SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 127
มรดกอารยธรรมโลก 
2.4 อารยธรรมยุคใหม่ 
โดย อ.ดร.กนษิฐา ชติช่าง
2.4.1 การฟื้นฟูศลิปะ 
วทิยาการ 
มาจากภาษาฝรงั่เศสว่า “Renaissance” แปลว่าการ 
เกดิใหม่ (Rebirth) อนัหมายถงึการกลบัไปหาวทิยาการใน 
สมยักรกี– โรมนัทเี่คยรุ่งเรอืงในอดตี โดยเฉพาะอย่างยงิ่คอื 
แนวคดิเกยี่วกบัมนุษยน์ยิม (Humanism) 
ดว้ยพนื้ฐานแนวคดิเรอื่งมนุษยน์ยิมไดท้า ใหยุ้โรป 
เกดิกระบวนการปฏริูปหลายสงิ่หลายอย่างในเวลาใกลเ้คยีงกนั 
นบัตงั้แต่ครสิตศตวรรษที่15 – 18 ซึ่งลา ดบัเหตุการณืไดด้งันี้
 
 ปฏริูปศาสนา 
 การปฏวิตัทิางการคา้ภายใตล้ทัธพิาณิชยน์ยิม และการคน้พบโลกใหม่ 
 การปฎวิตัวิทิยาศาสตร ์ 
 แนวคดิเรอื่งเสรนียิมนาไปสู่ระบบการแข่งขนัโดยเสรี 
 การปฎวิตัเิกษตรกรรม 
 การปฎวิตัอิุตสาหกรรม และ เศรษฐกจิแบบทุนนยิม อนันาไปสู่ลทัธลิ่า 
อาณานคิม 
 นาไปสู่การเกดิสงครามโลกทงั้สองครงั้และการกา้วขนึ้มามอีานาจของ 
สหรฐัฯ
2.4.2 การปฏริูปศาสนา 
 สาเหตุคอื 
-การเกดิสงครามครูเสด 
-ความเสอื่มของศาสนจกัร 
-แนวคดิมนุษยน์ยิม
สงครามครูเสด
สาเหตุมาจากการแย่งชงิดนิแดนอนัศกัดสิ์ทิธิ์และ 
การทชี่าวตะวนัตกตอ้งการทา ลายอทิธพิลทางการคา้ของชาว 
มุสลมิในย่านทะเลเมดเิตอรเ์รเนียน 
ผล คอืทาใหเ้กดิการขยายตวัทางการคา้ ชุมชนและ 
เมืองท่าค้าขาย เกิดชนชั้นกลางหรือ “กระฎุมพ”ี ซึ่งจะเป็นชน 
ชนั้ทอีุ่ปถมัภศ์ลิปะวทิยาการและเป็นชนชนั้ทเี่ห็นขอ้ดอ้ยของ 
ศาสนจกัรทชี่กัจูงคนไปรบในสงครามและทา การขายใบบุญไถ่ 
บาป
ความเสอื่มของศาสนจกัร 
สงฆไ์ม่เคร่งครดัในคา สอน 
 สงฆเ์ห็นกบัลาภสกัการะ มกีารซื้อตา แหน่ง 
ดว้ยเงนิ และขายใบบุญไถ่บาป 
 สงฆม์อีทิธพิลครอบงาทงั้ทางโลกและทาง 
ธรรม และปิดกนั้ความกา้วหนา้ทางวชิาการ 
โดยเฉพาะการอธบิายระบบจกัรวาลและ 
ธรรมชาตทิขี่ดักบัแนว มนุษยน์ยิม
แนวคดิมนุษยน์ยิม 
เป็นแนวคดิทเี่ชื่อมนั่ใน 
ความสามารถของมนุษยแ์ละไม่ 
เชื่อในโชคชะตาฟ้าลขิติ อนั 
เป็นแนวคดิทพี่ฒันามาจากสมยั 
กรกีโดยพวกเสรชีนหรอื 
“กระฎุมพ”ี ทรี่่า รวยมาจาก 
การคา้ช่วงเกดิสงครามครูเสด
ผลของการปฏริูปศาสนา 
 เกดิศาสนาครสิตน์กิายโปรแตสแตนท์ซงึ่เป็นนกิายที่ 
ลดบทบาทของศาสนจกัร แต่เนน้ใหทุ้กคนสามารถ 
เขา้ถงึพระเจา้ไดด้ว้ยตนเอง 
 บุคคลสา คญัทชี่่วยกนัเผยแพร่ศาสนานกิายใหม่นี้ 
ไดแ้ก่ 
- Martin Luther ; Lutherian ในเขตเยอรมนั 
- Calvin; Calvinism ในสวติเซอรแ์ลนด์ 
- Zwingli; Zwinglianism ในสก็อตแลนด ์เป็นตน้
ผลกระทบจากแนวคดิมนุษยน์ยิม 
แนวคดิมนุษยน์ยิมส่งอทิธพิลต่อแวดวง 
วชิาการและศลิปะใหอ้อกมานอกกรอบของ 
ศาสนา หมายถงึการใหค้วามสาคญักบัมนุษย์ 
ทวั่ ๆ ไปแทนบุคคลสาคญัทางศาสนา 
ตวัอย่างนกัคดิทสี่าคญัช่วงนไี้ดแ้ก่
Petrarch 
บดิาทางวรรณคดสีมยัใหม่
Petrarch and Laura De Noves
Machiavelli 
ผลงานเรอื่ง “เจา้ผูค้รองนคร” (The Prince)
ดา้นสถาปัตยกรรม 
เปลยี่นจาก แบบ Gothic
Baroque 
เป็ นแบบบารอค
2.4.3 การปฏวิตัทิางการคา้ 
และการคน้พบโลกใหม่ 
ในสมยัศตวรรษที่12-16 เกดิภาวการณก์ารตนื่ตวัทาง 
การคา้ อนัเนอื่งมาจากมผีูค้นในชนชนั้ไพร่และทาสตดิทดี่นิ 
จานวนมากเดนิทางไปร่วมรบสงคราม ครูเสด ในดนิแดนที่ 
ห่างไกลบา้นเกดิ ทา ใหเ้กดิการแลกเปลยี่นสนิคา้จนเกดิตลาด 
สนิคา้ และกลายเป็นเมอืงทางการคา้ในทสีุ่ด และเป็นการคา้ทใี่ช้ 
เงนิตราเป็นสอื่กลางแทนสงิ่ของแบบแต่ก่อน (Barter System) 
ส่วนพวกไพร่และทาสตดิทดี่นิทหี่นัไปทา การคา้ช่วง 
สงครามก็ร่ารวยขนึ้และเปลยี่นสถานภาพเป็นชนชนั้กลางที่ 
อาศยัอยู่ในเมอืงใหญ่แทนการกลบัไปเป็นเกษตรกร
การคน้พบโลกใหม่ 
ปลายศตวรรษที่15 การขยายตวัทางการคา้ใน 
ยุโรปประสบอุปสรรคจากการตอ้งเสยีค่าใช้จ่ายมากมาย 
ระหว่างการเดนิทางคา้ขายกบัตะวนัออกใหก้บัคนกลางที่ 
เป็นชาวมุสลมิทมี่อีทิธพิลในย่านทะเลเมดเิตอรเ์รเนียน 
รวมถงึปัญหาเงนิและทองซงึ่เป็นทุนสา รองมไีม่พอเพยีง 
วธิกีารแกปั้ญหาเหล่านี้ก็คอืการหาเสน้ทางเพอื่ทา 
การคา้ใหม่เพอื่หลกีเลยี่งอทิธพิลชาวมุสลมิ ทา ให้ 
เกดิปรากฎการณ์ทกี่ษตัรยิส์นบัสนุนนกัเดนิเรอือย่างมาก 
ชาตทิสี่่งเสรมิการเดนิเรอืไดแ้ก่ โปรตุเกส สเปน องักฤษ 
และฝรงั่เศส
ชนชั้นกลางที่เกิดใหม่และอาศัยอยู่ในเมืองเรียกว่า “กระฎุมพี” 
(Bourgeoisie) คนกลุ่มนจี้ะเป็นพ่อคา้คนกลางทา การคา้ระหว่าง 
ภาคพนื้ยุโรปและยุโรปกบัโลกตะวนัออกดว้ย อุปสรรคทางการคา้ 
ของคนกลุ่มนกี้็คอืขุนนางในระบบฟิวดลัทา การกดีกนัการคา้ดว้ย 
การคดิค่าผ่านทางหรอืค่าผ่านแมนเนอรข์องขุนนาง ทา ใหพ้วก 
พ่อคา้ตอ้งหนัไปพงึ่กษตัรยิโ์ดยมกีารใหผ้ลประโยชนซ์งึ่กนัและกนั 
ส่งผลใหก้ษตัรยิเ์รมิ่มบีทบาทต่อประเทศโดยส่วนรวม กษตัรยิ์ 
สามารถปราบปรามอทิธพิลของขุนนางไดส้าเร็จ ในขณะเดยีวกนัก็ 
ทรงออกกฎหมายควบคุมการพาณิชยด์ว้ย ( เพ็ชรีสุมติร 
,บรรณาธกิาร,2527,น.87)
ฉะนนั้พระมหากษตัรยิใ์นช่วงปฎวิตัทิางการคา้จงึมบีทบาทมากใน 
ฐานะผูร้วมประเทศ เช่น ประเทศสเปน ประเทศองักฤษ ประเทศ 
ฝรงั่เศส รวมทงั้ในฐานะผูอุ้ปถมัภก์ารคา้ตามลทัธิพาณิชยน์ยิม 
(mercantilism) ประเทศทปี่ระสบความสา เร็จจากการปฎวิตักิารคา้ 
ภายใตก้ารนาของกษตัรยิต์ามลา ดบัก็คอื โปรตุเกส สเปน องักฤษ 
เนเธอรแ์ลนด์ 
กระบวนการปฎวิตักิารคา้ประสบความสา เร็จจากการคา้ 
ทางไกลโพน้ทะเล จนกระทงั่ศตวรรษที่17 องักฤษ และเนเธอรแ์ลนด ์ 
สามารถครอบครองเสน้ทางการคา้ในทะเลเมดเิตอรเ์รเนียนและทะเล 
บอลตกิไดส้า เร็จ
วธิกีารประกอบการคา้ 
ในระยะแรกของการทา การคา้พ่อคา้ยงัไม่มทีุน ฉะนนั้จงึ 
ตอ้งทาการกูย้มืเงนิมาจากกลุ่มคนทเี่รยีกว่านายทุน โดยนายทุน 
จะไดร้บัส่วนแบ่งกาไร 20-50% ถา้หากการคา้ขาดทุนนายทุนก็ 
สูญเงนิเปล่าโดยไม่ไดร้บัเงนิคนื วธิีการกูย้มืเงนิเรยีกว่า Sea 
Loan (เพ็ชรีสุมติร,บรรณาธกิาร,2527,น.89) 
วธิีการลงทุนอกีแบบคอืการใช้ ต๋วัแลกเงนิ โดยพ่อคา้ 
จะตอ้งส่งเงนิแท่งไปยงัเมอืงการคา้ต่าง ๆ เพอื่ชาระบญัชีโดย
ผูถ้อืต๋วัแลกเงนิจะไปขนึ้เงนิทธี่นาคารสาขาใดและในเมอืงใดก็ได้ 
ซงึ่เป็นธนาคารทมี่กีารไปออกต๋วัแลกเงนิ ( เพ็ชรี สุมติร 
,บรรณาธกิาร,2527,น.89-90) 
ต๋วัแลกเงนิมมีาตงั้แต่ศตวรรษที่12-13 และ 15 ทเี่มอืงฟลอ 
เรนซ์ซงึ่ถอืว่าเป็นเมอืงทมี่อีทิธพิลทางธนาคารของยุโรป และเป็นที่ 
พงึ่ของประเทศต่าง ๆได้เพราะการแลกเปลยี่นเงนิตราของยุโรป 
ตอ้งผ่านธนาคารทฟี่ลอเรนซก์่อน เนอื่งจากเป็นเมอืงทสี่ามารถ 
ผลติเหรยีญทองไดม้ากและไดม้าตรฐานเป็นทยี่อมรบัของประเทศ 
ฝรงั่เศส สเปน และเยอรมนีเพราะทองเป็นของหายากในขณะนนั้ 
นอกจากนฟี้ลอเรนซย์งัร่า รวยจากการคา้ขนสตัวแ์ละผลติพนัธท์ที่า 
จากการคา้ขนสตัวอ์กีดว้ย (เพ็ชรีสุมติร,บรรณาธกิาร,2527,น.90)
ลทัธพิาณิชยช์าตนิยิม 
 เนน้ความสา คญัของเงนิและทองแท่ง หมายถงึความมงั่คงั่ 
ของรฐัเป็นหลกั ในศตวรรษที่16 ประเทศสเปน เป็นประเทศ 
ทรีุ่่งโรจนม์ากทสีุ่ด ซงึ่เงนิและทองแท่งบางครงั้มาจาก 
เมอืงขนึ้หรอืในดนิแดนของตน 
 รฐัส่งเสรมิการเกษตร การอุตสาหกรรม การพาณิชย ์โดยมี 
รฐัเป็นผูด้า เนนิการเพอื่ใหเ้พยีงพอในการเลยี้งดูคนใน 
ประเทศ ทเี่หลอืจงึส่งไปขายต่างประเทศ 
 รฐัเขา้ไปเกยี่วขอ้งกบักจิการทางเศรษฐกจิโดยตรง 
( เพ็ชรีสุมติร,บรรณาธกิาร,2527,น.95-96)
การคน้พบโลกใหม่ 
ปลายศตวรรษที่15 การขยายตวัทางการคา้ในยุโรปประสบ 
อุปสรรคจากการตอ้งเสยีค่าใช้จ่ายมากมายระหว่างการเดนิทางคา้ขาย 
กบัตะวนัออกใหก้บัคนกลางทเี่ป็นชาวมุสลมิทมี่อีทิธพิลในย่านทะเลเมดิ 
เตอรเ์รเนียน รวมถงึปัญหาเงนิและทองซงึ่เป็นทุนสา รองมไีม่พอเพยีง 
วธิีการแกปั้ญหาเหล่านี้ก็คอืการหาเสน้ทางเพอื่ทา การคา้ใหม่ 
เพอื่หลกีเลยี่งอทิธพิลชาวมุสลมิ ทาใหเ้กดิปรากฎการณท์กี่ษตัรยิ์ 
สนบัสนุนนกัเดนิเรอือย่างมาก ชาตทิสี่่งเสรมิการเดนิเรอืไดแ้ก่ 
โปรตุเกส สเปน องักฤษ และฝรงั่เศส
นอกจากนี้การเดนิเรอืยงัมเีป้าหมายเพอื่ใหม้ชิชนันารไีปเผยแพร่ 
ศาสนาครสิตย์งัดนิแดนโพน้ทะเล และเพอื่ตอบสนองความตอ้งการ 
เรยีนรูส้งิ่แปลก ๆทเี่คยไดย้นิไดอ้่านมาจากนกัผจญภยั เช่น มารโ์ค 
โปโล ทไี่ปราชสา นกัจนี ในศตวรรษที่13 และกล่าวถงึเสน้ทางสายไหม 
(silk road) เป็นตน้ 
เสน้ทางทคี่น้พบคอืการเดนิเรอืลงทศิใตอ้อ้มแหลม กู๊ดโฮป 
ของทวปีแอฟรกิา ดนิแดนทคี่น้พบก็คอื ตอนในของทวปีแอฟรกิา ทวปี 
อเมรกิา หมู่เกาะอนิเดยีตะวนัออก และทวปีออสเตรเลยีในทสีุ่ด 
ช่วงระยะทมี่กีารคน้พบโลกใหม่และเสน้ทางเดนิเรอืจาก 
ตะวนัตกสู่ตะวนัออกนี้รูจ้กักนัในนาม “การปฎวิตัทิางการคา้” (คณะ 
อกัษรศาสตร ์จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั,2533,น.28-29)
2.4.4 การปฏวิตัวิทิยาศาสตร์ 
สาระสาคญัของการปฎวิตัวิทิยาศาสตรค์อื การ 
ใช้เหตุผลเชงิประจกัษ์ ซงึ่อยู่บนพนื้ฐานของแนวคดิ 
มนุษยน์ยิม อนัเป็นกระบวนการทเี่กดิขนึ้ระหว่าง 
ศตวรรษที่16-18 ซงึ่ในช่วงแรกเป็นความพยายาม 
ทา งานร่วมกนัระหว่าง นกัปราชญก์บัพวกช่างฝีมอื 
หมายถงึการผสมผสานระหว่างภาคทฤษฎี(scientjfic 
know why)กบัภาคปฎบิตัิ(technological know 
how) ( เพ็ชรี สุมติร, บรรณาธกิาร,2527,น.99) เพอื่ 
ส่งเสรมิคุณภาพชีวติของมนุษยใ์หส้ะดวกสบายยงิ่ขนึ้
ปัจจยัทนี่ามาสู่การปฎวิตัวิทิยาศาสตร์ 
 นกัคดิหนัมาสนใจงานปรชัญาของปราชญช์าวกรกีอกีครงั้ 
โดยเฉพาะงานคน้ควา้ปฎบิตักิารของ ยูคลดิ (Euclid) และ 
อารค์มิดิสิ(Archemedes) รวมถงึการคน้ควา้ทางยา และ 
การแพทย์ 
 การคน้พบโลกใหม่นบัตงั้แต่ครสิตศ์ตวรรษที่15 ทา ใหไ้ดเ้ห็น 
สงิ่แปลกๆใหม่ๆ ทงั้พนัธุพ์ชืและสตัว ์ทา ใหไ้ดเ้ป็นขอ้มูลมาทา 
การวเิคราะหว์จิยั และทา การทดลอง เพอื่สรุปผลออกมา 
 เพอื่ใหเ้กดิความกา้วหนา้ทางเทคโนโลยเีพอื่พฒันาการค้า 
และความมงั่คงั่ของประเทศสบืไป
 อารค์มิดิสิ ทางดา้นดาราศาสตร์ 
 และ คณิตศาสตร์
Euclid 
The Father of Geometry
บทบาทของนกัวทิยาศาสตรส์มยั 
ศตวรรษท1ี่7 
นกัวทิยาศาสตรท์สี่าคญั เช่น ไอแซค นวิตนั เป็นบุคคลที่ 
คน้พบว่า ระบบสุรยิะจกัรวาล อยู่ภายใตร้ะเบยีบแบบแผนทแี่น่นอน 
ตายตวัเหมอืนการทา งานของเครอื่งจกัรกล ทเี่รยีกว่า “กฎแห่ง 
การโนม้ถ่วง” (Law of Gavitation) ซงึ่มนุษยจ์ะเขา้ถงึกฎนไี้ด้ 
ดว้ยวธิกีารทางคณิตศาสตร์ 
ผลของการอธบิายเช่นนที้า ใหว้ธิคีดิแบบศาสนาและ 
วทิยาศาสตรแ์ยกออกจากกนัอย่างชดัเจน เพราะหลงัจากพระเจา้ 
ทรงสรา้งสรรพสงิ่แลว้ก็หมดความสาคญั ทเี่หลอืนนั้มนุษยจ์ะตอ้ง 
เป็นผูไ้ขปรศินาเองเพอื่ใหเ้ขา้ใจธรรมชาติ(เพ็ชรีสุมติร 
,บรรณาธกิาร,2527,น.110)
เป็นทยี่อมรบักนัโดยทวั่ไปว่า ไอแซค นวิตนัมอีทิธพิลต่อ 
ความคดิของชาวยุโรปในช่วงศตวรรษที่17-19 มาก อย่างน้อยก็ทา ให้ 
มนุษยม์กีฎเกณฑท์แี่น่นอนในการอธบิายสรรพสงิ่ต่าง ๆ ใหเ้ป็น 
รูปธรรมดว้ยสมการทางคณิตศาสตร ์ หากสงิ่ใดทไี่ม่สามารถอธบิายได้ 
ดว้ยสมการก็จะถอืว่าไม่เกยี่วขอ้งกบัเหตุผลทางวทิยาศาสตรเ์ลย และ 
กลบัถูกมองว่าเป็นเรอื่งเหลวไหล เช่นเรอื่งภูตผปีิศาจเป็นตน้ (ธาวติ 
สุขพานชิ,2542,น.30) 
