SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 21
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อรายงาน
เรื่อง แผนการปฏิรูประบบอุดมศึกษา
ของคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ
• ปรัชญา และ หน้าที่ ของ อุดมศึกษา
• ประเด็นความเห็นต่อรายงาน
โดย ทวีศักดิ์ กออนันตกูล (๐๖๓)
๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐
(ปรับปรุงเมื่อ ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐)
1
อุดมการณ์ของมหาวิทยาลัย
๑. เพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชน
๒. เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง
และยั่งยืนของประเทศชาติ
๓. เพื่อสันติสุข และสันติภาพ
ของโลกมนุษย์
2ที่มา: ศ.เกียรติคุณ นพ. เกษม วัฒนชัย องคมนตรี บรรยายใหกับผูบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล. วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐
Academic Challenges to Thailand 4.0
1. Education: inclusive and high quality
2. Thai Citizen: quality and discipline
3. Public policy on education and research
4. Private investment on research
3ที่มา: ศ.เกียรติคุณ นพ. เกษม วัฒนชัย องคมนตรี บรรยายใหกับผูบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล. วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐
Excellent
Knowledge Technology Innovation
Services
and
Products
ล้นเกล้ารัชกาลที่ ๕
กับการศึกษาเพื่อสร้างชาติ
• ระยะแรกอาศัยผู้เชี่ยวชาญฝรั่ง
• ส่งคนไปเรียนและดูงานต่างประเทศ เพื่อ
กลับมาทํางานในกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ
“เพราะฉะนั�น เราจึงได้ตักเตือน
นักเรียนเหล่านั�นว่า ให้พึงนึกในใจว่า
เราไม่ได้มาเรียนจะเป�นฝรั่ง
เราเรียนเพื่อจะเป�นคนไทย
ที่มีความรู้เสมอด้วยฝรั่ง”
(๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๐)
4ที่มา: ศ.เกียรติคุณ นพ. เกษม วัฒนชัย องคมนตรี บรรยายใหกับผูบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล. วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐
ความรู้กับคุณธรรม
จะต้องเป�นเรื่องเดียวกัน
“ให้มีความวิตกไปว่า เด็กชั�นหลังจะห่างเหินจากศาสนา
จนเลยกลายเป�นคนไม่มีธรรมในใจมากขึ�น...
คนที่ไม่มีธรรมเป�นเครื่องดําเนินตาม คงจะหันไปทางทุจริตโดยมาก
ถ้ารู้น้อยโกงไม่ใคร่คล่อง �โกงไม่สนิท
ถ้ารู้มาก ก็โกงคล่องขึ�น และโกงพิสดารมากขึ�น
(พระราชหัตถเลขา ล้นเกล้ารัชกาลที่ ๕ พ.ศ. ๒๔๔๑)
5ที่มา: ศ.เกียรติคุณ นพ. เกษม วัฒนชัย องคมนตรี บรรยายใหกับผูบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล. วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐
พระบรมราโชวาท รัชกาลที่ ๙
ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร
แก่นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๕ กรกฎาคม ๒๕๐๕
“ประเทศชาติของเราจะ
เจริญหรือเสื่อมลงนั�น
ย่อมขึ�นอยู่กับการศึกษาของ
ประชาชนแต่ละคนเป�นสําคัญ
ผลการศึกษาอบรมในวันนี�
จะเป�นเรื่องกําหนดอนาคต
ของชาติในวันข้างหน้า...”
6ที่มา: ศ.เกียรติคุณ นพ. เกษม วัฒนชัย องคมนตรี บรรยายใหกับผูบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล. วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐
