และประสานการดำเนินการระหว่างภาครัฐ และภาคเอกชน ● ติดตามความเปลี่ยนแปลงของไอซีที เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ถึงปัญหา และผลก ระทบทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ● เสนอแนะการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ● ส่งเสริมและก่อให้เกิดการใช้ และพัฒนาอุตสาหกรรมไอซีที ● ส่งเสริมสนับสนุนการจัดงาน การจัดกิจกรรมและโครงการต่างๆ ทางด้านไอซีที ● เผยแพร่ แลกเปลี่ยน ประชาสัมพันธ์ความรู้ ● เสนอแนะให้มีการพัฒนาการใช้ผลิตภัณฑ์และบริการ ● เสนอแนะให้มีการเสริมสร้าง และกำกับมาตรฐาน และจรรยาบรรณของผู้ ประกอบการ
  • 3. บทบาท ด้านการสนับสนุนการกระจายการใช้ไอซีทีไปยังผู้ด้อยโอกาสและตามชนบท ● โครงการปลูกต้นกล้าปัญญาเด็กไทยของกระทรวงศึกษาธิการ ● โครงการคอมพิวเตอร์ไอซีทีเพื่อคนไทยในราคาประหยัด ● โครงการคอมพิวเตอร์ไอซีทีเพื่อน้องเล็ก ● โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของโรงเรียนในชนบท (ทสรช.) ด้านการพัฒนาและยกระดับขีดความสามารถอุตสาหกรรมไอซีที ● จัดทำระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Linux TLE และ Office TLA ● โครงการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ของศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) และสำนักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
  • 4. บทบาท ด้านการเสนอแนะนโยบายและกำหนดทิศทางอุตสาหกรรมไอซีที โดยส่งผู้แทนเข้าร่วมในคณะกรรมการคณะอนุกรรมการ และคณะทำงานต่าง ๆ เช่น ● คณะกรรมการส่งเสริมอุตสาหกรรมไอซีที ● คณะกรรมการร่าง พ.ร.บ. สภาไอซีที ● คณะกรรมการอำนวยการจัดงาน ITU Telecom World 2013 ● คณะอนุกรรมการเจรจาข้อตกลงการค้าสินค้าระหว่างประเทศ ● คณะอนุกรรมการติดตามผลกระทบจากการเปิดเขตการค้าเสรี ● คณะอนุกรรมการกฎระเบียบการค้าระหว่างประเทศ ● คณะอนุกรรมการการค้าระหว่างประเทศ ● คณะทำงาน ASEAN TELSOM ฝ่ายไทยด้าน Universal Access, Digital Divide and e-Government (UADD & e-Govt) ● คณะทำงานระดับสูงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและอิเล็กทรอนิกส์ของ อาเซียน (e-ASEAN Task Force)
  • 5. สมาชิก สมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (TCT) สมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (CAT) สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย (ATCI) สมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย (ATSI) สมาคมเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ (INA) สมาคมอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ไทย (ATCM) สมาคมส่งเสริมการส่งออกอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย (TSEP) สมาคมสมองกลฝังตัวไทย (TESA) สมาคมผู้ประกอบการแอนิเมชั่นและคอมพิวเตอร์กราฟฟิกส์ไทย (TACGA) สมาคมอีเลิร์นนิงแห่งประเทศไทย (ELAT) สมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์เกมไทย (TGA) สมาคมดิจิทอลคอนเทนท์ไทย (DCAT) สมาคมสมาพันธ์โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย (TOSF) สมาคมผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตไทย (TISPA)
  • 6. ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย DIGITAL ECONOMY ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