บุคคลทสี่า คญัอกีคนหนงึ่ในช่วงปฎวิตัวิทิยาศาสตรก์็คอื 
เซอร์ฟรานซิส เบคอน
Sir Francis Bacon 1580-1626
ฟรานซิส เบคอน เป็นนกัคดิ นกัปรญัา 
และนกัเขยีน และเป็นนกัคดิตน้แบบในเรอื่ง 
Inductive Reasoning, Scientific Method 
หมายถงึ การสรา้งคา อธบิายภายใตก้าร 
ตงั้สมมตฐิาน และนาไปสู่การทดลองก่อนสรุปเป็น 
คาตอบ(WWW.Wilsonalmanac.com)
Rene Descartes 
เป็นนักปรัชญาและนักคณิตสาสตร์ชาว 
ฝรั่งเศส
Rene Descarte เป็นผูว้างรากฐานเรอื่ง 
แคลคูลสั (ซงึ่ต่อมาพฒันาโดย นวิตนั) จน 
ไดฉ้ายาว่าเป็น บดิาแห่งคณติศาสตร์ 
สมยัใหม่ (Father of modern 
mathematics) และเป็นผูว้างรากฐาน 
ระเบยีบวธิแีบบ skepticism
ความสา คญัของการปฏวิตัวิทิยาศาสตร์ 
ทมี่า: เพ็ชรี สุมติร,บรรณาธกิาร,2527,น.110-115. 
ประการแรก ทาใหเ้กดิการประดษิฐค์ดิคน้อย่างไม่หยุดยงั้ 
ก่อใหเ้กดิการประดษิฐเ์ครอื่งจกัรกล และการปฏวิตัิ 
อุตสาหกรรมตามมา 
ประการทสี่อง ก่อใหเ้กดิการปฏวิตัทิางความคดิ ที่ 
เรยีกว่า Age of Enlightenment โดยใช้เหตุผลเป็นพนื้ฐาน 
ต่อมาไดม้กีารนาเอาแนวคดิทางวทิยาศาสตรไ์ปศกึษาเรอื่งราว 
ของมนุษยแ์ละเรอื่งราวทางการเมอืง อนันาไปสู่การเกดิแนวคดิ 
ทสีา คญัสองแนวคดิคอื
แนวคดิของสา นกัธรรมชาติ (School of 
natural law) หมายถงึการมองการเมอืงใหส้อดคลอ้งกบั 
ธรรมชาติเช่นการรวมกลุ่มของมนุษย ์ซงึ่เป็นไปตาม “กฎ 
ของธรรมชาต”ิ (Natural Law) ทมี่เีหตุผลรองรบัชุด 
หนงึ่ 
แนวคดิของสานกัเหตุผลนยิม (School of 
Reason) ศกึษาสภาพแวดลอ้มทมี่ผีลต่อจติใจของมนุษย ์ 
ทางดา้นทศันคตแิละบุคลกิภาพ อนัเป็นทมี่าของวชิา 
จติวทิยา
แนวคดิเรอื่งเสรนียิมและการแข่งขนัโดยเสรี 
แนวคดิเรอื่งเสรนียิมพฒันามาจากแนวคดิของ จอหน์ 
ล็อค และ รุสโซ ในศตวรรษที่18 โดยเฉพาะแนวคดิของ ล็อคที่ 
เนน้ว่ามนุษยท์ุกคนมสีทิธมิาแต่เกดิโดยธรรมชาติคอื ทุกคนมี 
สทิธใิน ชีวติ สทิธใินทรพัยส์นิและสทิธใินอสิรภาพและเสรภีาพ 
ดว้ย รฐับาลจะตอ้งเคารพในสทิธขิองมนุษย ์( อกัษรศาสตร,์ 
จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั,2533,น.54,85) ซงึ่แนวคดินจี้ะไป 
สมัพนัธก์บั แนวคดิทางการปกครองแบบประชาธปิไตย และ 
เศรษฐกจิแนวเสรนียิม 
เศรษฐกจิแนวเสรนียิมไดอ้ทิธพิลมาจาก อาดมัสมธิ
(Adam Smith) ทนี่าเสนอทฤษฎกีารผลติและจาหน่าย 
อย่างเสรีหรอืทเี่รยีกว่า “Laissez – faire” ในหนงัสอืเรอื่ง 
“Wealth of Nations” ค.ศ.1776 ว่า รฐับาลควรปล่อยให้ 
เศรษฐกจิดา เนนิไปอย่างเสรีโดยไม่ตอ้งเขา้ไปยุ่งเกยี่ว เพียงให้ 
รฐับาลคอยดูแลใหม้กีารปฏบิตักินัตามระเบยีบตามสญัญา 
ทางการคา้ หรอืเฉพาะเวลามปีัญหาเท่านนั้ (อกัษรศาสตร,์ 
จุฬาลงกรณม์หาวทิยาลยั,2533,น.84) 
อาดมัสมธิไดอ้ทิธพิลแนวคดิมาจากนกัคดิหลายคน 
ก่อนหนา้เขา ไดแ้ก่ จอหน์ ล็อค และ ปูเฟนดอรฟ์(Pufendorf) 
ซงึ่เป็นเจา้ของความคดิเรอื่ง “สทิธติามธรรมชาต”ิ (Natural -
Rights) ดงัทกี่ล่าวมาแลว้ในตอนตน้ โดย อาดมั 
สมธิ ไดข้ยายความคา อธบิายสทิธแิละเสรภีาพ 
จากทางดา้นการเมอืงไปสู่ทางดา้นเศรษฐกจิ ซึ่ง 
มสีาระสาคญัดงัทกี่ล่าวมาแลว้
2.4.5 การปฏวิตัเิกษตรกรรม 
การปฏวิตัเิกษตรกรรมเกดิขนึ้ในระยะแรกทปี่ระเทศ 
องักฤษ ในราวศตวรรษที่17 เมอื่องักฤษอยู่ในระยะการตนื่ตวั 
การผลติผา้ขนแกะไปจา หน่าย การเลยี้งแกะตอ้งอาศยัทดี่นิ 
และอาหารสา หรบัแกะประเภท หญา้ (clover) และพชืทเี่ป็นหวั 
(turnip) (ฉตัรทพิย ์ นาถสุภา,2536.) ฉะนนั้ผูเ้ลยี้งแกะจงึตอ้ง 
พฒันาเทคนคิการปลูกพชืเพอื่เลยี้งแกะจา นวนมาก รวมถงึ 
เจา้ของทดี่นิก็จะทา การลอ้มรวั้(enclosure) เพอื่จะไดท้าการ 
เลยี้งแกะเฉพาะในเขตของตนเท่านนั้ ทาใหช้าวนาหมดสทิธใิ์น 
การใช้ทดี่นิทวี่่างเปล่าหรอื
ทดี่นิสาธารณะเหมอืนดงัแต่ก่อน 
นอกจากนเี้จา้ของทดี่นิยงัทาการ 
ปรบัปรุงพนัธุส์ตัวเ์ช่นววัใหด้ขีนึ้ควบคู่ไปกบัการ 
ปรบัปรุงพนัธุพ์ชื ลกัษณะเช่นนจี้งึเรยีกว่าการ 
ปฏวิตัเิกษตรกรรม ซึ่งเกดิควบคู่ไปกบัการปฏวิตัิ 
ทางการคา้กบัดนิแดนโพน้ทะเล
2.4.6 การปฏวิตัอิุตสาหกรรมครงั้ที่1 ในประเทศองักฤษ 
ทมีา: ฉตัรทพิย ์ นาถสุภา,2536. 
การปฏวิตัอิุตสาหกรรมเรมิ่ขนึ้แห่งแรกในองักฤษเมอื่ประมาณ 
ทศวรรษ ที่1780 และเห็นชดัเจนเมอื่ ค.ศ. 1830 สบืเนื่องมาจาก 
องักฤษมคีวามพรอ้มทางดา้นแรงงานทผี่นัตวัมาจากชาวนาทสีู่ญเสยี 
ทดี่นิ องักฤษมทีุนหมุนเวยีน และมทีรพัยากรถ่านหนิทเี่พยีงพอ
กระบวนการปฎวิตัอิุตสาหกรรม 
 เรมิ่จาก เจมส ์วตั (James Watt 1736 -1819) จด 
ทะเบยีนเครอื่งจกัรไอนา้ของเขา ในค.ศ. 1769 อนั 
เป็นเครอื่งจกัรทมี่คีวามสาคญัคอื 
 ใช้ในอุตสาหกรรมสงิ่ทอ ใช้ในการถ่ายเทนา้ออก 
จากเหมอืง ใช้ในโรงงานทา นา้ตาล ทา แป้ง ทา เบยีร ์ 
ขบัเคลอื่นหวัรถจกัรและเรอืเดนิสมุทร 
 ใช้เป็นแหล่งกา เนดิพลงังานอสิระ ทไี่ม่ตอ้งพงึ่สภาพ 
ภูมอิากาศ
 โรงงานทอผา้ฝ้ายคอืขนั้ตอนแรกของ 
การปฏวิตัอิุตสาหกรรม 
การปฎวิตัอิุตสาหกรรมเรมิ่จากการนา 
เครอื่งจกัรไปใช้ในโรงงานสงิ่ทอ โดยเฉพาะฝ้ายซงึ่ 
ถอืว่าเป็นการเรมิ่ตน้ปฏวิตัอิุตสาหกรรมแห่งแรก 
ของโลก จนกระทงั่ ค.ศ. 1805สงิ่ทอฝ้ายได้ 
กลายเป็นสนิคา้ทสี่าคญัจนสนิ้สุดศตวรรษที่19 
โดยมกีารตงั้โรงงานอยู่ในชนบทรอบๆเมอืง 
แมนเชสเตอร ์และ กลาสโกว์
 ฝ้ายวตัถุดบิทอี่งักฤษนามาใช้ทอในโรงงานส่วนใหญ่ 
มาจากต่างประเทศ ช่วงแรกประมาณก่อนค.ศ.1790 
มาจากหมู่เกอนิเดยีตะวนัตก หลงัจากนนั้มาจาก 
อเมรกิา 
 ตลาดทรี่บัซื้อผา้ฝ้ายจากองักฤษก็คอื ก่อน 
ค.ศ.1790 ขายผา้ฝ้ายภายในประเทศ ต่อจากนนั้ก็ 
ขายประเทศเพอื่นบา้นและอเมรกิา หลงัค.ศ.1815 
ขายใหอ้เมรกิาเป็นหลกั หลงั ค.ศ.1840 ขายใหก้บั 
ประเทศดอ้ยพฒันา โดยเฉพาะอนิเดยี
 ผลผลติสงิ่ทอผา้ฝ้ายมคีวามสาคญัมากและไดเ้ขา้มา 
แทนที่ผา้ขนสตัว ์โดยเฉพาะช่วงค.ศ.1780-1840 
 การปฏวิตัอิุตสาหกรรมขององักฤษทเี่น้นวตัถุดบิและ 
ตลาดจากประเทศโพน้ทะเล เช่น อนิเดยี ทา ให้ 
องักฤษตอ้งเขา้สู่การพฒันากองเรอืรบ และเขา้ 
ครอบงา อาณานคิมโพน้ทะเลอย่างเขม้งวด
ผลจากการปฎวิตัอิุตสาหกรรมครงั้ที่1 
 องักฤษพฒันากองเรอืรบ อนัเป็นสญัญาณที่ 
ชี้ใหเ้ห็นว่าในอนาคต ประเทศอนื่ ๆ ก็จะใช้วธินีี้ ซงึ่ 
จะก่อใหเ้กดิสงครามโลกครงั้ที่1 ไดง้่าย เช่น 
เยอรมนั 
 การพฒันาอุตสาหกรรมทา ใหเ้กดิชนชนั้ใหม่ใน 
สังคมที่เรียกว่า ชนชั้นกระฎุมพอีุตสาหกรรม 
(Industrial Bourgeoisie) ซงึ่หมายถงึชนชนั้ผู้ 
เป็นเจา้ของกจิการอุตสาหกรรมซงึ่มฐีานะดแีละ 
อาศยัตามเมอืงใหญ่ๆ
 ชนชั้นกระฎุมพอีุตสาหกรรมขององักฤษกา้วมาจากการดา เนนิ 
กจิการสงิ่ทอฝ้ายและการถลุงเหล็ก โดยเฉพาะหลงั 
ค.ศ.1785 ชนชนั้นี้กา้วมาจากลูกของชนชนั้เจา้ทดี่นิ หรอืไม่ก็ 
ชาวนา เนื่องจากการทา อุตสาหกรรมในช่วงนนั้ไม่ตอ้งการการ 
ลงทุนสูง 
 กระฎุมพีทปี่ระสบความสา เร็จจนร่ารวยมกัจะไดร้บั 
ยศถาบรรดาศกัดิ์เช่น Sir Robert Peel (1788-1850) 
เจา้ของธุรกจิทอผา้ฝ้าย มาจากชาวนา (ฉตัร-ทพิย ์นาถสุภา 
,2536,น.11-12) เป็นตน้ 
กล่าวโดยสรุปชนชนั้ชาวนาและช่างฝีมอืสามารถเลอื่น 
ชนั้ทางเศรษฐกจิและสงัคมไดอ้ย่างอสิระ
การปฎวิตัอิุตสาหกรรมครงั้ทสี่อง 
ค.ศ. 1804-1895 
 อุตสาหกรรมหลกัเปลยี่นจากสงิ่ทอฝ้ายไปเป็น ถ่านหนิ 
และเหล็ก เพอื่ผลติ เครอื่งจกัร พาหนะ รถไฟ และเรอืเดนิ 
สมุทร เพราะการขยายตวัของเมอืงและตลาดการคา้ ทา 
ใหจ้าเป็นตอ้งขยายระบบการคมนาคมใหก้วา้งขวางขนึ้ 
 ส่งผลใหใ้นศตวรรษที่19 องักฤษ ผลติถ่านหนิและถลุง 
เหล็กเพมิ่ขนึ้ การผลติถ่านหนิจากค.ศ.1830-1865 ที่ 
ผลติได้22 ลา้นตนัต่อปี ไปเป็น 110 ลา้นตนัต่อปี ในค.ศ. 
1870 (ฉตัรทพิย ์ นาถสุภา,2536,น. 13-14)
 บ่อถ่านหนิขององักฤษมหีลายแห่ง เช่น Edinburgh Glasgow 
Newcastle Sheffield Manchester Birmingham เป็นตน้ 
ทาใหส้ามารถผลติถ่านหนิไดม้ากขนึ้เพราะมบี่อถ่านหนิจา นวน 
มาก (ฉตัรทพิย ์นาถสุภา,2536,น.14) 
 ผลผลติถ่านหนิทเี่พมิ่ขนึ้มผีลต่อการผลติเหล็กทเี่พมิ่ขนึ้และยงั 
มรีาคาถูกดว้ย เนอื่งจากกลางศตวรรษที่19 องักฤษสามารถหา 
วธิีการใช้ถ่านหนิถลุงเหล็กแทนถ่านไม้ 
 การผลติเหล็กทาใหอ้งักฤษพฒันาการผลติรถไฟส่งออกดว้ย 
เนอื่งจากในศตวรรษที่19 ทวั่โลกกาลงัตนื่ตวัสรา้งทางรถไฟ 
ส่วนใหญ่ใช้วสัดุและเทคนคิจากองักฤษ
(ฉตัรทพิย ์นาถสุภา,2536,น.16) 
 รถไฟจะช่วยใหก้ารขนส่งสนิคา้ไปอย่างรวดเร็วและมี 
ประสทิธภิาพ ดงันนั้ในศตวรรษที่19 สนิคา้ออกขององักฤษ 
ประเภท เหล็ก ถ่านหนิ อุปกรณ์รถไฟ จงึเพมิ่มากขนึ้เร็วมาก 
จนสามารถเพมิ่รายไดป้ระชาชาตใิหก้บัองักฤษ 
 นอกจากนี้ในศตวรรษที่19 องักฤษยงัเป็นเจา้ของเรอืกลไฟ 
ขนาดใหญ่ ทาใหอ้งักฤษ มอีทิธพิลทางการคา้ทางทะเลดว้ย 
 ฉะนนั้ในช่วงนี้ประเทศอาณานคิมขององักฤษจงึมคีวามสา คญั 
ต่อองักฤษมาก เพราะทงั้เป็นตลาดการคา้และแหล่งวตัถุดบิที่ 
สา คญั
 อาณานคิมขององักฤษจงึมี 
ความสาคญัมากกว่าประเทศใน 
ภาคพนื้ยุโรป โดยเฉพาะในศตวรรษที่ 
19
นโยบายการคา้ระหว่างประเทศ 
ขององักฤษในศตวรรษที่ 19 
 ศตวรรษที่19 องักฤษใช้นโยบายเสรนียิม 
(Liberalism)แทนที่พาณิชยช์าตนิยิม(Mercantilism) 
ในศตวรรษที่15 
 สาระสาคญัของลทัธเิสรนียิม คอื รฐับาลจะไม่เขา้ยุ่ง 
เกยี่วกบัการคา้ของเอกชนโดยไม่จาเป็น ดงัทกี่ล่าว 
มาแลว้อนัเป็นไปตามหลกัการเสรนียิมของ จอหน์ ล็อค 
และ รุสโซ รวมถงึ อาดมัสมธิดงันนั้องักฤษจงึออก 
กฎหมาย “ยกเลกิการคุม้ครองการผลติขา้วโพด 
ภายในประเทศ” ในค.ศ.1842
( Repeal of the Corn Laws), 
(ฉตัรทพิย ์นาถสุภา,2536,น.18) การทอี่งักฤษใช้ 
นโยบายการคา้แบบเสรนียิมเพราะตรงกบัความ 
ตอ้งการของรฐับาลทมี่าจากชนชนั้เจา้ทดี่นิ และ 
รวมถึงพลเมืองที่เป็นชนชั้นกระฎุมพีในขณะนนั้ 
รวมถงึองักฤษไม่ตอ้งการใหม้กีา แพงภาษีมาปิดกนั้ 
ตลาดการคา้ของตนในอาณานคิมดว้ย
ช่วงก่อนสงครามโลกครงั้ที่1 เยอรมนัเป็นผูน้า 
การผลติเครอื่งไฟฟ้าและการวางระบบรถรางแบบไฟฟ้า 
ช่วงนเี้ครอื่งกา เนดิพลงัดว้ยไฟฟ้าไดเ้ขา้มาแทนที่ 
เครอื่งจกัรไอนา้ 
อาจกล่าวไดว้่าการเจรญิทางเศรษฐกจิของ 
เยอรมนัซงึ่วางอยู่บนการพฒันาอุตสาหกรรมหนกันเี้จรญิ 
อย่างรวดเร็วในช่วงปลายศตวรรษที่19 ถงึตน้ศตวรรษที่ 
20 
ความเจรญิกา้วหนา้ทางดา้นอุตสาหกรรมของ 
เยอรมนัมาจากปัจจยัพนื้ฐานสามประการคอื
1. การพฒันาเสน้ทางรถไฟทวั่ประเทศ 
2. การระดมทุนสาธารณะอนัมาจากเปิดโอกาสให้ ประชาชน 
เขา้มาซื้อหุน้เป็นเจา้ของกจิการร่วมรวมถงึการรวมทุนตงั้ 
ธนาคารเพอื่พฒันาอุตสาหกรรม ซึ่งวธิีการระดมทุนเช่นนี้จะทา 
ใหม้เีงนิทุนไดอ้ย่างรวดเร็ว ซึ่งแตกต่างจากองักฤษทใี่ช้การ 
สะสมทุนมาจากผลกาไรทมี่าจากการคา้ 
3. เยอรมนัเน้นการผลติช่างเทคนคิ และการคน้ควา้ทาง 
วทิยาศาสตร ์ทาใหเ้ยอรมนัไดชื้่อว่าเป็นผูผ้ลติทกี่า้วหน้า
ทางเทคโนโลยทีสีุ่ดในช่วงปลายศตวรรษที่19 
เป็นตน้มา
ความโดดเด่นทางอุตสาหกรรมของ 
เยอรมนัช่วงปลายศตวรรษที่19 
การทเี่ยอรมนัเน้นการคน้ควา้ทางวทิยาศาสตรแ์ละ 
เทคนคิต่าง ๆ ทาใหเ้ยอรมนักา้วขนึ้มามบีทบาทในฐานะผูผ้ลติ 