ว่าด้วยการสอน และ การอบรม
“...ผู้ที่เป�นครูอาจารย์นั�น ใช่ว่าจะมีแต่ความรู้ในทางวิชาการและ
ในทางการสอนเท่านั�นก็หาไม่ จะต้องรู้จักอบรมเด็กทั�งในด้าน
ศีลธรรมจรรยา และวัฒนธรรม รวมทั�งให้มีความสํานึกรับผิดชอบ
ในหน้าที่ และในฐานะที่เป�นพลเมืองดีของชาติต่อไปข้างหน้า
การให้ความรู้หรือที่เรียกว่า การสอนนั�น ต่างกับการอบรม
การสอน คือ การให้ความรู้แก่ผู้เรียน
ส่วนการอบรม เป�นการฝึกจิตใจของผู้เรียนให้ซึมซาบติดเป�นนิสัย
ขอให้ท่านทั�งหลายจงอย่าสอนแต่อย่างเดียว ให้อบรมให้ได้รับความรู้
ดังกล่าวมาแล้วด้วย...”
7ที่มา: ศ.เกียรติคุณ นพ. เกษม วัฒนชัย องคมนตรี บรรยายใหกับผูบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล. วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐
พระบรมราโชวาท รัชกาลที่ ๙
ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตและนักศึกษา วิทยาลัยวิชาการศึกษา
๑๕ ธันวาคม ๒๕๐๓
ว่าด้วยหน้าที่
“...ผู้ที่เป�นครูอาจารย์นั�น ใช่ว่าจะมีแต่ความรู้ในทางวิชาการและ
ในทางการสอนเท่านั�นก็หาไม่ จะต้องรู้จักอบรมเด็กทั�งในด้าน
ศีลธรรมจรรยา และวัฒนธรรม รวมทั�งให้มีความสํานึกรับผิดชอบ
ในหน้าที่ และในฐานะที่เป�นพลเมืองดีของชาติต่อไปข้างหน้า
การให้ความรู้หรือที่เรียกว่า การสอนนั�น ต่างกับการอบรม
การสอน คือ การให้ความรู้แก่ผู้เรียน
ส่วนการอบรม เป�นการฝึกจิตใจของผู้เรียนให้ซึมซาบติดเป�นนิสัย
ขอให้ท่านทั�งหลายจงอย่าสอนแต่อย่างเดียว ให้อบรมให้ได้รับความรู้
ดังกล่าวมาแล้วด้วย...”
8ที่มา: ศ.เกียรติคุณ นพ. เกษม วัฒนชัย องคมนตรี บรรยายใหกับผูบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล. วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐
พระบรมราโชวาท รัชกาลที่ ๙
ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตและนักศึกษา วิทยาลัยวิชาการศึกษา
๑๕ ธันวาคม ๒๕๐๓
หน้าที่
พระราชกระแสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี เกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙
ก. พระเจ้าอยู่หัวทรงยึดมั่นในหน้าที่
ข. หน้าที่ของพระเจ้าอยู่หัว
๑.ในฐานะพระเจ้าแผ่นดิน  ต้องดูแลราษฎร
๒.ในฐานะทรงเป�นพลเมืองดี  เห็นอะไรที่จะทําเพื่อ
บ้านเมืองได้ก็ต้องทํา
(วารสารมูลนิธิชัยพัฒนา, ธันวาคม ๒๕๕๗)
9ที่มา: ศ.เกียรติคุณ นพ. เกษม วัฒนชัย องคมนตรี บรรยายใหกับผูบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล. วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐
เด็ก – เรียน +หัดการงาน+ทําความดี
“เด็ก ๆ นอกจากจะต้องเรียนความรู้แล้ว
ยังต้องหัดทําการงานและทําความดีด้วย
เพราะการทํางานจะช่วยให้มีความ
สามารถ มีความขยัน อดทน พึ่งตนเองได้
และการทําดีนั�น จะช่วยให้มี
ความสุขความเจริญ
ทั�งป�องกันตนไว้ไม่ให้ตกตํ่า
10ที่มา: ศ.เกียรติคุณ นพ. เกษม วัฒนชัย องคมนตรี บรรยายใหกับผูบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล. วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐
พระบรมราโชวาท รัชกาลที่ ๙
พระราชทานเพื่อเชิญลงพิมพ์ในหนังสือวันเด็กประจําปี ๒๕๓๐
(จากหนังสือ “คําพ่อสอน” เล่ม ๑ หน้า ๑๖)
พระบรมราโชบาย
ด้านการศึกษา
ของในหลวง
รัชกาลที่ ๑๐
การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื�นฐานให้แก่ผู้เรียน ๔ ด้าน
๑. ทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