  • 7. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เป้าหมาย ● สร้าง National Broadband Network ให้บริการการเชื่อมต่อการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ● การใช้โครงข่ายการสื่อสารร่วมกันอย่างเป็นธรรมและเสมอภาค (Infrastructure Sharing & Right of Way) ● สร้าง International Gateway เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันด้วยการ สร้างเครือข่ายใยแก้วใต้ ทะเลเชื่อมโยงกับหลายปลายทางเพื่อความมั่นคงทางการสื่อสาร และกำหนดยุทธ์ศาสตร์ให้ไทยเป็น ศูนย์กลางของการส่งข้อมูลความเร็วสูงในภูมิภาค AEC ตัวชี้วัด ● เพิ่มศักยภาพในการสื่อสารด้วยความเร็วขั้นต้น 30 Mbps ครอบคลุมพื้นที่ไม่น้อยกว่า 90% ของ จำนวนพื้นที่อยู่อาศัยของประชากร ภายในปี 2559 และกำหนดเป้าหมายเป็น 100 Mbps ครอบคลุม พื้นที่ 95% ภายในปี 2563 ● รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานราชการ และเอกชนที่ได้รับใบอนุญาตประเภท 3 มีสิทธิ์เท่าเทียมกันในปี 2558 ● ลดการลงทุนที่ซ้ำซ้อนประหยัดการรั่วไหลของเงินตราไปต่างประเทศได้อย่างน้อย 15% ในปี 2559 ● มีเครือข่ายใยแก้วใต้ทะเลอีก 5 เครือข่าย ภายใน 5 ปี
  • 8. ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย DIGITAL ECONOMY ด้านธุรกิจและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Business & E-Commerce)
  • 9. ด้านธุรกิจและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป้าหมาย ● กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาและส่งเสริมผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงผลักดัน ให้เติบโตถึงในระดับภูมิภาค ● สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ด้วยการสร้างกลไก คุ้มครองผู้บริโภค (เช่นเดียวกับสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค) ● ผลักดันกฎหมายและระเบียบรับรองเอกสารทางการค้าในรูปแบบดิจิทัล ● เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันด้วยการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านกระบวนการ e-Learning และส่ง เสริมการสร้าง Digital Content ภายในประเทศ ● ขยายโอกาสให้กับอุตสาหกรรม Digital Content พร้อมปรับโฉมธุรกิจดั้งเดิมให้สอดคล้องกับการ แข่งขันในยุคปัจจุบัน ● พัฒนากระบวนการบริหารจัดการให้กับธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SME) โดยประยุกต์ใช้ไอที เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มความสามารถทางการแข่งขันอย่างเป็นรูปธรรม
  • 10. ด้านธุรกิจและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ตัวชี้วัด ● เพิ่มจำนวนผู้ประกอบการเป็น 80,000 ราย ภายในปี 2559 ● สร้างมูลค่าการค้าในรูปแบบ B2C ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ไม่น้อยกว่า 5,000 ล้านบาทในปี 2559 ● สร้างการเติบโตของมูลค่าการซื้อขายมากกว่าร้อยละ 15 ในปี 2559 ● ออกกฎหมายและระเบียบเพื่อรองรับเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ภายในปี 2558 ● ส่งเสริมและผลักดันผู้ประกอบการด้าน e-Learning ให้ผลิตคอนเทนต์ป้อนภาคการศึกษา ธุรกิจและ อุตสาหกรรม มีเงินสะพัดไม่น้อยกว่า 10,000 ล้านบาทในปี 2560 ● กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทอล เช่น ซอฟต์แวร์เกมและแอนิเมชั่นอย่างเป็น รูปธรรม พร้อมร่วมกับกลุ่มวิชาชีพ และสมาคมธุรกิจต่างๆ กำหนดยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาธุรกิจ ต่างๆ เช่น e-Logistic, e-Healthcare, e-Tourism ● ลดต้นทุนในการบริหารจัดการของธุรกิจเอสเอ็มอีร้อยละ 10 ครอบคลุมจำนวนผู้ประกอบการ 5,000 ราย ในปี 2558 และ 15,000 รายในปี 2560