และส่งออกสนิคา้อุตสาหกรรมเคมแีละไฟฟ้า 
การคน้พบสารสงัเคราะห ์aniline dyes จากนา้มนัดา 
จากถ่านหนิ (ฉตัรทพิย ์นาถสุภา,2536,น.77) ซึ่งนามาใช้เป็น 
ส่วนประกอบสยีอ้มผา้ ทาใหส้ยีอ้มผา้มคีุณภาพดี ส่งผลให้ 
เยอรมนัครอบครองตลาดสยีอ้มผา้ทวั่โลกกว่า 90 เปอรเ์ซ็นต ์ 
(ฉตัรทพิย ์นาถสุภา,2536,น.77)
นอกจากนี้เยอรมนัยงัเป็นเจา้ของอุตสาหกรรมยารกัษา 
โรคทมี่ชีื่อเสยีงทวั่โลกในนาม บรษิทัBayer และ 
Hoechst (ฉตัรทพิย ์นาถสุภา,2536,น.77) 
ดา้นอุตสาหกรรมไฟฟ้า มสีองบรษิทัชนั้นาคอื 
บรษิทั Siemens และบรษิทั Allgemeine Elektrizitats 
Gesellschaft (AEG) บรษิทั ซีเมน ผลติสายไฟฟ้า สายโทร 
เลข และไดนาโม บรษิทั AEG ผลติเครอื่งกาเนดิไฟฟ้าขนาด 
ใหญ่ และระบบส่งกระแสไฟฟ้าไปทางไกลๆ 
(ฉตัรทพิย ์นาถสุภา,2536,น.77-78)
การจดัการเศรษฐกจิในรูปบรรษทั 
ความเจรญิกา้วหนา้ทางอุตสาหกรรมของ 
เยอรมนัมาจากปัจจยัทสี่าคญัอกีประการหนงึ่คอื การ 
บรหิารระบบธุรกจิแบบบรรษทั หมายถงึการรวมตวักนั 
ของธุรกจิแบบเดยีวกนั เรยีกว่า Cartel โดยรฐัจะเป็นผู้ 
ประสานงานระดบัการวางแผนงานให้วธินีจี้งึไม่ใช่การ 
แข่งขนักนัภายใตร้ะบบตลาด วธิกีารเช่นนจี้งึเรยีกว่าเป็น 
ระบบทุนนยิมแบบบงัคบั หรอื corporation capitalism 
คอืเป็นทุนนยิมทมี่กีารวางแผนมาจากส่วนกลางไม่ใช่
ไม่ใช่ทุนนยิมเสรเีหมอืนดงัองักฤษและอเมรกิา ฉตัร 
ทพิย ์ นาถสุภา,2536,น.78-79) 
ลกัษณะทางเศรษฐกจิเช่นนี้เป็นเพราะ 
นโยบายการรวมประเทศเยอรมนัของบสิมารค์ที่ 
ไม่ไดใ้ช้ระบบประชาธปิไตยแบบประเทศอนื่ในยุโรป
ผลของการปฏวิตัอิุตสาหกรรม 
 ทาใหส้ามารถผลติสนิคา้ไดค้ราวละมาก ๆ ในระยะเวลาอนั 
สนั้ 
 เศรษฐกจิแบบเงนิตราเจรญิอย่างรวดเร็วแทนทรี่ะบบการ 
แลกเปลยี่นสนิคา้ดว้ยสนิคา้ 
 มกีารแบ่งชนชนั้ทางสงัคมอย่างชดัเจนระหว่าง white 
collars กบั blue collars ส่วนสตรแีละเด็กยงัคงไดร้บัความ 
ลาบาก 
 เกดิการล่าอาณานคิม
2.4.7 การปฏวิตัเิพอื่ประชาธปิไตย 
 ประชาธปิไตยในองักฤษ (เก็บความจาก Wikipedia Free 
Encyclopedia) 
อาจกล่าวไดว้่าประชาธปิไตยในองักฤษมพีนื้ฐาน 
มาจากระบบรฐัสภาซงึ่มตีน้กาเนดิมาตงั้แต่สมยักลาง สมยั 
นนั้เป็นสภาของกษตัรยิท์เี่รยีกว่า “Royal Council” ตอ่มา 
ไดพ้ฒันามาเป็น Parliament ในสมยัพระเจา้ Henry III 
เมอื่พระองคถ์ูกยดึอานาจจากขุนนางทชีื่่อ Simon de 
Monfort Monfort ไดต้งั้ระบบ Monfort ขนึ้ โดยใหม้กีาร 
Vote ในสภาไดส้า หรบัผูเ้ป็นเจา้ของทดี่นิ และขุนนาง
รูปแบบการออกเสยีงในสภาเช่นนี้ถูกเรยีกว่าเป็น “Model of 
Parliament” ในสมยัพระเจา้ Edward I ค.ศ.1295 ต่อมาใน 
สมยัพระเจา้ Edward III สภาไดถู้กแบ่งออกเป็นสองสภา คอื 
สภาของขุนนางกบัพระและสภาของอศัวนิกบัพ่อคา้ ในสมยันี้ 
รฐัสภาจะมอีานาจมากถงึขนั้ทวี่่า จะไม่มกีฎหมายใด ๆ หรือการ 
เก็บภาษีใดๆ ทไี่ม่ผ่านการเห็นชอบของรฐัสภา 
แต่อานาจของรฐัสภาถูกจา กดัลงภายหลงัการสนิ้สุด 
สงครามดอกกุหลาบ (War of Roses ซึ่งเป็นสงครามแย่งชงิ 
อานาจของโอรสของกษตัรยิ ์Edward III) สภาอยู่ภายใต้ 
อานาจของกษตัรยิอ์กีครงั้โดยเฉพาะในสมยัพระเจา้ Henry VIII 
แห่งราชวงศ ์Tudor ดว้ย (ทรงเป็นโอรสของพระเจา้ เฮนรทีี่่7 )
Edward III
HENRY VIII
จนกระทงั่ค.ศ.1648 Oliver Cromwell ทาการ 
ยดึอานาจจากทงั้กษัตรยิแ์ละสภามาไวท้ตี่นเอง หลงัจาก 
Oliver Cromwell ตาย ค.ศ.1660 อานาจระหว่าง 
กษตัรยิแ์ละสภายงัคงเท่าเทยีมจนกระทงั่ เกดิการปฏวิตัิ 
อนัรุ่งโรจน ์ค.ศ.1688 สมยัพระเจา้James II อนัเป็น 
การโค่นลม้พระองคจ์ากบลัลงัก ์ อนัเนอื่งมาจากความ 
ขดัแยง้ทางการเมอืงระหว่างกลุ่มคาทอลคิซงึ่สนบัสนุน 
พระเจา้James II กบัฝ่ายโปรเตสแตนท์
 พรรคการเมอืงฝ่ายโปรเตสแตนทค์อื พรรควกิ(Whig) 
ทมี่นียัความตอ้งการใหม้กีารปกครองกษตัรยิภ์ายใต้ 
รฐัธรรมนูญและมปีระชาธปิไตยตามระบบรฐัสภา 
( www.bbc.co.uk , 3 ก.ค.52) 
 ในทสีุ่ดฝ่ายโปรเตสแตนทช์นะจบัพระเจา้เจมสไ์ด้และให้ 
พระเจา้วลิเลยีม(ราชวงศ ์Orange แห่งเนเธอรแ์ลนด ์) 
กบัพระนางแมรี่ซงึ่เป็นพระธดิาในพระเจา้เจมสท์สี่าม 
แต่เป็นโปรเตสแตนทค์รองราชยแ์ทน
 โดยมขีอ้แมว้่าพระองคจ์ะตอ้งปฏบิตัติามเงอื่นไข 
ประกาศ ปฎญิญาว่าดว้ยสทิธิ์( Declaration of 
rights ) ซงึ่ต่อมาพฒันาเป็น Bill of Rights อนั 
จะนาไปสู่ขอ้กา หนดแห่งรฐัธรรมนูญ อาทิเรอื่งของ 
การหา้มเก็บภาษีโดยไม่ผ่านความเห็นชอบของ 
รฐัสภา เป็นตน้
• ซงึ่ทา ใหอ้ทิธพิลของศาสนาครสิตน์กิายคาทอลคิ 
หมดอานาจ และเปิดทางใหโ้ปรแตสแตนทข์นึ้มามี 
อานาจแทน ภายใตร้าชวงศ ์STUART แห่ง 
Scottland (Mary, Queen of Scots) จนกระทงั่ 
มกีารรวม Scotland กบั องักฤษ ค.ศ.1707 จงึได้ 
มกีารออกกฎหมายรวมรฐัสภาของทงั้สองแควน้ 
เขา้ดว้ยกนั เป็น รฐัสภาของ Great Britain
อาจกล่าวไดว้่าการปฏวิตัอินัรุ่งโรจนท์าใหส้ถาบนักษตัรยิอ์ยู่ภายใต้ 
อานาจของรฐัสภา แต่อย่างไรก็ตามรูปแบบของรฐัสภายงัไม่เป็น 
ประชาธปิไตยเนื่องจากยงัคงให้อานาจแก่ชนชนั้สูง จนกระทงั่ผ่านการ 
ปฏริูปรฐัสภามาเป็นลาดบันบัตงั้แต่ ค.ศ.1832 เป็นตน้มาเพอื่ใหส้ทิธแ์ก่ 
คนจนในการออกเสียงเลือกตงั้และมผีูแ้ทนของตน โดยพรบ.ค.ศ.1867 
ใหส้ทิธแิ์ก่คนจนตามเมอืงใหญ่ ๆในการออกเสียงเลือกตงั้ ต่อมาพรบ. 
ค.ศ.1884 ไดใ้หส้ทิธแิ์ก่คนจนทวั่ไปดว้ย (เก็บความจาก เพ็ชรีสุมติร 
บรรณาธกิาร,2527,น.201-207) 
จงึเห็นไดว้่าองักฤษตอ้งใช้เวลากว่าสองรอ้ยปีในการพฒันา 
ประชาธปิไตยซึ่งมทีงั้ความรุนแรงและความประนีประนอมควบคู่กนัไป
การปฏวิตัใินอเมรกิา ค.ศ.1776 
เป็นการปลดแอกการเป็นอาณานคิมจากองักฤษ เนอื่งจาก 
อเมรกิาไม่ตอ้งการใหอ้งักฤษมาเอาเปรยีบทางดา้นเศรษฐกจิใน 
อเมรกิา โดยเฉพาะดา้นการเก็บภาษี โดยชาวอเมรกินัเห็นว่าพวกตน 
เสยีภาษีแพงแต่กลบัไม่มสีทิธทิางการเมอืง จงึไดท้าสงครามประกาศ 
อสิรภาพจากองักฤษ โดยใช้คา ขวญัทวี่่า “ไม่มกีารเสยีภาษีหากไม่มี 
ผูแ้ทนราษฎร” หรอื “No Taxation without Representation” 
และจบลงดว้ยชยัชนะของอเมรกิา ในค.ศ.1783 ภายใตค้วาม 
ช่วยเหลอืของฝรงั่เศส ฉะนนั้เมอื่สงครามยุติฝรงั่เศสจงึส่งรูปปนั้เทพี 
สนัตภิาพมาเป็นของขวญัทรี่ะลกึแก่อเมรกิาดว้ย
การปฏวิตัฝิรงั่เศส ค.ศ.1789 
เป็นการยดึอานาจการปกครองจากกษตัรยิฝ์รงั่เศส 
สมยัพระเจา้ หลุยสท์ี่16 เนื่องจากชาวปารสีส่วนใหญ่ไม่พอใจ 
วธิีการปกครองของพระองค ์ทไี่ม่ทรงสนพระทยักบัความ 
ยากจนของประชาชน มกีารเก็บภาษีจากชาวนาสูง เช่นภาษี 
เกลอื เป็นตน้ (เพ็ชรีสุมติร,บรรณาธกิาร,2527,น.173) และมี 
แต่ชนชนั้สูงเท่านนั้ทมี่อีภสิทิธิ์ ในขณะเดยีวกนัแนวคดิ 
ประชาธปิไตยอนัเป็นแนวคดิทเี่ห็นควรจา กดัอา นาจของกษตัรยิ์ 
ก็กาลงัแผ่ขยายในฝรงั่เศสดว้ย เมอื่ปฏวิตัสิา เร็จจงึไดท้า การ 
โค่นลม้สถาบนักษตัรยิแ์ละทา การปกครองแบบสาธารณรฐัแทน
King Louis XVI
Marie Antoinette
พระโอรสของพระเจา้หลุยสท์ี่16
การรวมประเทศเยอรมนั 
ทมี่า: WWW.Otto Von Bismark-Wikipedia,the 
free encyclopedia. 
การรวมประเทศเยอรมนัเป็นแนวคดิทมี่มีานานตงั้แต่ก่อน 
ค.ศ.1860 สงิ่ทสี่า คญัคอืตอ้งคา นงึถงึแควน้ 
ต่าง ๆ ของเยอรมนั และออสเตรยี ในทสีุ่ดเมอื่เกดิวกิฤตกิารณ์ใน 
แควน้ปรสัเซียเรอื่งงบประมาณการจดัระเบยีบการทหาร ทา ใหก้ษตัรยิ์ 
ของปรสัเซียในขณะนนั้คอื พระเจา้วลิเลมที่1 นกึถงึ บสิมารค์ ซึ่ง 
เป็นทูตประจาทรี่สัเซีย พระองคท์รงเห็นว่า บสิมารค์ เป็นนกัการเมอืงที่ 
มคีวามสามารถ
ดว้ยเหตุนี้บสิมารค์จงึกลบัมาและไดร้บัการแต่งตงั้เป็น 
ประธานของรฐัมนตรี(minister- president) และเป็น 
รฐัมนตรวี่าการต่างประเทศอกีดว้ย 
นโยบายของบสิมารค์ก็คอื การคงไวซึ้่งอานาจของ 
กษตัรยิ ์ ปรบัระบบการเก็บภาษีภายใน 4 ปี แมว้่าจะสรา้งความ 
ขดัแยง้กบัสภาผูแ้ทนแต่กษตัรยิก์็เขา้มาแทรกแซงอา้งว่าสภาฯ 
พยายามกระทา การทขี่ดัต่อรฐัธรรมนูญและพยายามควบคุม 
การทางานของฝ่ายบรหิารคอืรฐัมนตรี 
ในลา ดบัต่อมาบสิมารค์ไดอ้อกกฎหมายควบคุม 
เสรภีาพของสงิ่พมิพ ์ทาใหค้นส่วนใหญ่ไม่พอใจ รวมถงึ
มงกุฎราชกุมาร ฟรดีรชิที่3 (หรอืไกเซอรว์ลิเลมที่2 ในอนาคต) 
แต่กษตัรยิเ์ขา้มาปกป้องเพราะไม่อยากใหฝ้่ายเสรนียิมมอีานาจ 
ในลาดบัต่อมาบสิมารค์ไดด้าเนนิการรวมสมาชกิทงั้หลาย 
ในเยอรมนัใหอ้ยู่ภายใต้สหพนัธรฐัเยอรมนั(German 
Confederation) และเนน้ทงั้นโยบายทางการทูตและการทหาร 
ควบคู่กนัไป ในทสีุ่ดเยอรมนัก็สามารถมอีานาจเหนอืออสเตรียได้ 
อกีดว้ย และลงนามในสนธสิญัญา “Peace of Prague” ทาให้ 
เยอรมนัสามารถผนวกดนิแดน Schleswig, Holstein, 
Frankfurt, Hanover, Hesse-Kassel , Nassau. โดยออสเตรยี 
สญัญา
ว่าจะไม่กา้วก่ายกจิการภายในของเยอรมนั 
ในการรวมเยอรมนัแควน้ปรสัเซียไดร้วมกบัแควน้ตอนเหนือ 
(North German Confederation) ในค.ศ.1867 ในขณะนี้ พระ 
เจา้วลิเลมที่1 ดา รงตา แหน่ง 
ประธานาธบิดี(President) ส่วน บสิมารค์ดา รงตา แหน่งเป็น เสนาบดี 
(Chancellor) การทอี่อสเตรยีเปลยี่นสถานภาพเป็นรฐับรวิารของ 
เยอรมนัถอืว่าเป็นการสรา้งรูปแบบทางประวตัศิาสตรข์องสงครามโลก 
ทงั้สองครงั้ นกัประวตัศิาสตรใ์นโลกตะวนัตกเรยีกว่า “The Misery 
of Austria”
นโยบายการต่างประเทศสมยับสิมารค์ 
บสิมารค์อุทศิตนเพอื่สรา้งสนัตภิาพใน 
ยุโรป โดยการทา เยอรมนัใหแ้ข็งแกร่งเพอื่จะไดไ้ม่ 
ถูกคุกคามโดยชาตอินื่ และพยายามไม่ขยายอาณา 
นคิมในดนิแดนโพน้ทะเล นอกจากนี้ก็พยายามให้ 
ฝรงั่เศสอยู่โดเดยี่ว 
ค.ศ.1872 เยอรมนัเป็นพนัธมติรกบั 
ออสเตรยี-ฮงัการีและรสัเซีย ซึ่งเรยีกว่า “พนัธมติร 
สามจกัรพรรด”ิ รวมถงึมสีมัพนัธภาพทดี่กีบัอติาลี 
ดว้ย
แต่อย่างไรก็ตามความสมัพนัธก์็ไม่ยงั่ยนื 
โดยเฉพาะกบัรสัเซียเมอื่รสัเซียสามารถยดึครอง 
จกัรวรรดอิอตโตมนัได้ โดยมเียอรมนัคอยขดัไม่ให้ 
รสัเซียมอีานาจมากเกนิไป 
นอกจากนเี้ยอรมนัในสมยับสิมารค์ไดพ้ยายาม 
หลกีเลยี่งการล่าอาณานคิมเพมิ่เตมิ แต่ในทสีุ่ดก็ไม่ 
สามารถสวนกระแสได้รวมทงั้ยงัมคีวามตอ้งการของ 
ประชาชนในประเทศทเี่ห็นดกีบัการมอีาณานคิม ทา ให้ 
เยอรมนัไดอ้าณานคิมเพมิ่เตมิคอื Togoland, (บางส่วน 
ของ Ghana และ Togo), Cameroon , German East
Africa (คอืRawanda, Burundi, Tanzania), 
German South – West Africa,( Namibia). 
และหลงัจากมกีารประชุม Berlin ในค.ศ.1884- 
1885 ทปี่ระชุมเรยีกรอ้งให้Congo เป็นเขตการคา้ 
เสรี
เขตอาณานคิมในแอฟรกิาของเยอรมนั
เมอื่เยอรมนัเปลยี่นผูน้า 
เมอื่พระเจา้วลิเลมที่1 สนิ้พระชนมแ์ละพระนดัดาขนึ้ 
ครองราชยแ์ทน เป็นพระเจา้วลิเลมที่2 พระองคไ์ม่ไดท้า ตาม 
คา แนะนาของ บสิมารค์โดยเฉพาะที่ 
บสิมารค์พยายามกนัอทิธพิลของกลุ่มสงัคมนยิม 
เป็นตน้และในทสีุ่ดพระเจา้วลิเลมทรงพยายามจะดงึอา นาจ 
ปกครองทงั้หมดมาไวท้พี่ระองค์อนัเป็นสาเหตุทที่าให้บสิมาร์ 
คลาออก และหลงัจากนนั้เยอรมนัก็มแีนวโน้มสูงทจี่ะขดัแยง้ 
กบัประเทศต่าง ๆในยุโรป
การรวมชาตอิติาลคี.ศ.1850-1870 
Camillo Benso Di Cavour
อติาลกี่อนรวมประเทศ
กระบวนการรวมชาตอิติาลี 