๒. พื�นฐานชีวิต(=อุปนิสัย) ที่มั่นคงเข้มแข็ง มีคุณธรรม
๓. มีอาชีพ – มีงานทํา
๔. เป�นพลเมืองดี
11ที่มา: ศ.เกียรติคุณ นพ. เกษม วัฒนชัย องคมนตรี บรรยายใหกับผูบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล. วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐
๑.
มีทัศนคติที่ถูกต้อง
ต่อบ้านเมือง
•ความรู้ ความเข้าใจต่อชาติบ้านเมือง
•ยึดมั่นในศาสนา
•มั่นคงในสถาบันพระมหากษัตริย์
•มีความเอื�ออาทรต่อครอบครัวและชุมชนของตน
12ที่มา: ศ.เกียรติคุณ นพ. เกษม วัฒนชัย องคมนตรี บรรยายใหกับผูบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล. วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐
พระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐
๑. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
๒. พื�นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง
๓. มีอาชีพ–มีงานทํา
๔. เป�นพลเมืองดี
๒.
มีพื�นฐานชีวิตที่
มั่นคงเข้มแข็ง
– มีคุณธรรม
•รู้จักแยกแยะสิ่งที่ผิด–ชอบ / ชั่ว–ดี
•ปฏิบัติแต่สิ่งที่ชอบ สิ่งที่ดีงาม
•ปฏิเสธสิ่งที่ผิด สิ่งที่ชั่ว
•ช่วยกันสร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง
13ที่มา: ศ.เกียรติคุณ นพ. เกษม วัฒนชัย องคมนตรี บรรยายใหกับผูบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล. วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐
พระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐
๑. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
๒. พื�นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง
๓. มีอาชีพ–มีงานทํา
๔. เป�นพลเมืองดี
๓.
มีอาชีพ
มีงานทํา
• การเลี�ยงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝึกฝนอบรมใน
รักงาน สู้งาน ทําจนงานสําเร็จสถานศึกษา ต้องมุ่งให้
เด็กและเยาวชน
• การฝึกฝนอบรมทั�งในหลักสูตรและนอกหลักสูตร ต้องมี
จุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนทํางานเป�น และมีงานทําในที่สุด
• ต้องสนับสนุนผู้สําเร็จหลักสูตรมีอาชีพ มีงานทํา จน
สามารถเลี�ยงตัวเองและครอบครัว
14ที่มา: ศ.เกียรติคุณ นพ. เกษม วัฒนชัย องคมนตรี บรรยายใหกับผูบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล. วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐
พระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐
๑. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
๒. พื�นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง
๓. มีอาชีพ–มีงานทํา
๔. เป�นพลเมืองดี
๔.
เป�นพลเมืองดี
• การเป�นพลเมืองดี เป�นหน้าที่ของทุกคน
• ครอบครัว สถานศึกษา และสถานประกอบการ
ต้องส่งเสริมให้ทุกคนมีโอกาสทําหน้าที่เป�นพลเมืองดี
• การเป�นพลเมืองดี คือ “เห็นอะไรที่จะทําเพื่อบ้านเมืองได้ก็
ต้องทํา” เช่น งานอาสาสมัคร งานบําเพ็ญประโยชน์ งานสา
ธารณกุศล ให้ทําด้วยความมีนํ�าใจและความเอื�ออาทร
15ที่มา: ศ.เกียรติคุณ นพ. เกษม วัฒนชัย องคมนตรี บรรยายใหกับผูบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล. วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐
พระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐
๑. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
๒. พื�นฐานชีวิตที่มั่นคงเข้มแข็ง