  • 12. ด้านการพัฒนาบุคลากร เป้าหมาย ● พัฒนาบุคลากรภาครัฐเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างมีระบบ ● สร้างมาตรฐานวิชาชีพนักไอซีที และสร้างมาตรฐานหลักสูตรการพัฒนาบุคลากร ● ส่งเสริมบุคลากรสร้างสรรค์ โดยการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมโครงการสร้างสรรค์ ● ส่งเสริมให้เกิดศูนย์กลางข้อมูลดิจิทัลแห่งชาติ (Digital Content Data Center) ตัวชี้วัด ● บุคลากรภาครัฐจะต้องสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตได้ (information literated) 80% ภายในปี 2558 ● กำหนดให้บุคลากรในสายงานไอทีต้องผ่านมาตรฐานวิชาชีพนักไอทีซี ไม่น้อยกว่า 60 เปอร์เซนต์ใน ปี 2558 และ 100 เปอร์เซนต์ในปี 2559 ● จัดตั้งกองทุนส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรไม่น้อยกว่า 5,000 ล้านบาทในปี 2558 ● จัดตั้งศูนย์กลางข้อมูลดิจิทัลแห่งชาติ ภายในปี 2560
  • 14. ภาครัฐบาล เป้าหมาย ● พัฒนาสู่รัฐบาลดิจิทัล เพื่อลดความซับซ้อนและเพิ่มประสิทธิภาพ ● ออกหรือปรับแก้กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องการทำธุรกรรมดิจิทัลและธุรกิจไอซีทีให้ทันสมัย ● ออกหรือปรับแก้กฎหมายและวางโครงสร้างพื้นฐานให้เกิดการบันทึกและแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ ภายใต้แนวคิด Open Data เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ ● จัดทำโครงการ Smart City เพื่อช่วยในการตัดสินใจเชิงนโยบาย ● จัดทำโครงการ Business Intelligence ภาครัฐเพื่อการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของชาติได้อย่างทัน ท่วงที ● กำหนดกลยุทธ์ในการพัฒนา Business to Government Process ปฏิรูปการประสานงานระหว่างรัฐ และเอกชน ● ปฏิรูปบทบาทและหน้าที่คณะกรรมการกำกับกิจการโทรคมนาคม กิจการกระจายเสียงและกิจการ โทรทัศน์แห่งชาติ (กสทช.) ● สร้างความมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา ด้วยสภาไอซีที เพื่อกำกับดูแล การดำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
  • 15. ภาครัฐบาล ตัวชี้วัด ● ปรับกระบวนการทำงานให้เป็นดิจิทัล พัฒนาบุคลากร ปรับกฎหมาย กฎระเบียบที่ไม่เอื้อต่อการ ทำงานแบบดิจิทัล ภายในปี 2559 ออกหรือแก้กฎหมายและระเบียบต่างๆ ธุรกรรมดิจิทัลและธุรกิจไอซีทีให้แล้วเสร็จภายในปี 2558 ● ออกหรือแก้กฎหมายและระเบียบต่างๆ เพื่นรองรับนโยบาย Open Data ให้แล้วเสร็จภายในปี 2559 ● ผลักดันโครงการ Smart City ให้ครอบคลุม 20 จังหวัดในปี 2558 พร้อมเพิ่มเป็น 40 จังหวัดในปี 2559 และทั่วประเทศในปี 2560 ● เริ่มต้นโครงการ Business Intelligence ภาครัฐในปี 2559 และเสร็จสิ้นในปี 2561 ● พัฒนาระบบงานที่รองรับเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ 40% ในปี 2558 และ 70% ในปี 2559 และเร่งให้ ประเทศไทยติด 1 ใน 50 อันดับแรกของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ที่จัดโดย UNPACS ปรับรูปแบบการบริหารของ กสทช. ให้สอดคล้องกับพันธกิจด้านโทรคมนาคมและการกระจายเสียง ตามนโยบายของรัฐบาล พร้อมกำหนดตัวชี้วัดที่เป็นรูปธรรม ● จัดตั้งสภาไอซีที พร้อมสรรหาคณะกรรมการ ให้แล้วเสร็จภายในปี 2558