ความเป็นมาทางประวตัสิาสตรข์องอติาลีเมอื่ 
ยอ้นกลบัไปศตวรรษที่ 15 ในขณะทคี่าบสมุทร 
อติาลโีดยเฉพาะที่โรมกา ลงัเป็นศูนยก์ลางของ 
วทิยาการนนั้ คาบสมุทรอติาลยีงัแบ่งแยกเป็นแควน้ 
เล็กแควน้น้อย เพราะไม่มผีูน้าของแควน้ใดทจี่ะมี 
อานาจพอทจี่ะรวมแควน้ต่าง ๆ ในคาบสมุทรใหเ้ป็น 
อนัหนงึ่อนัเดยีวกนั 
จนกระทงั่ในค.ศ.1494 กษตัรยิข์องฝรงั่เศสคอื
พระเจา้ชารล์สท์ี่ 8 ไดเ้รมิ่ตน้บุกเขา้ไปยดึครองคาบสมุทร 
อติาลี และดา เนนิการแข่งขนักบัสเปนในการเป็นเจา้ของพนื้ที่ 
นี้ต่อมา ในทสีุ่ดสเปนชนะภายใตส้นธสิญัญา Cateau- 
Cambresis ในค.ศ.1559 ยอมรบัอา นาจของสเปนใน มลิาน 
(Milan) ในอาณาจกัร Naples 
ต่อมาในค.ศ.1713 ภายใตส้นธสิญัญา Peace of 
Utrecht ออสเตรยีมชียัเหนือสเปน ออสเตรยีไดเ้รยีกรอ้ง 
ดนิแดนจากสเปนคอื State of Milan และ Kingdom of 
Naples มาครอบครองแทน
ดงันนั้ในศตวรรษที่18 อติาลสี่วนใหญ่จงึอยู่ภายใต้ 
อานาจของออสเตรยี ราชวงศ ์แฮบสเ์บริก์ แต่ภายหลงัการยดึ 
อานาจในฝรงั่เศสโดยนโปเลยีน นโปเลยีนไดแ้ผ่ขยายอานาจ 
ทวั่ยุโรปรวมไปถงึในคาบสมุทรอติาลดีว้ยทา ใหร้ะบบการ 
ปกครองในอติาลเีกดิการเปลยี่นแปลง เพราะนโปเลยีนไดต้งั้ 
แควน้ใหม่ดว้ย แต่แควน้เหล่านี้ก็ล่มสลายไปหลงั นโปเลยีน 
หมดอานาจ ยกเวน้กรุงโรม 
แต่อย่างไรก็ตามอติาลกี็ยงัคงแบ่งแยกเป็นแควน้เล็ก 
บา้งใหญ่บา้ง ทใี่หญ่ก็ไดแ้ก่แควน้ Sardinia ซึ่งเป็นแควน้ที่ 
สา คญัในการรวมชาตอิติาลี
กระบวนการรวมชาติอิตาลี 
กระบวนการรวมชาตอิติาลเีป็นความพยายามจากผูน้า 
อติาลหีลายคนทตี่อ้งการจะเป็นอสิระจากออสเตรยี ฉะนนั้จงึเกดิ 
เหตุการณ์การก่อกบฏ เพอื่แยกตนเองจากออสเตรยีในเขตเมอืง 
ต่าง ๆ บ่อยครงั้ เช่นที่Sardinia ผูน้าสา คญัคนหนงึ่ของการวาง 
แนวทางรวมชาตอิติาลกี็คอื Cavour ซึ่งเป็นชาว Turin แต่ 
เดนิทางไปทางานดา้นหนงัสอืพมิพก์ารเมอืงที่Piedmont จน 
ต่อมาไดร้บัเลอืกตงั้ในเขตเมอืงนี้ และไดด้า รงตา แหน่ง 
นายกรฐัมนตรี
Cavour ใช้นโยบายทางการทูตเพอื่ใช้ในการรวม 
ประเทศ โดยเฉพาะความสมัพนัธแ์ละความช่วยเหลอืจาก 
เยอรมนั ทาใหอ้ติาลตีอ้งช่วยปรสัเซียรบกบัฝรงั่เศสเพอื่ใหไ้ด้ 
เมอืง Venitia คนืจากฝรงั่เศส 
เป้าหมายสา คญัของ Cavour ก็คอืตอ้งการทา ให้ 
ประเทศเป็นรฐัเขม้แข็งแบบทหาร แมว้่าเขาจะมคีวามคดิแบบ 
ประชาธปิไตย และเศรษฐกจิแบบเสรนียิม (free trade) ก็ตาม 
ส่วนทางดา้นเศรษฐกจิอติาลีเขา้สู่กระบวนการ 
ปฏวิตัอิุตสาหกรรมมาตงั้แต่ ค.ศ.1830 ในส่วนของแควน้ 
Sardinia
มหาอา นาจยุโรปกบัจกัรวรรดนิยิม 
ในศตวรรษที่19 – ตน้ 20 
ในศตวรรษที่19 ถงึตน้ศตวรรษที่20 การคา้แบบตลาดเสรี 
และ ระบบทุนนยิมอนัเกยี่วขอ้งกบักระบวนการปฏวิตัอิุตสาหกรรมดงัที่ 
กล่าวมาขา้งตน้ นาพาใหป้ระเทศในยุโรปโดยเฉพาะยุโรปตะวนัตก 
ตอ้งผนัตวัเองไปเป็นเจา้แห่งการล่าอาณานคิมในลกัษณะทเี่รยีกว่า 
“จกัรวรรดนิยิม” (Imperialism) ซึ่งแตกต่างจากอาณานคิมใน 
ศตวรรษที่15 ตรงทปี่ระเทศทเี่ป็นเจา้อาณานคิมจะเขา้ไปปกครองใน 
ดนิแดนโพน้ทะเลโดยตรง แต่อาณานคิมธรรมดา เจา้อาณานคิมไป 
เพยีงแค่เปิดสถานีการคา้อย่างถาวรเท่านนั้
ลกัษณะของจกัรวรรดนิยิมในศตวรรษที่20 
อาจกล่าวไดว้่าลกัษณะของจกัรวรรดนิยิมในศตวรรษที่20 มอียู่ 
สองประเภทคอื (รวมทงั้สมยัสงครามโลกทงั้สองครงั้ดว้ย) 
ประเภททหี่นงึ่จกัรวรรดนิยิมแบบทุนนยิมเสรีเช่น องักฤษและฝรงั่เศส 
เป็นตน้ (เก็บความจาก กุลลดา เกษบุญชู มดี้,2549,น.94-109) 
ประเภททสี่อง จกัรวรรดนิยิมแบบทหาร เช่นของ เยอรมนั และอติาลี 
สมยัฮติเลอร ์และมุสโสลนิี
ลกัษณะจกัรวรรดนิยิมแบบทุนนยิมเสรีจะเขา้ 
ครอบครองอาณานคิมภายใตเ้งอื่นไขการเปิดตลาดการคา้เสรี 
ภายใตอุ้ดมการณล์ทัธเิสรนียิม โดยการบบีบงัคบัใหป้ระเทศคู่ 
คา้ยอมรบัในสนิคา้ทเี่จา้อาณานคิมนามาขาย เช่นองักฤษบบี 
คนั้ใหจ้นีตอ้งคา้ ฝิ่น เป็นตน้ และในขณะเดยีวกนัก็บบีบงัคบัให้ 
ประเทศคู่คา้ขายสนิคา้ทเี่จา้อาณานคิมตอ้งการ เช่น องักฤษ 
บบีบงัคบัใหส้ยามขายขา้วตามความตอ้งการของตลาดโลก 
แทนพรกิไทยอกีดว้ย 
เงอื่นไขสา คญัทที่าใหเ้จา้อาณานคิมตอ้งทา เช่นนี้มา 
จากการขยายตวัของทุนสะสมจากการคา้และการขยายตวัของ 
อุตสาหกรรมในประเทศอาณานคิม โดย
ในองักฤษอุตสาหกรรมสงิ่ทอทเี่จรญิกา้วหน้า 
ในช่วงตน้ศตวรรษที่19 ทา ใหเ้กดิแรงผลกัดนัจาก 
ผูป้ระกอบการทจี่ะส่งออกสงิ่ทอไปต่างประเทศ 
ส่วนการขยายตวัทุนนยิมในประเทศองักฤษ 
เองส่งผลใหพ้่อคา้เอกชนมบีทบาทในการเขา้ 
กา หนดวถิทีางการผลติของประเทศคู่คา้ดว้ยเช่น 
พ่อคา้องักฤษจ่ายสนิเชื่อล่วงหน้าใหแ้ก่ชาวนา 
ฟิลปิปินสเ์พอื่ทา การผลตินา้ตาล แทนขา้วเป็นตน้
 ในกรณีขององักฤษทพี่ยายามใช้อานาจผูกขาด 
การคา้เพอื่คุมเสน้ทางการคา้ระหว่าง จนี อนิเดยี 
และยุโรป เรยีกว่า Pax Britannica หรอืการสรา้ง 
แนวคดิว่าองักฤษคอืชาตผิูน้าทยีุ่ตธิรรมเพอื่ปูทาง 
สู่ความเป็นผูย้งิ่ใหญ่แห่งภูมภิาคนนั่เอง
องักฤษคอืประเทศเรมิ่ตน้ทเี่ขา้มา 
เรยีกรอ้งการเปิดประตูการคา้แบบเสรนียิม ในโลก 
ตะวนัออก จากนนั้ประเทศในยุโรปอนื่ ๆ ก็เขา้มา 
เอาอย่าง เช่นฝรงั่เศส ดงัจะเห็นไดว้่า คู่แข่งทสี่าคญั 
ทางการคา้แบบเสรนียิมในศตวรรษที่19 ของ 
องักฤษคอืฝรงั่เศส จนในทสีุ่ดองักฤษและฝรงั่เศส 
ตอ้งตกลงกนัให้สยามเป็นรฐักนัชน (Buffer 
State) ระหว่างอาณานคิมของทงั้สองฝ่าย
การทเี่ยอรมนับุกเขา้ยดึออสเตรยีและฝรงั่เศส 
ศตวรรษที่20 ถอืเป็นหลกัการกระทา ตามแนวคดิ 
ของ Charles Darwin เรอื่งกฎแห่งการอยู่รอด 
“The survival of the fittest” 
นอกจากนี้จกัรวรรดนิยิม ยงัเชื่อมโยงกบั 
ความคดิเรอื่งเชื้อชาตนิยิม อกีดว้ย ยกตวัอย่างเช่น 
ชาวเยอรมนัภูมใิจในเชื้อชาติ“อารยนั” ส่วนชาว 
รสัเซียภูมใิจในความเป็นเชื้อชาติ“สลาฟ” เป็นตน้ 
ส่งผลใหเ้กดิปฏกิริยิาต่อตา้นชนกลุ่มนอ้ย
ฉะนนั้ความแตกต่างของจกัรวรรดนิยิมทงั้ 
สอง คอืฝ่ายเสรนียิม และทหารนยิม อยู่ทเี่พยีง 
อุดมการณ์ทางการเมอืงและอุดมการณ์ทาง 
เศรษฐกจิทตี่่างกนัเท่านนั้
2.4.8 สาเหตุของสงครามโลกครงั้ที่1 
สาเหตุระยะยาว 
 แนวคดิเรอื่ง ชาตนิยิมและจกัรวรรดนิยิม 
 ผลประโยชนแ์ห่งชาตภิายใตล้ทัธจิกัรวรรดนิยิม อนันามาสู่ 
ความขดัแยง้ทงั้ในภูมภิาคยุโรปและในดนิแดนโพน้ทะเล 
 การแบ่งกลุ่มพนัธมติรในยุโรป เพราะเยอรมนัภายหลงั บสิมารค์ 
ไม่ไดด้า เนนินโยบายโดดเดยี่วฝรงั่เศส คงปล่อยใหฝ้รงั่เศสเป็น 
พนัธมติรกบั องักฤษ และ รสัเซีย
 ค.ศ.1907 เยอรมนีออสเตรยี – ฮงัการีและอติาลีร่วมกนั 
ลงนามในสนธสิญัญา พนัธไมตรไีตรมติร หรอืบางทเี่รยีก 
ไตรพนัธมติร ( Triple Alliance) เนอื่งจากเยอรมนี 
ตอ้งการกดีกนัรสัเซียไม่ใหเ้ป็นใหญ่ในแหลมบอลข่าน 
 ค.ศ.1907 องักฤษ ฝรงั่เศส รสัเซีย ไดห้นัมาร่วมมอืเป็น 
มติรต่อกนัและลงนามในสนธสิญัญา ฉนัทไมตรไีตรมติร 
บางทเี่รยีกว่า สนธสิญัญาไตรภาคี( Triple Entente) 
เพอื่หยุดยงั้การขยายอานาจ ของกลุ่มเยอรมนี
ชนวนของสงครามหรอืสาเหตุระยะสนั้ 
 ผลประโยชนข์องสหรฐัฯถูกคุกคามโดยฝ่ายอกัษะ 
(คอืฝ่ายเยอรมนี) ไดแ้ก่ เรอืสนิคา้ ลูสธิาเนียถูกจม
ลกัษณะของสงครามโลกครงั้ที่1 เรยีกว่า 
TRENCH WAR
ความหมายของ Trench war 
Trench War หมายถงึ การรบภายในหลุมหลบภยั 
ยงัผลใหบ้นภาคพนื้ดนิไม่มมีนุษยป์รากฏอยู่เลย หรอื 
ทเี่รยีกว่า เขต ‘ No man’s land’
ผลของครามโลกครงั้ที่1 
 เกดิองคก์ารสนันบิาตชาตทิมี่ขีอ้บกพร่อง เพราะรสัเซยี 
ถอนตวั สหรฐัฯไม่เขา้ร่วม และไม่มกีองทหารทจี่ะเขา้ไป 
ไกล่เกลยี่ขอ้พพิาท 
 ฝ่ายแพต้อ้งสูญเสยีดนิแดนและค่าปฏกิรรมสงครามตาม 
สนธสิญัญา แวรซ์าย ซึ่เป็นสญัญาทไี่ม่เป็นธรรมและไม่ 
เป็นไปตามหลกัการ 14 ประการ ของประธานาธบิดวีูดโร 
วลิสนัตามทไี่ดต้กลงกนัไว้ 
 เกดิภาวะวกิฤตทางเศรษฐกจิ คอืเงนิเฟ้อ คนว่างงาน ส่งผล 
ใหหุ้น้ตก และเกดิเศรษฐกจิตกต่า ทวั่โลก
สาเหตุของสงครามโลกครงั้ที่2 
 เยอรมันไม่ชดใช้ค่าปฏิกรรมสงคราม 
 เกิดลัทธิชาตินิยมใน เยอรมัน และอิตาลี อันนาไปสู่ 
การสร้างจักรวรรดินิยมในยุโรป เช่น เยอรมันบุก 
ออสเตรีย และดินแดนของฝรั่งเศส เป็นต้น 
 ในทวีปเอเชีย ญี่ปุ่นภายใต้การนาของรัฐบาลทหาร 
พยายามสร้างอิทธิพลของตน ตามแนวคิดการร่วม 
วงศ์ไพบูลย์มหาเอเชียบูรพา
 ผลประโยชนข์องสหรฐัฯถูกคุกคามโดยฝ่ายอกัษะ 
(คอืฝ่ายเยอรมนี) ไดแ้ก่ ญปีุ่่นแย่งผลประโยชนใ์น 
หมู่เกาะในแปซฟิิค รวมทงั้โจมตฐีานทพัที่เพริล์ฮา 
เบอร ์ทา ใหส้หรฐัฯเขา้ร่วมสงครามโลกครงั้ทสี่อง
HITLER
HITLER and MUSOLINI
ผลของสงครามโลกครงั้ที่2 
 ยุโรปไดร้บัความบอบชา้เพราะยุโรปคอืสนาม 
โดยตรงทาใหเ้กดิแนวทางการบูรณาการยุโรปเพอื่ใหเ้กดิ 
สนัตภิาพอย่างถาวร 
 อกีทงั้เพอื่กอบกูส้ภาพทางเศรษฐกจิของยุโรปใหดี้ 
ดงัเดมิ สหรฐัฯจงึไดป้ระกาศวาทะทรูแมนและตามดว้ย 
แผนการ มารแ์ชล เพอื่ใหค้วามช่วยเหลอืทางเศรษฐกจิแก่ 
ยุโรป สหรฐัอเมรกิาเขา้มามบีทบาทในการเมอืงโลกแทน 
ยุโรป
Harry Truman
George C.Marshall
2.4.9 โลกหลงัสงครามโลกครงั้ที่2 
 ประการแรก เกอืบทุกประเทศในยุโรปร่วมมอืกนัทจี่ะสร้าง 
สนัตภิาพถาวร โดยบูรณาการดา้นเศรษฐกจิใหม้นั่คง จงึ 
เกดิการพฒันาการความร่วมมอืทางเศรษฐกจิ ในรูปแบบ 
องคก์รทางเศรษฐกจิมากมาย อาทิ องคก์ารเพอื่ความ 
ร่วมมอืทางเศรษฐกจิยุโรป ประชาคมถ่านหนิและ 
เหล็กกลา้แห่งยุโรป องคก์ารสนธสิญัญาแอตแลนตกิเหนือ 
เป็นตน้ 
การบูรณาการนี้ไดร้บัการสนบัสนุนจากสหรฐัอเมรกิาที่ 
ตอ้งการใหยุ้โรปเขม้แข็งเพอื่ช่วยลดภาระการช่วยเหลอื 
ประเทศโลกที่สาม และเพ่อืป้องกันภัยจาก สหภาพโซ 
เวียต ในช่วงสงครามเย็น
 ในทศวรรษ 1960 ยุโรปบูรณาการในรูป ประชาคมยุโรป มเีป้าหมายที่ 
การกาหนดนโยบายดา้นการเกษตรร่วมกนั ในรูปของการจดัตงั้ตลาด 
ร่วม หรอืทเี่รยีกว่า the common market 
 ทศวรรษที่1970-1985 เป็นยุคแห่งความร่วมมอืระหว่างยุโรป 
ตะวนัตกกบัยุโรปตะวนัออก และกบัสหรฐัอเมรกิา ซึ่งสอดคลอ้งกบัการ 
ผ่อนคลายความตงึเครยีดของสงครามเย็น และนโยบายมุ่งสู่ตะวนัออก 
ของเยอรมนั 
 ค.ศ.1992 ประชาคมยุโรปไดก้ลายมาเป็น สหภาพยุโรป ภายใต้ 
สนธสิญัญา มาสทรกิท ์( Maastricht Treaty )หมายถงึการเป็นหนงึ่ 
เดยีวกนัของยุโรปทงั้ดา้นเศรษฐกจิและการเมอืง โดยมเีป้าหมายที่ 
สา คญัทสีุ่ดคอืการคา้เสรี
E.U. Today
ประการทสี่อง การเกดิภาวะสงครามเย็น ซึ่งเป็นสงคราม 
อุดมการณ์ระหว่าง ลทัธิคอมมวินสิต ์ภายใตก้ารนาของสหภาพ 
โซเวยีต กบัลทัธปิระชาธปิไตย ภายใตก้ารนาของสหรฐัอเมรกิา 
ภาวะสงครามเย็นไดส้นิ้สุดลงในสมยัประธานาธบิดีมคิ 
คาอลิ กอรบ์าชอฟ ทดี่า เนนินโยบาย เศรษฐกจิแบบการตลาด 
(Perestroika) กบันโยบายความโปร่งใสทางการเมอืง 
(Glasnot) ส่งผลใหส้หภาพโซเวยีต มคีวามเป็นเสรนียิมที่ 
สอดคลอ้งกบัสหรฐัอเมรกิา ส่งผลใหก้ารเมอืงแบบสองขวั้ 
อานาจ ( Bipolar system ) หมดไปแทนทดี่ว้ยการเมอืงโลก 
แบบหลายขวั้อานาจ (Multi Polar System ) ซึ่งประกอบไป 
ดว้ยประเทศ จนี ญปีุ่่น เกาหลีอนิเดยี เป็นตน้
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch (15)

Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
 
World history
World historyWorld history
World history
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
 
01999031 western music romantic
01999031 western music romantic01999031 western music romantic
01999031 western music romantic
 
The heritages of world civilization
The heritages of world civilization The heritages of world civilization
The heritages of world civilization
 
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
 
Man lg
Man lgMan lg
Man lg
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
Man lg handout s
Man lg handout sMan lg handout s
Man lg handout s
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
 
Man lg eng hndout
Man lg eng hndoutMan lg eng hndout
Man lg eng hndout
 
Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
 
Lecture 1 Introduction to Philosophy
Lecture 1 Introduction to PhilosophyLecture 1 Introduction to Philosophy
Lecture 1 Introduction to Philosophy
 

Ähnlich wie มรดกอารยธรรมโลก

ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 
World issues
World issuesWorld issues
World issuesTeeranan
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155Teeranan
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Lao-puphan Pipatsak
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Jib Dankhunthot
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3Yota Bhikkhu
 
สื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ Historyสื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ HistoryDraftfykung U'cslkam
 
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-hisแผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-hisPrachoom Rangkasikorn
 

Ähnlich wie มรดกอารยธรรมโลก (20)

ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
A1
A1A1
A1
 
World issues
World issuesWorld issues
World issues
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155
 
Thai MOST Web Developement
Thai MOST Web DevelopementThai MOST Web Developement
Thai MOST Web Developement
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
กรีก โรม
กรีก โรมกรีก โรม
กรีก โรม
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
Greek roman
Greek romanGreek roman
Greek roman
 
Constructivist
ConstructivistConstructivist
Constructivist
 
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
ภาษากับการสื่อสารในยุคปัจจุบัน 3
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
สื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ Historyสื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ History
 
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
01+hisp5+dltv54+ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ประวัติศาสตร์น่ารู้
 
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-hisแผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
แผนการสอนประวัติศาสตร์ป.4-6+562+T1 p4 6-u01-his
 

Mehr von Heritagecivil Kasetsart

Mehr von Heritagecivil Kasetsart (7)

01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.
 