๓. มีอาชีพ–มีงานทํา
๔. เป�นพลเมืองดี
อาการปัญหาของสถาบันอุดมศึกษา
16
•ปัญหาหลักของประเทศ คือ หน่วยงานไม่จริงจังกับหน้าที่หลัก
ของตนเอง ไม่มีความมุ่งมั่น และเต็มไปด้วยการทํางานตาม
คําสั่งของผู้มีอํานาจ ทีมักจะไม่ตรงกับหน้าที่หลัก (และได้รับ
งบประมาณทําทุกปี)
•การจัดสรรงบประมาณแก่สถาบันเป�นการจัดตามจํานวน
นักศึกษา ทําให้มีการอนุมัติหลักสูตรใหม่ๆออกมาซํ�าซ�อนกัน
มากมาย โดยไม่สอดคล้องกับภูมิสังคม
•คุณภาพการสอนแบบ “จ่ายครบ จบแน่” แต่บริษัทหรือ
หน่วยงานต่างๆไม่รับเข้าทํางาน ยังมีอยู่ทั่วไป
•สถาบันการศึกษาไปได้เรื่อยๆ แต่ประเทศแย่ลง
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อรายงานฯ (๑)
17
เห็นด้วยกับรายงาน เรื่อง แผนการปฏิรูประบบการอุดมศึกษา
ทั�งนี� ขอให้พิจารณาเรื่องหน้าที่สถาบันอุดมศึกษา และปรัชญา
เห้าหมายของอุดมศึกษา ก่อนที่จะไปจัดโครงสร้าง
โดยมีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ดังนี�
การปฏิรูประบบการอุดมศึกษาในส่วนของรัฐ
• สถาบันอุดมศึกษา ควรทําหน้าที่สร้างจุดเด่นทางวิทยาการของแต่ละ
สถาบัน มากกว่าแข่งกันเปิดหลักสูตรเหมือน ๆ กันในทุกสาขา และให้รัฐ
สนับสนุนงบประมาณด้านโครงสร้างพื�นฐานให้เพียงพอ เพื่อส่งเสริมให้
เพิ่มความสามารถในการแข่งขันกับนานาชาติได้ เช่น
o มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ด้านเกษตร
o มหาวิทยาลัยมหิดล ด้านชีววิทยาศาสตร์ เป�นต้น
• มหาวิทยาลัยเอกชนที่สามารถสร้างความโดดเด่นได้ รัฐก็ควรร่วม
สนับสนุนด้วย
18
การปฏิรูประบบการอุดมศึกษาในส่วนของ
สถาบันอุดมศึกษา: ประเด็นการควบรวมกระทรวง
จะรวมกระทรวงแบบไหนก็แล้วแต่ กระทรวงที่ดูแลการศึกษา
ของไทยต้องสามารถแก้ไขปัญหาที่มีอยู่ในระดับอุดมศึกษา
และให้ความสําคัญกับเรื่องเร่งด่วนที่ต้องใช�เวลาแก้ไข สาม
ประเด็น
๑. การจัดโครงสร้างหน่วยทางวิชาการในมหาวิทยาลัยที่ควร
ตอบคําถามอนาคตระยะยาวรอบด้าน
๒. การสร้างให้นิสิตนักศึกษาเป�นนวัตกรและนักปฏิบัติ และ
๓. การบริหารความรู้และการเผยแพร่ความรู้ เพื่อสร้าง
มูลค่าแก่สังคม
19
•กระบวนการพัฒนาบุคคลากรวิชาการ ควรเปิด
กว้างและมีความคล่องตัว ดึงดูด global talents
เข้ามาอยู่ในสถาบันอุดมศึกษาในสัดส่วนที่มากขึ�น
โดยเฉพาะสาขาวิชาการใหม่ ๆ ที่เราไม่สามารถไล่
กวดได้ทันง่าย ๆ
•ควรเพิ่มประเด็นความสามารถในระดับนานาชาติ
ออกมาเป�นอีกข้อหนึ่ง
20
การปฏิรูประบบการอุดมศึกษาในส่วนของสถาบันอุดมศึกษา
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อรายงานฯ
21
• ให้นํ�าหนักประเด็นปัญหาผลิตภาพและการบริหารจัดการระหว่าง สกอ.
และ สถาบันอุดมศึกษา ที่ครอบคลุมประเด็นปัจจุบัน แต่ควรเพิ่มประเด็น
การเปลี่ยนแปลงเชิงสถาบันของสถาบันอุดมศึกษาที่มีผลมาจากปัจจัย
การเปลี่ยนแปลงของโลกต่าง ๆ ในส่วน ๒.๑.๖ การสร้างความเข้มแข็ง
ของชาติ โดยเฉพาะการจําแนกประเภทสถาบันอุดมศึกษาไม่ควรแยก
สถาบันอุดมศึกษาออกมาเป�นกลุ่มเฉพาะ แต่ควรส่งเสริมให้
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนมีส่วนเข้าไปร่วมกับสถาบันอุดมศึกษาประเภท
ต่างๆ
• ส่วนที่ ๒ ข้อ ๒.๑.๑ ประเด็นการบริหารที่กล่าวถึงปัญหาของกรรมการ
มหาวิทยาลัย ควรขยายไปถึงรูปแบบองค์กรและการได้มาซึ่งผู้บริหาร
ระดับสูงของสถาบันอุดมศึกษาที่มีความเป�นมืออาชีพ ซึ่งประเด็น
ดังกล่าวเชื่อมโยงกับหัวข้อ ๒.๑.๓ อย่างมาก