01999031 western music classical.
01999031 western music classical.01999031 western music classical.
01999031 western music classical.
 
World major religion
World major religionWorld major religion
World major religion
 
Philosophy history
Philosophy historyPhilosophy history
Philosophy history
 
The heritages of world civilization Inter
The heritages of world civilization InterThe heritages of world civilization Inter
The heritages of world civilization Inter
 
ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่
 
ศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตกศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตก
 

มรดกอารยธรรมโลก

  • 1. มรดกอารยธรรมโลก 2.4 อารยธรรมยุคใหม่ โดย อ.ดร.กนษิฐา ชติช่าง
  • 2. 2.4.1 การฟื้นฟูศลิปะ วทิยาการ มาจากภาษาฝรงั่เศสว่า “Renaissance” แปลว่าการ เกดิใหม่ (Rebirth) อนัหมายถงึการกลบัไปหาวทิยาการใน สมยักรกี– โรมนัทเี่คยรุ่งเรอืงในอดตี โดยเฉพาะอย่างยงิ่คอื แนวคดิเกยี่วกบัมนุษยน์ยิม (Humanism) ดว้ยพนื้ฐานแนวคดิเรอื่งมนุษยน์ยิมไดท้า ใหยุ้โรป เกดิกระบวนการปฏริูปหลายสงิ่หลายอย่างในเวลาใกลเ้คยีงกนั นบัตงั้แต่ครสิตศตวรรษที่15 – 18 ซึ่งลา ดบัเหตุการณืไดด้งันี้
  • 3.   ปฏริูปศาสนา  การปฏวิตัทิางการคา้ภายใตล้ทัธพิาณิชยน์ยิม และการคน้พบโลกใหม่  การปฎวิตัวิทิยาศาสตร ์  แนวคดิเรอื่งเสรนียิมนาไปสู่ระบบการแข่งขนัโดยเสรี  การปฎวิตัเิกษตรกรรม  การปฎวิตัอิุตสาหกรรม และ เศรษฐกจิแบบทุนนยิม อนันาไปสู่ลทัธลิ่า อาณานคิม  นาไปสู่การเกดิสงครามโลกทงั้สองครงั้และการกา้วขนึ้มามอีานาจของ สหรฐัฯ
  • 4. 2.4.2 การปฏริูปศาสนา  สาเหตุคอื -การเกดิสงครามครูเสด -ความเสอื่มของศาสนจกัร -แนวคดิมนุษยน์ยิม
  • 6. สาเหตุมาจากการแย่งชงิดนิแดนอนัศกัดสิ์ทิธิ์และ การทชี่าวตะวนัตกตอ้งการทา ลายอทิธพิลทางการคา้ของชาว มุสลมิในย่านทะเลเมดเิตอรเ์รเนียน ผล คอืทาใหเ้กดิการขยายตวัทางการคา้ ชุมชนและ เมืองท่าค้าขาย เกิดชนชั้นกลางหรือ “กระฎุมพ”ี ซึ่งจะเป็นชน ชนั้ทอีุ่ปถมัภศ์ลิปะวทิยาการและเป็นชนชนั้ทเี่ห็นขอ้ดอ้ยของ ศาสนจกัรทชี่กัจูงคนไปรบในสงครามและทา การขายใบบุญไถ่ บาป
  • 7. ความเสอื่มของศาสนจกัร สงฆไ์ม่เคร่งครดัในคา สอน  สงฆเ์ห็นกบัลาภสกัการะ มกีารซื้อตา แหน่ง ดว้ยเงนิ และขายใบบุญไถ่บาป  สงฆม์อีทิธพิลครอบงาทงั้ทางโลกและทาง ธรรม และปิดกนั้ความกา้วหนา้ทางวชิาการ โดยเฉพาะการอธบิายระบบจกัรวาลและ ธรรมชาตทิขี่ดักบัแนว มนุษยน์ยิม
  • 8. แนวคดิมนุษยน์ยิม เป็นแนวคดิทเี่ชื่อมนั่ใน ความสามารถของมนุษยแ์ละไม่ เชื่อในโชคชะตาฟ้าลขิติ อนั เป็นแนวคดิทพี่ฒันามาจากสมยั กรกีโดยพวกเสรชีนหรอื “กระฎุมพ”ี ทรี่่า รวยมาจาก การคา้ช่วงเกดิสงครามครูเสด
  • 9. ผลของการปฏริูปศาสนา  เกดิศาสนาครสิตน์กิายโปรแตสแตนท์ซงึ่เป็นนกิายที่ ลดบทบาทของศาสนจกัร แต่เนน้ใหทุ้กคนสามารถ เขา้ถงึพระเจา้ไดด้ว้ยตนเอง  บุคคลสา คญัทชี่่วยกนัเผยแพร่ศาสนานกิายใหม่นี้ ไดแ้ก่ - Martin Luther ; Lutherian ในเขตเยอรมนั - Calvin; Calvinism ในสวติเซอรแ์ลนด์ - Zwingli; Zwinglianism ในสก็อตแลนด ์เป็นตน้
  • 10. ผลกระทบจากแนวคดิมนุษยน์ยิม แนวคดิมนุษยน์ยิมส่งอทิธพิลต่อแวดวง วชิาการและศลิปะใหอ้อกมานอกกรอบของ ศาสนา หมายถงึการใหค้วามสาคญักบัมนุษย์ ทวั่ ๆ ไปแทนบุคคลสาคญัทางศาสนา ตวัอย่างนกัคดิทสี่าคญัช่วงนไี้ดแ้ก่
  • 12. Petrarch and Laura De Noves
  • 15.
  • 17.
  • 18. 2.4.3 การปฏวิตัทิางการคา้ และการคน้พบโลกใหม่ ในสมยัศตวรรษที่12-16 เกดิภาวการณก์ารตนื่ตวัทาง การคา้ อนัเนอื่งมาจากมผีูค้นในชนชนั้ไพร่และทาสตดิทดี่นิ จานวนมากเดนิทางไปร่วมรบสงคราม ครูเสด ในดนิแดนที่ ห่างไกลบา้นเกดิ ทา ใหเ้กดิการแลกเปลยี่นสนิคา้จนเกดิตลาด สนิคา้ และกลายเป็นเมอืงทางการคา้ในทสีุ่ด และเป็นการคา้ทใี่ช้ เงนิตราเป็นสอื่กลางแทนสงิ่ของแบบแต่ก่อน (Barter System) ส่วนพวกไพร่และทาสตดิทดี่นิทหี่นัไปทา การคา้ช่วง สงครามก็ร่ารวยขนึ้และเปลยี่นสถานภาพเป็นชนชนั้กลางที่ อาศยัอยู่ในเมอืงใหญ่แทนการกลบัไปเป็นเกษตรกร
  • 19. การคน้พบโลกใหม่ ปลายศตวรรษที่15 การขยายตวัทางการคา้ใน ยุโรปประสบอุปสรรคจากการตอ้งเสยีค่าใช้จ่ายมากมาย ระหว่างการเดนิทางคา้ขายกบัตะวนัออกใหก้บัคนกลางที่ เป็นชาวมุสลมิทมี่อีทิธพิลในย่านทะเลเมดเิตอรเ์รเนียน รวมถงึปัญหาเงนิและทองซงึ่เป็นทุนสา รองมไีม่พอเพยีง วธิกีารแกปั้ญหาเหล่านี้ก็คอืการหาเสน้ทางเพอื่ทา การคา้ใหม่เพอื่หลกีเลยี่งอทิธพิลชาวมุสลมิ ทา ให้ เกดิปรากฎการณ์ทกี่ษตัรยิส์นบัสนุนนกัเดนิเรอือย่างมาก ชาตทิสี่่งเสรมิการเดนิเรอืไดแ้ก่ โปรตุเกส สเปน องักฤษ และฝรงั่เศส
  • 20. ชนชั้นกลางที่เกิดใหม่และอาศัยอยู่ในเมืองเรียกว่า “กระฎุมพี” (Bourgeoisie) คนกลุ่มนจี้ะเป็นพ่อคา้คนกลางทา การคา้ระหว่าง ภาคพนื้ยุโรปและยุโรปกบัโลกตะวนัออกดว้ย อุปสรรคทางการคา้ ของคนกลุ่มนกี้็คอืขุนนางในระบบฟิวดลัทา การกดีกนัการคา้ดว้ย การคดิค่าผ่านทางหรอืค่าผ่านแมนเนอรข์องขุนนาง ทา ใหพ้วก พ่อคา้ตอ้งหนัไปพงึ่กษตัรยิโ์ดยมกีารใหผ้ลประโยชนซ์งึ่กนัและกนั ส่งผลใหก้ษตัรยิเ์รมิ่มบีทบาทต่อประเทศโดยส่วนรวม กษตัรยิ์ สามารถปราบปรามอทิธพิลของขุนนางไดส้าเร็จ ในขณะเดยีวกนัก็ ทรงออกกฎหมายควบคุมการพาณิชยด์ว้ย ( เพ็ชรีสุมติร ,บรรณาธกิาร,2527,น.87)
  • 21. ฉะนนั้พระมหากษตัรยิใ์นช่วงปฎวิตัทิางการคา้จงึมบีทบาทมากใน ฐานะผูร้วมประเทศ เช่น ประเทศสเปน ประเทศองักฤษ ประเทศ ฝรงั่เศส รวมทงั้ในฐานะผูอุ้ปถมัภก์ารคา้ตามลทัธิพาณิชยน์ยิม (mercantilism) ประเทศทปี่ระสบความสา เร็จจากการปฎวิตักิารคา้ ภายใตก้ารนาของกษตัรยิต์ามลา ดบัก็คอื โปรตุเกส สเปน องักฤษ เนเธอรแ์ลนด์ กระบวนการปฎวิตักิารคา้ประสบความสา เร็จจากการคา้ ทางไกลโพน้ทะเล จนกระทงั่ศตวรรษที่17 องักฤษ และเนเธอรแ์ลนด ์ สามารถครอบครองเสน้ทางการคา้ในทะเลเมดเิตอรเ์รเนียนและทะเล บอลตกิไดส้า เร็จ
  • 22. วธิกีารประกอบการคา้ ในระยะแรกของการทา การคา้พ่อคา้ยงัไม่มทีุน ฉะนนั้จงึ ตอ้งทาการกูย้มืเงนิมาจากกลุ่มคนทเี่รยีกว่านายทุน โดยนายทุน จะไดร้บัส่วนแบ่งกาไร 20-50% ถา้หากการคา้ขาดทุนนายทุนก็ สูญเงนิเปล่าโดยไม่ไดร้บัเงนิคนื วธิีการกูย้มืเงนิเรยีกว่า Sea Loan (เพ็ชรีสุมติร,บรรณาธกิาร,2527,น.89) วธิีการลงทุนอกีแบบคอืการใช้ ต๋วัแลกเงนิ โดยพ่อคา้ จะตอ้งส่งเงนิแท่งไปยงัเมอืงการคา้ต่าง ๆ เพอื่ชาระบญัชีโดย
  • 23. ผูถ้อืต๋วัแลกเงนิจะไปขนึ้เงนิทธี่นาคารสาขาใดและในเมอืงใดก็ได้ ซงึ่เป็นธนาคารทมี่กีารไปออกต๋วัแลกเงนิ ( เพ็ชรี สุมติร ,บรรณาธกิาร,2527,น.89-90) ต๋วัแลกเงนิมมีาตงั้แต่ศตวรรษที่12-13 และ 15 ทเี่มอืงฟลอ เรนซ์ซงึ่ถอืว่าเป็นเมอืงทมี่อีทิธพิลทางธนาคารของยุโรป และเป็นที่ พงึ่ของประเทศต่าง ๆได้เพราะการแลกเปลยี่นเงนิตราของยุโรป ตอ้งผ่านธนาคารทฟี่ลอเรนซก์่อน เนอื่งจากเป็นเมอืงทสี่ามารถ ผลติเหรยีญทองไดม้ากและไดม้าตรฐานเป็นทยี่อมรบัของประเทศ ฝรงั่เศส สเปน และเยอรมนีเพราะทองเป็นของหายากในขณะนนั้ นอกจากนฟี้ลอเรนซย์งัร่า รวยจากการคา้ขนสตัวแ์ละผลติพนัธท์ที่า จากการคา้ขนสตัวอ์กีดว้ย (เพ็ชรีสุมติร,บรรณาธกิาร,2527,น.90)
  • 24. ลทัธพิาณิชยช์าตนิยิม  เนน้ความสา คญัของเงนิและทองแท่ง หมายถงึความมงั่คงั่ ของรฐัเป็นหลกั ในศตวรรษที่16 ประเทศสเปน เป็นประเทศ ทรีุ่่งโรจนม์ากทสีุ่ด ซงึ่เงนิและทองแท่งบางครงั้มาจาก เมอืงขนึ้หรอืในดนิแดนของตน  รฐัส่งเสรมิการเกษตร การอุตสาหกรรม การพาณิชย ์โดยมี รฐัเป็นผูด้า เนนิการเพอื่ใหเ้พยีงพอในการเลยี้งดูคนใน ประเทศ ทเี่หลอืจงึส่งไปขายต่างประเทศ  รฐัเขา้ไปเกยี่วขอ้งกบักจิการทางเศรษฐกจิโดยตรง ( เพ็ชรีสุมติร,บรรณาธกิาร,2527,น.95-96)
  • 25. การคน้พบโลกใหม่ ปลายศตวรรษที่15 การขยายตวัทางการคา้ในยุโรปประสบ อุปสรรคจากการตอ้งเสยีค่าใช้จ่ายมากมายระหว่างการเดนิทางคา้ขาย กบัตะวนัออกใหก้บัคนกลางทเี่ป็นชาวมุสลมิทมี่อีทิธพิลในย่านทะเลเมดิ เตอรเ์รเนียน รวมถงึปัญหาเงนิและทองซงึ่เป็นทุนสา รองมไีม่พอเพยีง วธิีการแกปั้ญหาเหล่านี้ก็คอืการหาเสน้ทางเพอื่ทา การคา้ใหม่ เพอื่หลกีเลยี่งอทิธพิลชาวมุสลมิ ทาใหเ้กดิปรากฎการณท์กี่ษตัรยิ์ สนบัสนุนนกัเดนิเรอือย่างมาก ชาตทิสี่่งเสรมิการเดนิเรอืไดแ้ก่ โปรตุเกส สเปน องักฤษ และฝรงั่เศส
  • 26. นอกจากนี้การเดนิเรอืยงัมเีป้าหมายเพอื่ใหม้ชิชนันารไีปเผยแพร่ ศาสนาครสิตย์งัดนิแดนโพน้ทะเล และเพอื่ตอบสนองความตอ้งการ เรยีนรูส้งิ่แปลก ๆทเี่คยไดย้นิไดอ้่านมาจากนกัผจญภยั เช่น มารโ์ค โปโล ทไี่ปราชสา นกัจนี ในศตวรรษที่13 และกล่าวถงึเสน้ทางสายไหม (silk road) เป็นตน้ เสน้ทางทคี่น้พบคอืการเดนิเรอืลงทศิใตอ้อ้มแหลม กู๊ดโฮป ของทวปีแอฟรกิา ดนิแดนทคี่น้พบก็คอื ตอนในของทวปีแอฟรกิา ทวปี อเมรกิา หมู่เกาะอนิเดยีตะวนัออก และทวปีออสเตรเลยีในทสีุ่ด ช่วงระยะทมี่กีารคน้พบโลกใหม่และเสน้ทางเดนิเรอืจาก ตะวนัตกสู่ตะวนัออกนี้รูจ้กักนัในนาม “การปฎวิตัทิางการคา้” (คณะ อกัษรศาสตร ์จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั,2533,น.28-29)
  • 27. 2.4.4 การปฏวิตัวิทิยาศาสตร์ สาระสาคญัของการปฎวิตัวิทิยาศาสตรค์อื การ ใช้เหตุผลเชงิประจกัษ์ ซงึ่อยู่บนพนื้ฐานของแนวคดิ มนุษยน์ยิม อนัเป็นกระบวนการทเี่กดิขนึ้ระหว่าง ศตวรรษที่16-18 ซงึ่ในช่วงแรกเป็นความพยายาม ทา งานร่วมกนัระหว่าง นกัปราชญก์บัพวกช่างฝีมอื หมายถงึการผสมผสานระหว่างภาคทฤษฎี(scientjfic know why)กบัภาคปฎบิตัิ(technological know how) ( เพ็ชรี สุมติร, บรรณาธกิาร,2527,น.99) เพอื่ ส่งเสรมิคุณภาพชีวติของมนุษยใ์หส้ะดวกสบายยงิ่ขนึ้
  • 28. ปัจจยัทนี่ามาสู่การปฎวิตัวิทิยาศาสตร์  นกัคดิหนัมาสนใจงานปรชัญาของปราชญช์าวกรกีอกีครงั้ โดยเฉพาะงานคน้ควา้ปฎบิตักิารของ ยูคลดิ (Euclid) และ อารค์มิดิสิ(Archemedes) รวมถงึการคน้ควา้ทางยา และ การแพทย์  การคน้พบโลกใหม่นบัตงั้แต่ครสิตศ์ตวรรษที่15 ทา ใหไ้ดเ้ห็น สงิ่แปลกๆใหม่ๆ ทงั้พนัธุพ์ชืและสตัว ์ทา ใหไ้ดเ้ป็นขอ้มูลมาทา การวเิคราะหว์จิยั และทา การทดลอง เพอื่สรุปผลออกมา  เพอื่ใหเ้กดิความกา้วหนา้ทางเทคโนโลยเีพอื่พฒันาการค้า และความมงั่คงั่ของประเทศสบืไป
  • 30. Euclid The Father of Geometry
  • 31. บทบาทของนกัวทิยาศาสตรส์มยั ศตวรรษท1ี่7 นกัวทิยาศาสตรท์สี่าคญั เช่น ไอแซค นวิตนั เป็นบุคคลที่ คน้พบว่า ระบบสุรยิะจกัรวาล อยู่ภายใตร้ะเบยีบแบบแผนทแี่น่นอน ตายตวัเหมอืนการทา งานของเครอื่งจกัรกล ทเี่รยีกว่า “กฎแห่ง การโนม้ถ่วง” (Law of Gavitation) ซงึ่มนุษยจ์ะเขา้ถงึกฎนไี้ด้ ดว้ยวธิกีารทางคณิตศาสตร์ ผลของการอธบิายเช่นนที้า ใหว้ธิคีดิแบบศาสนาและ วทิยาศาสตรแ์ยกออกจากกนัอย่างชดัเจน เพราะหลงัจากพระเจา้ ทรงสรา้งสรรพสงิ่แลว้ก็หมดความสาคญั ทเี่หลอืนนั้มนุษยจ์ะตอ้ง เป็นผูไ้ขปรศินาเองเพอื่ใหเ้ขา้ใจธรรมชาติ(เพ็ชรีสุมติร ,บรรณาธกิาร,2527,น.110)
  • 32. เป็นทยี่อมรบักนัโดยทวั่ไปว่า ไอแซค นวิตนัมอีทิธพิลต่อ ความคดิของชาวยุโรปในช่วงศตวรรษที่17-19 มาก อย่างน้อยก็ทา ให้ มนุษยม์กีฎเกณฑท์แี่น่นอนในการอธบิายสรรพสงิ่ต่าง ๆ ใหเ้ป็น รูปธรรมดว้ยสมการทางคณิตศาสตร ์ หากสงิ่ใดทไี่ม่สามารถอธบิายได้ ดว้ยสมการก็จะถอืว่าไม่เกยี่วขอ้งกบัเหตุผลทางวทิยาศาสตรเ์ลย และ กลบัถูกมองว่าเป็นเรอื่งเหลวไหล เช่นเรอื่งภูตผปีิศาจเป็นตน้ (ธาวติ สุขพานชิ,2542,น.30) บุคคลทสี่า คญัอกีคนหนงึ่ในช่วงปฎวิตัวิทิยาศาสตรก์็คอื เซอร์ฟรานซิส เบคอน
  • 33. Sir Francis Bacon 1580-1626
  • 34. ฟรานซิส เบคอน เป็นนกัคดิ นกัปรญัา และนกัเขยีน และเป็นนกัคดิตน้แบบในเรอื่ง Inductive Reasoning, Scientific Method หมายถงึ การสรา้งคา อธบิายภายใตก้าร ตงั้สมมตฐิาน และนาไปสู่การทดลองก่อนสรุปเป็น คาตอบ(WWW.Wilsonalmanac.com)
  • 36. Rene Descarte เป็นผูว้างรากฐานเรอื่ง แคลคูลสั (ซงึ่ต่อมาพฒันาโดย นวิตนั) จน ไดฉ้ายาว่าเป็น บดิาแห่งคณติศาสตร์ สมยัใหม่ (Father of modern mathematics) และเป็นผูว้างรากฐาน ระเบยีบวธิแีบบ skepticism
  • 37. ความสา คญัของการปฏวิตัวิทิยาศาสตร์ ทมี่า: เพ็ชรี สุมติร,บรรณาธกิาร,2527,น.110-115. ประการแรก ทาใหเ้กดิการประดษิฐค์ดิคน้อย่างไม่หยุดยงั้ ก่อใหเ้กดิการประดษิฐเ์ครอื่งจกัรกล และการปฏวิตัิ อุตสาหกรรมตามมา ประการทสี่อง ก่อใหเ้กดิการปฏวิตัทิางความคดิ ที่ เรยีกว่า Age of Enlightenment โดยใช้เหตุผลเป็นพนื้ฐาน ต่อมาไดม้กีารนาเอาแนวคดิทางวทิยาศาสตรไ์ปศกึษาเรอื่งราว ของมนุษยแ์ละเรอื่งราวทางการเมอืง อนันาไปสู่การเกดิแนวคดิ ทสีา คญัสองแนวคดิคอื
  • 38. แนวคดิของสา นกัธรรมชาติ (School of natural law) หมายถงึการมองการเมอืงใหส้อดคลอ้งกบั ธรรมชาติเช่นการรวมกลุ่มของมนุษย ์ซงึ่เป็นไปตาม “กฎ ของธรรมชาต”ิ (Natural Law) ทมี่เีหตุผลรองรบัชุด หนงึ่ แนวคดิของสานกัเหตุผลนยิม (School of Reason) ศกึษาสภาพแวดลอ้มทมี่ผีลต่อจติใจของมนุษย ์ ทางดา้นทศันคตแิละบุคลกิภาพ อนัเป็นทมี่าของวชิา จติวทิยา
  • 39. แนวคดิเรอื่งเสรนียิมและการแข่งขนัโดยเสรี แนวคดิเรอื่งเสรนียิมพฒันามาจากแนวคดิของ จอหน์ ล็อค และ รุสโซ ในศตวรรษที่18 โดยเฉพาะแนวคดิของ ล็อคที่ เนน้ว่ามนุษยท์ุกคนมสีทิธมิาแต่เกดิโดยธรรมชาติคอื ทุกคนมี สทิธใิน ชีวติ สทิธใินทรพัยส์นิและสทิธใินอสิรภาพและเสรภีาพ ดว้ย รฐับาลจะตอ้งเคารพในสทิธขิองมนุษย ์( อกัษรศาสตร,์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั,2533,น.54,85) ซงึ่แนวคดินจี้ะไป สมัพนัธก์บั แนวคดิทางการปกครองแบบประชาธปิไตย และ เศรษฐกจิแนวเสรนียิม เศรษฐกจิแนวเสรนียิมไดอ้ทิธพิลมาจาก อาดมัสมธิ
  • 40. (Adam Smith) ทนี่าเสนอทฤษฎกีารผลติและจาหน่าย อย่างเสรีหรอืทเี่รยีกว่า “Laissez – faire” ในหนงัสอืเรอื่ง “Wealth of Nations” ค.ศ.1776 ว่า รฐับาลควรปล่อยให้ เศรษฐกจิดา เนนิไปอย่างเสรีโดยไม่ตอ้งเขา้ไปยุ่งเกยี่ว เพียงให้ รฐับาลคอยดูแลใหม้กีารปฏบิตักินัตามระเบยีบตามสญัญา ทางการคา้ หรอืเฉพาะเวลามปีัญหาเท่านนั้ (อกัษรศาสตร,์ จุฬาลงกรณม์หาวทิยาลยั,2533,น.84) อาดมัสมธิไดอ้ทิธพิลแนวคดิมาจากนกัคดิหลายคน ก่อนหนา้เขา ไดแ้ก่ จอหน์ ล็อค และ ปูเฟนดอรฟ์(Pufendorf) ซงึ่เป็นเจา้ของความคดิเรอื่ง “สทิธติามธรรมชาต”ิ (Natural -
  • 41. Rights) ดงัทกี่ล่าวมาแลว้ในตอนตน้ โดย อาดมั สมธิ ไดข้ยายความคา อธบิายสทิธแิละเสรภีาพ จากทางดา้นการเมอืงไปสู่ทางดา้นเศรษฐกจิ ซึ่ง มสีาระสาคญัดงัทกี่ล่าวมาแลว้
  • 42. 2.4.5 การปฏวิตัเิกษตรกรรม การปฏวิตัเิกษตรกรรมเกดิขนึ้ในระยะแรกทปี่ระเทศ องักฤษ ในราวศตวรรษที่17 เมอื่องักฤษอยู่ในระยะการตนื่ตวั การผลติผา้ขนแกะไปจา หน่าย การเลยี้งแกะตอ้งอาศยัทดี่นิ และอาหารสา หรบัแกะประเภท หญา้ (clover) และพชืทเี่ป็นหวั (turnip) (ฉตัรทพิย ์ นาถสุภา,2536.) ฉะนนั้ผูเ้ลยี้งแกะจงึตอ้ง พฒันาเทคนคิการปลูกพชืเพอื่เลยี้งแกะจา นวนมาก รวมถงึ เจา้ของทดี่นิก็จะทา การลอ้มรวั้(enclosure) เพอื่จะไดท้าการ เลยี้งแกะเฉพาะในเขตของตนเท่านนั้ ทาใหช้าวนาหมดสทิธใิ์น การใช้ทดี่นิทวี่่างเปล่าหรอื
  • 43. ทดี่นิสาธารณะเหมอืนดงัแต่ก่อน นอกจากนเี้จา้ของทดี่นิยงัทาการ ปรบัปรุงพนัธุส์ตัวเ์ช่นววัใหด้ขีนึ้ควบคู่ไปกบัการ ปรบัปรุงพนัธุพ์ชื ลกัษณะเช่นนจี้งึเรยีกว่าการ ปฏวิตัเิกษตรกรรม ซึ่งเกดิควบคู่ไปกบัการปฏวิตัิ ทางการคา้กบัดนิแดนโพน้ทะเล
  • 44. 2.4.6 การปฏวิตัอิุตสาหกรรมครงั้ที่1 ในประเทศองักฤษ ทมีา: ฉตัรทพิย ์ นาถสุภา,2536. การปฏวิตัอิุตสาหกรรมเรมิ่ขนึ้แห่งแรกในองักฤษเมอื่ประมาณ ทศวรรษ ที่1780 และเห็นชดัเจนเมอื่ ค.ศ. 1830 สบืเนื่องมาจาก องักฤษมคีวามพรอ้มทางดา้นแรงงานทผี่นัตวัมาจากชาวนาทสีู่ญเสยี ทดี่นิ องักฤษมทีุนหมุนเวยีน และมทีรพัยากรถ่านหนิทเี่พยีงพอ
  • 45. กระบวนการปฎวิตัอิุตสาหกรรม  เรมิ่จาก เจมส ์วตั (James Watt 1736 -1819) จด ทะเบยีนเครอื่งจกัรไอนา้ของเขา ในค.ศ. 1769 อนั เป็นเครอื่งจกัรทมี่คีวามสาคญัคอื  ใช้ในอุตสาหกรรมสงิ่ทอ ใช้ในการถ่ายเทนา้ออก จากเหมอืง ใช้ในโรงงานทา นา้ตาล ทา แป้ง ทา เบยีร ์ ขบัเคลอื่นหวัรถจกัรและเรอืเดนิสมุทร  ใช้เป็นแหล่งกา เนดิพลงังานอสิระ ทไี่ม่ตอ้งพงึ่สภาพ ภูมอิากาศ
  • 46.  โรงงานทอผา้ฝ้ายคอืขนั้ตอนแรกของ การปฏวิตัอิุตสาหกรรม การปฎวิตัอิุตสาหกรรมเรมิ่จากการนา เครอื่งจกัรไปใช้ในโรงงานสงิ่ทอ โดยเฉพาะฝ้ายซงึ่ ถอืว่าเป็นการเรมิ่ตน้ปฏวิตัอิุตสาหกรรมแห่งแรก ของโลก จนกระทงั่ ค.ศ. 1805สงิ่ทอฝ้ายได้ กลายเป็นสนิคา้ทสี่าคญัจนสนิ้สุดศตวรรษที่19 โดยมกีารตงั้โรงงานอยู่ในชนบทรอบๆเมอืง แมนเชสเตอร ์และ กลาสโกว์
  • 47.  ฝ้ายวตัถุดบิทอี่งักฤษนามาใช้ทอในโรงงานส่วนใหญ่ มาจากต่างประเทศ ช่วงแรกประมาณก่อนค.ศ.1790 มาจากหมู่เกอนิเดยีตะวนัตก หลงัจากนนั้มาจาก อเมรกิา  ตลาดทรี่บัซื้อผา้ฝ้ายจากองักฤษก็คอื ก่อน ค.ศ.1790 ขายผา้ฝ้ายภายในประเทศ ต่อจากนนั้ก็ ขายประเทศเพอื่นบา้นและอเมรกิา หลงัค.ศ.1815 ขายใหอ้เมรกิาเป็นหลกั หลงั ค.ศ.1840 ขายใหก้บั ประเทศดอ้ยพฒันา โดยเฉพาะอนิเดยี
  • 48.  ผลผลติสงิ่ทอผา้ฝ้ายมคีวามสาคญัมากและไดเ้ขา้มา แทนที่ผา้ขนสตัว ์โดยเฉพาะช่วงค.ศ.1780-1840  การปฏวิตัอิุตสาหกรรมขององักฤษทเี่น้นวตัถุดบิและ ตลาดจากประเทศโพน้ทะเล เช่น อนิเดยี ทา ให้ องักฤษตอ้งเขา้สู่การพฒันากองเรอืรบ และเขา้ ครอบงา อาณานคิมโพน้ทะเลอย่างเขม้งวด
  • 49. ผลจากการปฎวิตัอิุตสาหกรรมครงั้ที่1  องักฤษพฒันากองเรอืรบ อนัเป็นสญัญาณที่ ชี้ใหเ้ห็นว่าในอนาคต ประเทศอนื่ ๆ ก็จะใช้วธินีี้ ซงึ่ จะก่อใหเ้กดิสงครามโลกครงั้ที่1 ไดง้่าย เช่น เยอรมนั  การพฒันาอุตสาหกรรมทา ใหเ้กดิชนชนั้ใหม่ใน สังคมที่เรียกว่า ชนชั้นกระฎุมพอีุตสาหกรรม (Industrial Bourgeoisie) ซงึ่หมายถงึชนชนั้ผู้ เป็นเจา้ของกจิการอุตสาหกรรมซงึ่มฐีานะดแีละ อาศยัตามเมอืงใหญ่ๆ
  • 50.  ชนชั้นกระฎุมพอีุตสาหกรรมขององักฤษกา้วมาจากการดา เนนิ กจิการสงิ่ทอฝ้ายและการถลุงเหล็ก โดยเฉพาะหลงั ค.ศ.1785 ชนชนั้นี้กา้วมาจากลูกของชนชนั้เจา้ทดี่นิ หรอืไม่ก็ ชาวนา เนื่องจากการทา อุตสาหกรรมในช่วงนนั้ไม่ตอ้งการการ ลงทุนสูง  กระฎุมพีทปี่ระสบความสา เร็จจนร่ารวยมกัจะไดร้บั ยศถาบรรดาศกัดิ์เช่น Sir Robert Peel (1788-1850) เจา้ของธุรกจิทอผา้ฝ้าย มาจากชาวนา (ฉตัร-ทพิย ์นาถสุภา ,2536,น.11-12) เป็นตน้ กล่าวโดยสรุปชนชนั้ชาวนาและช่างฝีมอืสามารถเลอื่น ชนั้ทางเศรษฐกจิและสงัคมไดอ้ย่างอสิระ
  • 51. การปฎวิตัอิุตสาหกรรมครงั้ทสี่อง ค.ศ. 1804-1895  อุตสาหกรรมหลกัเปลยี่นจากสงิ่ทอฝ้ายไปเป็น ถ่านหนิ และเหล็ก เพอื่ผลติ เครอื่งจกัร พาหนะ รถไฟ และเรอืเดนิ สมุทร เพราะการขยายตวัของเมอืงและตลาดการคา้ ทา ใหจ้าเป็นตอ้งขยายระบบการคมนาคมใหก้วา้งขวางขนึ้  ส่งผลใหใ้นศตวรรษที่19 องักฤษ ผลติถ่านหนิและถลุง เหล็กเพมิ่ขนึ้ การผลติถ่านหนิจากค.ศ.1830-1865 ที่ ผลติได้22 ลา้นตนัต่อปี ไปเป็น 110 ลา้นตนัต่อปี ในค.ศ. 1870 (ฉตัรทพิย ์ นาถสุภา,2536,น. 13-14)
  • 52.  บ่อถ่านหนิขององักฤษมหีลายแห่ง เช่น Edinburgh Glasgow Newcastle Sheffield Manchester Birmingham เป็นตน้ ทาใหส้ามารถผลติถ่านหนิไดม้ากขนึ้เพราะมบี่อถ่านหนิจา นวน มาก (ฉตัรทพิย ์นาถสุภา,2536,น.14)  ผลผลติถ่านหนิทเี่พมิ่ขนึ้มผีลต่อการผลติเหล็กทเี่พมิ่ขนึ้และยงั มรีาคาถูกดว้ย เนอื่งจากกลางศตวรรษที่19 องักฤษสามารถหา วธิีการใช้ถ่านหนิถลุงเหล็กแทนถ่านไม้  การผลติเหล็กทาใหอ้งักฤษพฒันาการผลติรถไฟส่งออกดว้ย เนอื่งจากในศตวรรษที่19 ทวั่โลกกาลงัตนื่ตวัสรา้งทางรถไฟ ส่วนใหญ่ใช้วสัดุและเทคนคิจากองักฤษ
  • 53. (ฉตัรทพิย ์นาถสุภา,2536,น.16)  รถไฟจะช่วยใหก้ารขนส่งสนิคา้ไปอย่างรวดเร็วและมี ประสทิธภิาพ ดงันนั้ในศตวรรษที่19 สนิคา้ออกขององักฤษ ประเภท เหล็ก ถ่านหนิ อุปกรณ์รถไฟ จงึเพมิ่มากขนึ้เร็วมาก จนสามารถเพมิ่รายไดป้ระชาชาตใิหก้บัองักฤษ  นอกจากนี้ในศตวรรษที่19 องักฤษยงัเป็นเจา้ของเรอืกลไฟ ขนาดใหญ่ ทาใหอ้งักฤษ มอีทิธพิลทางการคา้ทางทะเลดว้ย  ฉะนนั้ในช่วงนี้ประเทศอาณานคิมขององักฤษจงึมคีวามสา คญั ต่อองักฤษมาก เพราะทงั้เป็นตลาดการคา้และแหล่งวตัถุดบิที่ สา คญั
  • 54.  อาณานคิมขององักฤษจงึมี ความสาคญัมากกว่าประเทศใน ภาคพนื้ยุโรป โดยเฉพาะในศตวรรษที่ 19
  • 55. นโยบายการคา้ระหว่างประเทศ ขององักฤษในศตวรรษที่ 19  ศตวรรษที่19 องักฤษใช้นโยบายเสรนียิม (Liberalism)แทนที่พาณิชยช์าตนิยิม(Mercantilism) ในศตวรรษที่15  สาระสาคญัของลทัธเิสรนียิม คอื รฐับาลจะไม่เขา้ยุ่ง เกยี่วกบัการคา้ของเอกชนโดยไม่จาเป็น ดงัทกี่ล่าว มาแลว้อนัเป็นไปตามหลกัการเสรนียิมของ จอหน์ ล็อค และ รุสโซ รวมถงึ อาดมัสมธิดงันนั้องักฤษจงึออก กฎหมาย “ยกเลกิการคุม้ครองการผลติขา้วโพด ภายในประเทศ” ในค.ศ.1842
  • 56. ( Repeal of the Corn Laws), (ฉตัรทพิย ์นาถสุภา,2536,น.18) การทอี่งักฤษใช้ นโยบายการคา้แบบเสรนียิมเพราะตรงกบัความ ตอ้งการของรฐับาลทมี่าจากชนชนั้เจา้ทดี่นิ และ รวมถึงพลเมืองที่เป็นชนชั้นกระฎุมพีในขณะนนั้ รวมถงึองักฤษไม่ตอ้งการใหม้กีา แพงภาษีมาปิดกนั้ ตลาดการคา้ของตนในอาณานคิมดว้ย
  • 57. ช่วงก่อนสงครามโลกครงั้ที่1 เยอรมนัเป็นผูน้า การผลติเครอื่งไฟฟ้าและการวางระบบรถรางแบบไฟฟ้า ช่วงนเี้ครอื่งกา เนดิพลงัดว้ยไฟฟ้าไดเ้ขา้มาแทนที่ เครอื่งจกัรไอนา้ อาจกล่าวไดว้่าการเจรญิทางเศรษฐกจิของ เยอรมนัซงึ่วางอยู่บนการพฒันาอุตสาหกรรมหนกันเี้จรญิ อย่างรวดเร็วในช่วงปลายศตวรรษที่19 ถงึตน้ศตวรรษที่ 20 ความเจรญิกา้วหนา้ทางดา้นอุตสาหกรรมของ เยอรมนัมาจากปัจจยัพนื้ฐานสามประการคอื
  • 58. 1. การพฒันาเสน้ทางรถไฟทวั่ประเทศ 2. การระดมทุนสาธารณะอนัมาจากเปิดโอกาสให้ ประชาชน เขา้มาซื้อหุน้เป็นเจา้ของกจิการร่วมรวมถงึการรวมทุนตงั้ ธนาคารเพอื่พฒันาอุตสาหกรรม ซึ่งวธิีการระดมทุนเช่นนี้จะทา ใหม้เีงนิทุนไดอ้ย่างรวดเร็ว ซึ่งแตกต่างจากองักฤษทใี่ช้การ สะสมทุนมาจากผลกาไรทมี่าจากการคา้ 3. เยอรมนัเน้นการผลติช่างเทคนคิ และการคน้ควา้ทาง วทิยาศาสตร ์ทาใหเ้ยอรมนัไดชื้่อว่าเป็นผูผ้ลติทกี่า้วหน้า
  • 60. ความโดดเด่นทางอุตสาหกรรมของ เยอรมนัช่วงปลายศตวรรษที่19 การทเี่ยอรมนัเน้นการคน้ควา้ทางวทิยาศาสตรแ์ละ เทคนคิต่าง ๆ ทาใหเ้ยอรมนักา้วขนึ้มามบีทบาทในฐานะผูผ้ลติ และส่งออกสนิคา้อุตสาหกรรมเคมแีละไฟฟ้า การคน้พบสารสงัเคราะห ์aniline dyes จากนา้มนัดา จากถ่านหนิ (ฉตัรทพิย ์นาถสุภา,2536,น.77) ซึ่งนามาใช้เป็น ส่วนประกอบสยีอ้มผา้ ทาใหส้ยีอ้มผา้มคีุณภาพดี ส่งผลให้ เยอรมนัครอบครองตลาดสยีอ้มผา้ทวั่โลกกว่า 90 เปอรเ์ซ็นต ์ (ฉตัรทพิย ์นาถสุภา,2536,น.77)
  • 61. นอกจากนี้เยอรมนัยงัเป็นเจา้ของอุตสาหกรรมยารกัษา โรคทมี่ชีื่อเสยีงทวั่โลกในนาม บรษิทัBayer และ Hoechst (ฉตัรทพิย ์นาถสุภา,2536,น.77) ดา้นอุตสาหกรรมไฟฟ้า มสีองบรษิทัชนั้นาคอื บรษิทั Siemens และบรษิทั Allgemeine Elektrizitats Gesellschaft (AEG) บรษิทั ซีเมน ผลติสายไฟฟ้า สายโทร เลข และไดนาโม บรษิทั AEG ผลติเครอื่งกาเนดิไฟฟ้าขนาด ใหญ่ และระบบส่งกระแสไฟฟ้าไปทางไกลๆ (ฉตัรทพิย ์นาถสุภา,2536,น.77-78)
  • 62. การจดัการเศรษฐกจิในรูปบรรษทั ความเจรญิกา้วหนา้ทางอุตสาหกรรมของ เยอรมนัมาจากปัจจยัทสี่าคญัอกีประการหนงึ่คอื การ บรหิารระบบธุรกจิแบบบรรษทั หมายถงึการรวมตวักนั ของธุรกจิแบบเดยีวกนั เรยีกว่า Cartel โดยรฐัจะเป็นผู้ ประสานงานระดบัการวางแผนงานให้วธินีจี้งึไม่ใช่การ แข่งขนักนัภายใตร้ะบบตลาด วธิกีารเช่นนจี้งึเรยีกว่าเป็น ระบบทุนนยิมแบบบงัคบั หรอื corporation capitalism คอืเป็นทุนนยิมทมี่กีารวางแผนมาจากส่วนกลางไม่ใช่
  • 63. ไม่ใช่ทุนนยิมเสรเีหมอืนดงัองักฤษและอเมรกิา ฉตัร ทพิย ์ นาถสุภา,2536,น.78-79) ลกัษณะทางเศรษฐกจิเช่นนี้เป็นเพราะ นโยบายการรวมประเทศเยอรมนัของบสิมารค์ที่ ไม่ไดใ้ช้ระบบประชาธปิไตยแบบประเทศอนื่ในยุโรป
  • 64. ผลของการปฏวิตัอิุตสาหกรรม  ทาใหส้ามารถผลติสนิคา้ไดค้ราวละมาก ๆ ในระยะเวลาอนั สนั้  เศรษฐกจิแบบเงนิตราเจรญิอย่างรวดเร็วแทนทรี่ะบบการ แลกเปลยี่นสนิคา้ดว้ยสนิคา้  มกีารแบ่งชนชนั้ทางสงัคมอย่างชดัเจนระหว่าง white collars กบั blue collars ส่วนสตรแีละเด็กยงัคงไดร้บัความ ลาบาก  เกดิการล่าอาณานคิม
  • 65. 2.4.7 การปฏวิตัเิพอื่ประชาธปิไตย  ประชาธปิไตยในองักฤษ (เก็บความจาก Wikipedia Free Encyclopedia) อาจกล่าวไดว้่าประชาธปิไตยในองักฤษมพีนื้ฐาน มาจากระบบรฐัสภาซงึ่มตีน้กาเนดิมาตงั้แต่สมยักลาง สมยั นนั้เป็นสภาของกษตัรยิท์เี่รยีกว่า “Royal Council” ตอ่มา ไดพ้ฒันามาเป็น Parliament ในสมยัพระเจา้ Henry III เมอื่พระองคถ์ูกยดึอานาจจากขุนนางทชีื่่อ Simon de Monfort Monfort ไดต้งั้ระบบ Monfort ขนึ้ โดยใหม้กีาร Vote ในสภาไดส้า หรบัผูเ้ป็นเจา้ของทดี่นิ และขุนนาง
  • 66.
  • 67. รูปแบบการออกเสยีงในสภาเช่นนี้ถูกเรยีกว่าเป็น “Model of Parliament” ในสมยัพระเจา้ Edward I ค.ศ.1295 ต่อมาใน สมยัพระเจา้ Edward III สภาไดถู้กแบ่งออกเป็นสองสภา คอื สภาของขุนนางกบัพระและสภาของอศัวนิกบัพ่อคา้ ในสมยันี้ รฐัสภาจะมอีานาจมากถงึขนั้ทวี่่า จะไม่มกีฎหมายใด ๆ หรือการ เก็บภาษีใดๆ ทไี่ม่ผ่านการเห็นชอบของรฐัสภา แต่อานาจของรฐัสภาถูกจา กดัลงภายหลงัการสนิ้สุด สงครามดอกกุหลาบ (War of Roses ซึ่งเป็นสงครามแย่งชงิ อานาจของโอรสของกษตัรยิ ์Edward III) สภาอยู่ภายใต้ อานาจของกษตัรยิอ์กีครงั้โดยเฉพาะในสมยัพระเจา้ Henry VIII แห่งราชวงศ ์Tudor ดว้ย (ทรงเป็นโอรสของพระเจา้ เฮนรทีี่่7 )
  • 70. จนกระทงั่ค.ศ.1648 Oliver Cromwell ทาการ ยดึอานาจจากทงั้กษัตรยิแ์ละสภามาไวท้ตี่นเอง หลงัจาก Oliver Cromwell ตาย ค.ศ.1660 อานาจระหว่าง กษตัรยิแ์ละสภายงัคงเท่าเทยีมจนกระทงั่ เกดิการปฏวิตัิ อนัรุ่งโรจน ์ค.ศ.1688 สมยัพระเจา้James II อนัเป็น การโค่นลม้พระองคจ์ากบลัลงัก ์ อนัเนอื่งมาจากความ ขดัแยง้ทางการเมอืงระหว่างกลุ่มคาทอลคิซงึ่สนบัสนุน พระเจา้James II กบัฝ่ายโปรเตสแตนท์
  • 71.  พรรคการเมอืงฝ่ายโปรเตสแตนทค์อื พรรควกิ(Whig) ทมี่นียัความตอ้งการใหม้กีารปกครองกษตัรยิภ์ายใต้ รฐัธรรมนูญและมปีระชาธปิไตยตามระบบรฐัสภา ( www.bbc.co.uk , 3 ก.ค.52)  ในทสีุ่ดฝ่ายโปรเตสแตนทช์นะจบัพระเจา้เจมสไ์ด้และให้ พระเจา้วลิเลยีม(ราชวงศ ์Orange แห่งเนเธอรแ์ลนด ์) กบัพระนางแมรี่ซงึ่เป็นพระธดิาในพระเจา้เจมสท์สี่าม แต่เป็นโปรเตสแตนทค์รองราชยแ์ทน
  • 72.  โดยมขีอ้แมว้่าพระองคจ์ะตอ้งปฏบิตัติามเงอื่นไข ประกาศ ปฎญิญาว่าดว้ยสทิธิ์( Declaration of rights ) ซงึ่ต่อมาพฒันาเป็น Bill of Rights อนั จะนาไปสู่ขอ้กา หนดแห่งรฐัธรรมนูญ อาทิเรอื่งของ การหา้มเก็บภาษีโดยไม่ผ่านความเห็นชอบของ รฐัสภา เป็นตน้
  • 73. • ซงึ่ทา ใหอ้ทิธพิลของศาสนาครสิตน์กิายคาทอลคิ หมดอานาจ และเปิดทางใหโ้ปรแตสแตนทข์นึ้มามี อานาจแทน ภายใตร้าชวงศ ์STUART แห่ง Scottland (Mary, Queen of Scots) จนกระทงั่ มกีารรวม Scotland กบั องักฤษ ค.ศ.1707 จงึได้ มกีารออกกฎหมายรวมรฐัสภาของทงั้สองแควน้ เขา้ดว้ยกนั เป็น รฐัสภาของ Great Britain
  • 74. อาจกล่าวไดว้่าการปฏวิตัอินัรุ่งโรจนท์าใหส้ถาบนักษตัรยิอ์ยู่ภายใต้ อานาจของรฐัสภา แต่อย่างไรก็ตามรูปแบบของรฐัสภายงัไม่เป็น ประชาธปิไตยเนื่องจากยงัคงให้อานาจแก่ชนชนั้สูง จนกระทงั่ผ่านการ ปฏริูปรฐัสภามาเป็นลาดบันบัตงั้แต่ ค.ศ.1832 เป็นตน้มาเพอื่ใหส้ทิธแ์ก่ คนจนในการออกเสียงเลือกตงั้และมผีูแ้ทนของตน โดยพรบ.ค.ศ.1867 ใหส้ทิธแิ์ก่คนจนตามเมอืงใหญ่ ๆในการออกเสียงเลือกตงั้ ต่อมาพรบ. ค.ศ.1884 ไดใ้หส้ทิธแิ์ก่คนจนทวั่ไปดว้ย (เก็บความจาก เพ็ชรีสุมติร บรรณาธกิาร,2527,น.201-207) จงึเห็นไดว้่าองักฤษตอ้งใช้เวลากว่าสองรอ้ยปีในการพฒันา ประชาธปิไตยซึ่งมทีงั้ความรุนแรงและความประนีประนอมควบคู่กนัไป
  • 75. การปฏวิตัใินอเมรกิา ค.ศ.1776 เป็นการปลดแอกการเป็นอาณานคิมจากองักฤษ เนอื่งจาก อเมรกิาไม่ตอ้งการใหอ้งักฤษมาเอาเปรยีบทางดา้นเศรษฐกจิใน อเมรกิา โดยเฉพาะดา้นการเก็บภาษี โดยชาวอเมรกินัเห็นว่าพวกตน เสยีภาษีแพงแต่กลบัไม่มสีทิธทิางการเมอืง จงึไดท้าสงครามประกาศ อสิรภาพจากองักฤษ โดยใช้คา ขวญัทวี่่า “ไม่มกีารเสยีภาษีหากไม่มี ผูแ้ทนราษฎร” หรอื “No Taxation without Representation” และจบลงดว้ยชยัชนะของอเมรกิา ในค.ศ.1783 ภายใตค้วาม ช่วยเหลอืของฝรงั่เศส ฉะนนั้เมอื่สงครามยุติฝรงั่เศสจงึส่งรูปปนั้เทพี สนัตภิาพมาเป็นของขวญัทรี่ะลกึแก่อเมรกิาดว้ย
  • 76. การปฏวิตัฝิรงั่เศส ค.ศ.1789 เป็นการยดึอานาจการปกครองจากกษตัรยิฝ์รงั่เศส สมยัพระเจา้ หลุยสท์ี่16 เนื่องจากชาวปารสีส่วนใหญ่ไม่พอใจ วธิีการปกครองของพระองค ์ทไี่ม่ทรงสนพระทยักบัความ ยากจนของประชาชน มกีารเก็บภาษีจากชาวนาสูง เช่นภาษี เกลอื เป็นตน้ (เพ็ชรีสุมติร,บรรณาธกิาร,2527,น.173) และมี แต่ชนชนั้สูงเท่านนั้ทมี่อีภสิทิธิ์ ในขณะเดยีวกนัแนวคดิ ประชาธปิไตยอนัเป็นแนวคดิทเี่ห็นควรจา กดัอา นาจของกษตัรยิ์ ก็กาลงัแผ่ขยายในฝรงั่เศสดว้ย เมอื่ปฏวิตัสิา เร็จจงึไดท้า การ โค่นลม้สถาบนักษตัรยิแ์ละทา การปกครองแบบสาธารณรฐัแทน