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Thaweesak Koanantakool

Humanities in the age of digital technology (English) V5xx
Humanities in the age of digital technology (English) V5xxHumanities in the age of digital technology (English) V5xx
Humanities in the age of digital technology (English) V5xxThaweesak Koanantakool
 
20130816 roles of nstda in promoting innovation in thai industry-2a
20130816 roles of nstda in promoting innovation in thai industry-2a20130816 roles of nstda in promoting innovation in thai industry-2a
20130816 roles of nstda in promoting innovation in thai industry-2aThaweesak Koanantakool
 
20131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)5
20131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)520131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)5
20131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)5Thaweesak Koanantakool
 
20100916 ten-technologies-to-watch-(thaweesak koanantakool)
20100916 ten-technologies-to-watch-(thaweesak koanantakool)20100916 ten-technologies-to-watch-(thaweesak koanantakool)
20100916 ten-technologies-to-watch-(thaweesak koanantakool)Thaweesak Koanantakool
 
20080218 Government Email Service Thaweesak
20080218 Government Email Service Thaweesak20080218 Government Email Service Thaweesak
20080218 Government Email Service ThaweesakThaweesak Koanantakool
 
20080421 Nintendo Wii Game Innovation Talk Thaweesak
20080421 Nintendo Wii Game Innovation Talk Thaweesak20080421 Nintendo Wii Game Innovation Talk Thaweesak
20080421 Nintendo Wii Game Innovation Talk ThaweesakThaweesak Koanantakool
 
20100323 Social Media For Organization Development2
20100323 Social Media For Organization Development220100323 Social Media For Organization Development2
20100323 Social Media For Organization Development2Thaweesak Koanantakool
 
Bringing About A Broadband Future For Thailand2
Bringing About A Broadband Future For Thailand2Bringing About A Broadband Future For Thailand2
Bringing About A Broadband Future For Thailand2Thaweesak Koanantakool
 
จะเรียนจะสอนอย่างไร ให้เป็น บรรณารักษ์ ๒.๐
จะเรียนจะสอนอย่างไร ให้เป็น บรรณารักษ์ ๒.๐จะเรียนจะสอนอย่างไร ให้เป็น บรรณารักษ์ ๒.๐
จะเรียนจะสอนอย่างไร ให้เป็น บรรณารักษ์ ๒.๐Thaweesak Koanantakool
 
20090831 Social Networking For Organizations
20090831 Social Networking For Organizations20090831 Social Networking For Organizations
20090831 Social Networking For OrganizationsThaweesak Koanantakool
 

Mehr von Thaweesak Koanantakool (15)

Humanities in the age of digital technology (English) V5xx
Humanities in the age of digital technology (English) V5xxHumanities in the age of digital technology (English) V5xx
Humanities in the age of digital technology (English) V5xx
 
20130816 roles of nstda in promoting innovation in thai industry-2a
20130816 roles of nstda in promoting innovation in thai industry-2a20130816 roles of nstda in promoting innovation in thai industry-2a
20130816 roles of nstda in promoting innovation in thai industry-2a
 
20131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)5
20131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)520131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)5
20131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)5
 
20100916 ten-technologies-to-watch-(thaweesak koanantakool)
20100916 ten-technologies-to-watch-(thaweesak koanantakool)20100916 ten-technologies-to-watch-(thaweesak koanantakool)
20100916 ten-technologies-to-watch-(thaweesak koanantakool)
 
20080218 Government Email Service Thaweesak
20080218 Government Email Service Thaweesak20080218 Government Email Service Thaweesak
20080218 Government Email Service Thaweesak
 
20080421 Nintendo Wii Game Innovation Talk Thaweesak
20080421 Nintendo Wii Game Innovation Talk Thaweesak20080421 Nintendo Wii Game Innovation Talk Thaweesak
20080421 Nintendo Wii Game Innovation Talk Thaweesak
 
20100323 Social Media For Organization Development2
20100323 Social Media For Organization Development220100323 Social Media For Organization Development2
20100323 Social Media For Organization Development2
 
Bringing About A Broadband Future For Thailand2
Bringing About A Broadband Future For Thailand2Bringing About A Broadband Future For Thailand2
Bringing About A Broadband Future For Thailand2
 
Thailand And Technology Trends
Thailand And Technology TrendsThailand And Technology Trends
Thailand And Technology Trends
 
จะเรียนจะสอนอย่างไร ให้เป็น บรรณารักษ์ ๒.๐
จะเรียนจะสอนอย่างไร ให้เป็น บรรณารักษ์ ๒.๐จะเรียนจะสอนอย่างไร ให้เป็น บรรณารักษ์ ๒.๐
จะเรียนจะสอนอย่างไร ให้เป็น บรรณารักษ์ ๒.๐
 
20090831 Social Networking For Organizations
20090831 Social Networking For Organizations20090831 Social Networking For Organizations
20090831 Social Networking For Organizations
 
20090824 Km Librarian
20090824 Km Librarian20090824 Km Librarian
20090824 Km Librarian
 
20090317 Library Changes That We Need
20090317 Library Changes That We Need20090317 Library Changes That We Need
20090317 Library Changes That We Need
 
20090124 Web2.0 To Libary2.0 Shared
20090124 Web2.0 To Libary2.0 Shared20090124 Web2.0 To Libary2.0 Shared
20090124 Web2.0 To Libary2.0 Shared
 
20090204 Thaweesak It Trends5
20090204 Thaweesak It Trends520090204 Thaweesak It Trends5
20090204 Thaweesak It Trends5
 

20170626 ความเห็นต่อรายงาน สปท. แผนการปฏิรูปอุดมศึกษา v2 b