  • 80. การรวมประเทศเยอรมนั ทมี่า: WWW.Otto Von Bismark-Wikipedia,the free encyclopedia. การรวมประเทศเยอรมนัเป็นแนวคดิทมี่มีานานตงั้แต่ก่อน ค.ศ.1860 สงิ่ทสี่า คญัคอืตอ้งคา นงึถงึแควน้ ต่าง ๆ ของเยอรมนั และออสเตรยี ในทสีุ่ดเมอื่เกดิวกิฤตกิารณ์ใน แควน้ปรสัเซียเรอื่งงบประมาณการจดัระเบยีบการทหาร ทา ใหก้ษตัรยิ์ ของปรสัเซียในขณะนนั้คอื พระเจา้วลิเลมที่1 นกึถงึ บสิมารค์ ซึ่ง เป็นทูตประจาทรี่สัเซีย พระองคท์รงเห็นว่า บสิมารค์ เป็นนกัการเมอืงที่ มคีวามสามารถ
  • 81. ดว้ยเหตุนี้บสิมารค์จงึกลบัมาและไดร้บัการแต่งตงั้เป็น ประธานของรฐัมนตรี(minister- president) และเป็น รฐัมนตรวี่าการต่างประเทศอกีดว้ย นโยบายของบสิมารค์ก็คอื การคงไวซึ้่งอานาจของ กษตัรยิ ์ ปรบัระบบการเก็บภาษีภายใน 4 ปี แมว้่าจะสรา้งความ ขดัแยง้กบัสภาผูแ้ทนแต่กษตัรยิก์็เขา้มาแทรกแซงอา้งว่าสภาฯ พยายามกระทา การทขี่ดัต่อรฐัธรรมนูญและพยายามควบคุม การทางานของฝ่ายบรหิารคอืรฐัมนตรี ในลา ดบัต่อมาบสิมารค์ไดอ้อกกฎหมายควบคุม เสรภีาพของสงิ่พมิพ ์ทาใหค้นส่วนใหญ่ไม่พอใจ รวมถงึ
  • 82. มงกุฎราชกุมาร ฟรดีรชิที่3 (หรอืไกเซอรว์ลิเลมที่2 ในอนาคต) แต่กษตัรยิเ์ขา้มาปกป้องเพราะไม่อยากใหฝ้่ายเสรนียิมมอีานาจ ในลาดบัต่อมาบสิมารค์ไดด้าเนนิการรวมสมาชกิทงั้หลาย ในเยอรมนัใหอ้ยู่ภายใต้สหพนัธรฐัเยอรมนั(German Confederation) และเนน้ทงั้นโยบายทางการทูตและการทหาร ควบคู่กนัไป ในทสีุ่ดเยอรมนัก็สามารถมอีานาจเหนอืออสเตรียได้ อกีดว้ย และลงนามในสนธสิญัญา “Peace of Prague” ทาให้ เยอรมนัสามารถผนวกดนิแดน Schleswig, Holstein, Frankfurt, Hanover, Hesse-Kassel , Nassau. โดยออสเตรยี สญัญา
  • 83. ว่าจะไม่กา้วก่ายกจิการภายในของเยอรมนั ในการรวมเยอรมนัแควน้ปรสัเซียไดร้วมกบัแควน้ตอนเหนือ (North German Confederation) ในค.ศ.1867 ในขณะนี้ พระ เจา้วลิเลมที่1 ดา รงตา แหน่ง ประธานาธบิดี(President) ส่วน บสิมารค์ดา รงตา แหน่งเป็น เสนาบดี (Chancellor) การทอี่อสเตรยีเปลยี่นสถานภาพเป็นรฐับรวิารของ เยอรมนัถอืว่าเป็นการสรา้งรูปแบบทางประวตัศิาสตรข์องสงครามโลก ทงั้สองครงั้ นกัประวตัศิาสตรใ์นโลกตะวนัตกเรยีกว่า “The Misery of Austria”
  • 84. นโยบายการต่างประเทศสมยับสิมารค์ บสิมารค์อุทศิตนเพอื่สรา้งสนัตภิาพใน ยุโรป โดยการทา เยอรมนัใหแ้ข็งแกร่งเพอื่จะไดไ้ม่ ถูกคุกคามโดยชาตอินื่ และพยายามไม่ขยายอาณา นคิมในดนิแดนโพน้ทะเล นอกจากนี้ก็พยายามให้ ฝรงั่เศสอยู่โดเดยี่ว ค.ศ.1872 เยอรมนัเป็นพนัธมติรกบั ออสเตรยี-ฮงัการีและรสัเซีย ซึ่งเรยีกว่า “พนัธมติร สามจกัรพรรด”ิ รวมถงึมสีมัพนัธภาพทดี่กีบัอติาลี ดว้ย
  • 85. แต่อย่างไรก็ตามความสมัพนัธก์็ไม่ยงั่ยนื โดยเฉพาะกบัรสัเซียเมอื่รสัเซียสามารถยดึครอง จกัรวรรดอิอตโตมนัได้ โดยมเียอรมนัคอยขดัไม่ให้ รสัเซียมอีานาจมากเกนิไป นอกจากนเี้ยอรมนัในสมยับสิมารค์ไดพ้ยายาม หลกีเลยี่งการล่าอาณานคิมเพมิ่เตมิ แต่ในทสีุ่ดก็ไม่ สามารถสวนกระแสได้รวมทงั้ยงัมคีวามตอ้งการของ ประชาชนในประเทศทเี่ห็นดกีบัการมอีาณานคิม ทา ให้ เยอรมนัไดอ้าณานคิมเพมิ่เตมิคอื Togoland, (บางส่วน ของ Ghana และ Togo), Cameroon , German East
  • 86. Africa (คอืRawanda, Burundi, Tanzania), German South – West Africa,( Namibia). และหลงัจากมกีารประชุม Berlin ในค.ศ.1884- 1885 ทปี่ระชุมเรยีกรอ้งให้Congo เป็นเขตการคา้ เสรี
  • 88.
  • 89.
  • 90. เมอื่เยอรมนัเปลยี่นผูน้า เมอื่พระเจา้วลิเลมที่1 สนิ้พระชนมแ์ละพระนดัดาขนึ้ ครองราชยแ์ทน เป็นพระเจา้วลิเลมที่2 พระองคไ์ม่ไดท้า ตาม คา แนะนาของ บสิมารค์โดยเฉพาะที่ บสิมารค์พยายามกนัอทิธพิลของกลุ่มสงัคมนยิม เป็นตน้และในทสีุ่ดพระเจา้วลิเลมทรงพยายามจะดงึอา นาจ ปกครองทงั้หมดมาไวท้พี่ระองค์อนัเป็นสาเหตุทที่าให้บสิมาร์ คลาออก และหลงัจากนนั้เยอรมนัก็มแีนวโน้มสูงทจี่ะขดัแยง้ กบัประเทศต่าง ๆในยุโรป
  • 93. กระบวนการรวมชาตอิติาลี ความเป็นมาทางประวตัสิาสตรข์องอติาลีเมอื่ ยอ้นกลบัไปศตวรรษที่ 15 ในขณะทคี่าบสมุทร อติาลโีดยเฉพาะที่โรมกา ลงัเป็นศูนยก์ลางของ วทิยาการนนั้ คาบสมุทรอติาลยีงัแบ่งแยกเป็นแควน้ เล็กแควน้น้อย เพราะไม่มผีูน้าของแควน้ใดทจี่ะมี อานาจพอทจี่ะรวมแควน้ต่าง ๆ ในคาบสมุทรใหเ้ป็น อนัหนงึ่อนัเดยีวกนั จนกระทงั่ในค.ศ.1494 กษตัรยิข์องฝรงั่เศสคอื
  • 94. พระเจา้ชารล์สท์ี่ 8 ไดเ้รมิ่ตน้บุกเขา้ไปยดึครองคาบสมุทร อติาลี และดา เนนิการแข่งขนักบัสเปนในการเป็นเจา้ของพนื้ที่ นี้ต่อมา ในทสีุ่ดสเปนชนะภายใตส้นธสิญัญา Cateau- Cambresis ในค.ศ.1559 ยอมรบัอา นาจของสเปนใน มลิาน (Milan) ในอาณาจกัร Naples ต่อมาในค.ศ.1713 ภายใตส้นธสิญัญา Peace of Utrecht ออสเตรยีมชียัเหนือสเปน ออสเตรยีไดเ้รยีกรอ้ง ดนิแดนจากสเปนคอื State of Milan และ Kingdom of Naples มาครอบครองแทน
  • 95.
  • 96.
  • 97. ดงันนั้ในศตวรรษที่18 อติาลสี่วนใหญ่จงึอยู่ภายใต้ อานาจของออสเตรยี ราชวงศ ์แฮบสเ์บริก์ แต่ภายหลงัการยดึ อานาจในฝรงั่เศสโดยนโปเลยีน นโปเลยีนไดแ้ผ่ขยายอานาจ ทวั่ยุโรปรวมไปถงึในคาบสมุทรอติาลดีว้ยทา ใหร้ะบบการ ปกครองในอติาลเีกดิการเปลยี่นแปลง เพราะนโปเลยีนไดต้งั้ แควน้ใหม่ดว้ย แต่แควน้เหล่านี้ก็ล่มสลายไปหลงั นโปเลยีน หมดอานาจ ยกเวน้กรุงโรม แต่อย่างไรก็ตามอติาลกี็ยงัคงแบ่งแยกเป็นแควน้เล็ก บา้งใหญ่บา้ง ทใี่หญ่ก็ไดแ้ก่แควน้ Sardinia ซึ่งเป็นแควน้ที่ สา คญัในการรวมชาตอิติาลี
  • 98. กระบวนการรวมชาติอิตาลี กระบวนการรวมชาตอิติาลเีป็นความพยายามจากผูน้า อติาลหีลายคนทตี่อ้งการจะเป็นอสิระจากออสเตรยี ฉะนนั้จงึเกดิ เหตุการณ์การก่อกบฏ เพอื่แยกตนเองจากออสเตรยีในเขตเมอืง ต่าง ๆ บ่อยครงั้ เช่นที่Sardinia ผูน้าสา คญัคนหนงึ่ของการวาง แนวทางรวมชาตอิติาลกี็คอื Cavour ซึ่งเป็นชาว Turin แต่ เดนิทางไปทางานดา้นหนงัสอืพมิพก์ารเมอืงที่Piedmont จน ต่อมาไดร้บัเลอืกตงั้ในเขตเมอืงนี้ และไดด้า รงตา แหน่ง นายกรฐัมนตรี
  • 99. Cavour ใช้นโยบายทางการทูตเพอื่ใช้ในการรวม ประเทศ โดยเฉพาะความสมัพนัธแ์ละความช่วยเหลอืจาก เยอรมนั ทาใหอ้ติาลตีอ้งช่วยปรสัเซียรบกบัฝรงั่เศสเพอื่ใหไ้ด้ เมอืง Venitia คนืจากฝรงั่เศส เป้าหมายสา คญัของ Cavour ก็คอืตอ้งการทา ให้ ประเทศเป็นรฐัเขม้แข็งแบบทหาร แมว้่าเขาจะมคีวามคดิแบบ ประชาธปิไตย และเศรษฐกจิแบบเสรนียิม (free trade) ก็ตาม ส่วนทางดา้นเศรษฐกจิอติาลีเขา้สู่กระบวนการ ปฏวิตัอิุตสาหกรรมมาตงั้แต่ ค.ศ.1830 ในส่วนของแควน้ Sardinia
  • 100. มหาอา นาจยุโรปกบัจกัรวรรดนิยิม ในศตวรรษที่19 – ตน้ 20 ในศตวรรษที่19 ถงึตน้ศตวรรษที่20 การคา้แบบตลาดเสรี และ ระบบทุนนยิมอนัเกยี่วขอ้งกบักระบวนการปฏวิตัอิุตสาหกรรมดงัที่ กล่าวมาขา้งตน้ นาพาใหป้ระเทศในยุโรปโดยเฉพาะยุโรปตะวนัตก ตอ้งผนัตวัเองไปเป็นเจา้แห่งการล่าอาณานคิมในลกัษณะทเี่รยีกว่า “จกัรวรรดนิยิม” (Imperialism) ซึ่งแตกต่างจากอาณานคิมใน ศตวรรษที่15 ตรงทปี่ระเทศทเี่ป็นเจา้อาณานคิมจะเขา้ไปปกครองใน ดนิแดนโพน้ทะเลโดยตรง แต่อาณานคิมธรรมดา เจา้อาณานคิมไป เพยีงแค่เปิดสถานีการคา้อย่างถาวรเท่านนั้
  • 101. ลกัษณะของจกัรวรรดนิยิมในศตวรรษที่20 อาจกล่าวไดว้่าลกัษณะของจกัรวรรดนิยิมในศตวรรษที่20 มอียู่ สองประเภทคอื (รวมทงั้สมยัสงครามโลกทงั้สองครงั้ดว้ย) ประเภททหี่นงึ่จกัรวรรดนิยิมแบบทุนนยิมเสรีเช่น องักฤษและฝรงั่เศส เป็นตน้ (เก็บความจาก กุลลดา เกษบุญชู มดี้,2549,น.94-109) ประเภททสี่อง จกัรวรรดนิยิมแบบทหาร เช่นของ เยอรมนั และอติาลี สมยัฮติเลอร ์และมุสโสลนิี
  • 102. ลกัษณะจกัรวรรดนิยิมแบบทุนนยิมเสรีจะเขา้ ครอบครองอาณานคิมภายใตเ้งอื่นไขการเปิดตลาดการคา้เสรี ภายใตอุ้ดมการณล์ทัธเิสรนียิม โดยการบบีบงัคบัใหป้ระเทศคู่ คา้ยอมรบัในสนิคา้ทเี่จา้อาณานคิมนามาขาย เช่นองักฤษบบี คนั้ใหจ้นีตอ้งคา้ ฝิ่น เป็นตน้ และในขณะเดยีวกนัก็บบีบงัคบัให้ ประเทศคู่คา้ขายสนิคา้ทเี่จา้อาณานคิมตอ้งการ เช่น องักฤษ บบีบงัคบัใหส้ยามขายขา้วตามความตอ้งการของตลาดโลก แทนพรกิไทยอกีดว้ย เงอื่นไขสา คญัทที่าใหเ้จา้อาณานคิมตอ้งทา เช่นนี้มา จากการขยายตวัของทุนสะสมจากการคา้และการขยายตวัของ อุตสาหกรรมในประเทศอาณานคิม โดย
  • 103. ในองักฤษอุตสาหกรรมสงิ่ทอทเี่จรญิกา้วหน้า ในช่วงตน้ศตวรรษที่19 ทา ใหเ้กดิแรงผลกัดนัจาก ผูป้ระกอบการทจี่ะส่งออกสงิ่ทอไปต่างประเทศ ส่วนการขยายตวัทุนนยิมในประเทศองักฤษ เองส่งผลใหพ้่อคา้เอกชนมบีทบาทในการเขา้ กา หนดวถิทีางการผลติของประเทศคู่คา้ดว้ยเช่น พ่อคา้องักฤษจ่ายสนิเชื่อล่วงหน้าใหแ้ก่ชาวนา ฟิลปิปินสเ์พอื่ทา การผลตินา้ตาล แทนขา้วเป็นตน้
  • 104.  ในกรณีขององักฤษทพี่ยายามใช้อานาจผูกขาด การคา้เพอื่คุมเสน้ทางการคา้ระหว่าง จนี อนิเดยี และยุโรป เรยีกว่า Pax Britannica หรอืการสรา้ง แนวคดิว่าองักฤษคอืชาตผิูน้าทยีุ่ตธิรรมเพอื่ปูทาง สู่ความเป็นผูย้งิ่ใหญ่แห่งภูมภิาคนนั่เอง
  • 105. องักฤษคอืประเทศเรมิ่ตน้ทเี่ขา้มา เรยีกรอ้งการเปิดประตูการคา้แบบเสรนียิม ในโลก ตะวนัออก จากนนั้ประเทศในยุโรปอนื่ ๆ ก็เขา้มา เอาอย่าง เช่นฝรงั่เศส ดงัจะเห็นไดว้่า คู่แข่งทสี่าคญั ทางการคา้แบบเสรนียิมในศตวรรษที่19 ของ องักฤษคอืฝรงั่เศส จนในทสีุ่ดองักฤษและฝรงั่เศส ตอ้งตกลงกนัให้สยามเป็นรฐักนัชน (Buffer State) ระหว่างอาณานคิมของทงั้สองฝ่าย
  • 106. การทเี่ยอรมนับุกเขา้ยดึออสเตรยีและฝรงั่เศส ศตวรรษที่20 ถอืเป็นหลกัการกระทา ตามแนวคดิ ของ Charles Darwin เรอื่งกฎแห่งการอยู่รอด “The survival of the fittest” นอกจากนี้จกัรวรรดนิยิม ยงัเชื่อมโยงกบั ความคดิเรอื่งเชื้อชาตนิยิม อกีดว้ย ยกตวัอย่างเช่น ชาวเยอรมนัภูมใิจในเชื้อชาติ“อารยนั” ส่วนชาว รสัเซียภูมใิจในความเป็นเชื้อชาติ“สลาฟ” เป็นตน้ ส่งผลใหเ้กดิปฏกิริยิาต่อตา้นชนกลุ่มนอ้ย
  • 107. ฉะนนั้ความแตกต่างของจกัรวรรดนิยิมทงั้ สอง คอืฝ่ายเสรนียิม และทหารนยิม อยู่ทเี่พยีง อุดมการณ์ทางการเมอืงและอุดมการณ์ทาง เศรษฐกจิทตี่่างกนัเท่านนั้
  • 108. 2.4.8 สาเหตุของสงครามโลกครงั้ที่1 สาเหตุระยะยาว  แนวคดิเรอื่ง ชาตนิยิมและจกัรวรรดนิยิม  ผลประโยชนแ์ห่งชาตภิายใตล้ทัธจิกัรวรรดนิยิม อนันามาสู่ ความขดัแยง้ทงั้ในภูมภิาคยุโรปและในดนิแดนโพน้ทะเล  การแบ่งกลุ่มพนัธมติรในยุโรป เพราะเยอรมนัภายหลงั บสิมารค์ ไม่ไดด้า เนนินโยบายโดดเดยี่วฝรงั่เศส คงปล่อยใหฝ้รงั่เศสเป็น พนัธมติรกบั องักฤษ และ รสัเซีย
  • 109.  ค.ศ.1907 เยอรมนีออสเตรยี – ฮงัการีและอติาลีร่วมกนั ลงนามในสนธสิญัญา พนัธไมตรไีตรมติร หรอืบางทเี่รยีก ไตรพนัธมติร ( Triple Alliance) เนอื่งจากเยอรมนี ตอ้งการกดีกนัรสัเซียไม่ใหเ้ป็นใหญ่ในแหลมบอลข่าน  ค.ศ.1907 องักฤษ ฝรงั่เศส รสัเซีย ไดห้นัมาร่วมมอืเป็น มติรต่อกนัและลงนามในสนธสิญัญา ฉนัทไมตรไีตรมติร บางทเี่รยีกว่า สนธสิญัญาไตรภาคี( Triple Entente) เพอื่หยุดยงั้การขยายอานาจ ของกลุ่มเยอรมนี
  • 110. ชนวนของสงครามหรอืสาเหตุระยะสนั้  ผลประโยชนข์องสหรฐัฯถูกคุกคามโดยฝ่ายอกัษะ (คอืฝ่ายเยอรมนี) ไดแ้ก่ เรอืสนิคา้ ลูสธิาเนียถูกจม
  • 112. ความหมายของ Trench war Trench War หมายถงึ การรบภายในหลุมหลบภยั ยงัผลใหบ้นภาคพนื้ดนิไม่มมีนุษยป์รากฏอยู่เลย หรอื ทเี่รยีกว่า เขต ‘ No man’s land’
  • 113. ผลของครามโลกครงั้ที่1  เกดิองคก์ารสนันบิาตชาตทิมี่ขีอ้บกพร่อง เพราะรสัเซยี ถอนตวั สหรฐัฯไม่เขา้ร่วม และไม่มกีองทหารทจี่ะเขา้ไป ไกล่เกลยี่ขอ้พพิาท  ฝ่ายแพต้อ้งสูญเสยีดนิแดนและค่าปฏกิรรมสงครามตาม สนธสิญัญา แวรซ์าย ซึ่เป็นสญัญาทไี่ม่เป็นธรรมและไม่ เป็นไปตามหลกัการ 14 ประการ ของประธานาธบิดวีูดโร วลิสนัตามทไี่ดต้กลงกนัไว้  เกดิภาวะวกิฤตทางเศรษฐกจิ คอืเงนิเฟ้อ คนว่างงาน ส่งผล ใหหุ้น้ตก และเกดิเศรษฐกจิตกต่า ทวั่โลก
  • 114. สาเหตุของสงครามโลกครงั้ที่2  เยอรมันไม่ชดใช้ค่าปฏิกรรมสงคราม  เกิดลัทธิชาตินิยมใน เยอรมัน และอิตาลี อันนาไปสู่ การสร้างจักรวรรดินิยมในยุโรป เช่น เยอรมันบุก ออสเตรีย และดินแดนของฝรั่งเศส เป็นต้น  ในทวีปเอเชีย ญี่ปุ่นภายใต้การนาของรัฐบาลทหาร พยายามสร้างอิทธิพลของตน ตามแนวคิดการร่วม วงศ์ไพบูลย์มหาเอเชียบูรพา
  • 115.  ผลประโยชนข์องสหรฐัฯถูกคุกคามโดยฝ่ายอกัษะ (คอืฝ่ายเยอรมนี) ไดแ้ก่ ญปีุ่่นแย่งผลประโยชนใ์น หมู่เกาะในแปซฟิิค รวมทงั้โจมตฐีานทพัที่เพริล์ฮา เบอร ์ทา ใหส้หรฐัฯเขา้ร่วมสงครามโลกครงั้ทสี่อง
  • 116. HITLER
  • 118. ผลของสงครามโลกครงั้ที่2  ยุโรปไดร้บัความบอบชา้เพราะยุโรปคอืสนาม โดยตรงทาใหเ้กดิแนวทางการบูรณาการยุโรปเพอื่ใหเ้กดิ สนัตภิาพอย่างถาวร  อกีทงั้เพอื่กอบกูส้ภาพทางเศรษฐกจิของยุโรปใหดี้ ดงัเดมิ สหรฐัฯจงึไดป้ระกาศวาทะทรูแมนและตามดว้ย แผนการ มารแ์ชล เพอื่ใหค้วามช่วยเหลอืทางเศรษฐกจิแก่ ยุโรป สหรฐัอเมรกิาเขา้มามบีทบาทในการเมอืงโลกแทน ยุโรป
  • 121. 2.4.9 โลกหลงัสงครามโลกครงั้ที่2  ประการแรก เกอืบทุกประเทศในยุโรปร่วมมอืกนัทจี่ะสร้าง สนัตภิาพถาวร โดยบูรณาการดา้นเศรษฐกจิใหม้นั่คง จงึ เกดิการพฒันาการความร่วมมอืทางเศรษฐกจิ ในรูปแบบ องคก์รทางเศรษฐกจิมากมาย อาทิ องคก์ารเพอื่ความ ร่วมมอืทางเศรษฐกจิยุโรป ประชาคมถ่านหนิและ เหล็กกลา้แห่งยุโรป องคก์ารสนธสิญัญาแอตแลนตกิเหนือ เป็นตน้ การบูรณาการนี้ไดร้บัการสนบัสนุนจากสหรฐัอเมรกิาที่ ตอ้งการใหยุ้โรปเขม้แข็งเพอื่ช่วยลดภาระการช่วยเหลอื ประเทศโลกที่สาม และเพ่อืป้องกันภัยจาก สหภาพโซ เวียต ในช่วงสงครามเย็น
  • 122.  ในทศวรรษ 1960 ยุโรปบูรณาการในรูป ประชาคมยุโรป มเีป้าหมายที่ การกาหนดนโยบายดา้นการเกษตรร่วมกนั ในรูปของการจดัตงั้ตลาด ร่วม หรอืทเี่รยีกว่า the common market  ทศวรรษที่1970-1985 เป็นยุคแห่งความร่วมมอืระหว่างยุโรป ตะวนัตกกบัยุโรปตะวนัออก และกบัสหรฐัอเมรกิา ซึ่งสอดคลอ้งกบัการ ผ่อนคลายความตงึเครยีดของสงครามเย็น และนโยบายมุ่งสู่ตะวนัออก ของเยอรมนั  ค.ศ.1992 ประชาคมยุโรปไดก้ลายมาเป็น สหภาพยุโรป ภายใต้ สนธสิญัญา มาสทรกิท ์( Maastricht Treaty )หมายถงึการเป็นหนงึ่ เดยีวกนัของยุโรปทงั้ดา้นเศรษฐกจิและการเมอืง โดยมเีป้าหมายที่ สา คญัทสีุ่ดคอืการคา้เสรี
  • 124.
  • 125. ประการทสี่อง การเกดิภาวะสงครามเย็น ซึ่งเป็นสงคราม อุดมการณ์ระหว่าง ลทัธิคอมมวินสิต ์ภายใตก้ารนาของสหภาพ โซเวยีต กบัลทัธปิระชาธปิไตย ภายใตก้ารนาของสหรฐัอเมรกิา ภาวะสงครามเย็นไดส้นิ้สุดลงในสมยัประธานาธบิดีมคิ คาอลิ กอรบ์าชอฟ ทดี่า เนนินโยบาย เศรษฐกจิแบบการตลาด (Perestroika) กบันโยบายความโปร่งใสทางการเมอืง (Glasnot) ส่งผลใหส้หภาพโซเวยีต มคีวามเป็นเสรนียิมที่ สอดคลอ้งกบัสหรฐัอเมรกิา ส่งผลใหก้ารเมอืงแบบสองขวั้ อานาจ ( Bipolar system ) หมดไปแทนทดี่ว้ยการเมอืงโลก แบบหลายขวั้อานาจ (Multi Polar System ) ซึ่งประกอบไป ดว้ยประเทศ จนี ญปีุ่่น เกาหลีอนิเดยี เป็นตน้