SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 40
โท Levelup Plus
CPE19
Facebook.com/paiboonpa
paiboonpa@gmail.com
 วันที่เราสัญญากับลูกค้าว่าเราจะส่งงานได้
 วันที่เราสัญญากับหัวหน้าว่าเราจะส่งงานได้
 วันที่เราสัญญากับทีมอีกทีมว่าเราจะส่งงานไปให้ทาต่อ
 วันที่เราสัญญากับตัวเองว่าเราจะทาสิ่งๆ หนึ่งให้เสร็จ
 วันที่เราสัญญากับนาย…ว่าจะส่งงานได้
 ลูกค้าขอแก้แล้วแก้อีก
 สมาชิกในทีมคนสาคัญเกิดป่วยยาว
 HDD เสีย ข้อมูลหาย ทาใหม่หมด
 Bug แล้ว Bug อีก
 เสียเวลาทาในสิ่งที่ลูกค้าไม่ต้องการ
 อื่นๆ
 เลื่อน Deadline! (เจรจาต่อรองกับลูกค้า)
 ตัด Feature ที่ต้องทาให้น้อยลง... (เจรจาต่อรองกับลูกค้า)
 ทางานวันละ 12 ชั่วโมงแม่มเลย ทุกคนต้องช่วยกัน!
 เพิ่มคน? (เงิน?)
 ไม่ต้อง test??
 ยกเลิกโปรเจค???
 Product ที่ไม่พบ bug เลย
 Product ที่ไม่มีลูกค้ากล่าวว่า ติติงเลย
 Feature เยอะๆ ให้มากกว่าคู่แข่ง
 Feature เป็นไปตามที่ต้องการของลูกค้า, หัวหน้า, ฝ่าย business ,
ผู้ว่าจ้าง
 Feature เป็นไปตามที่ต้องการของผู้ใช้ (ตัวจริง ที่ไม่ได้จ่ายตัง หรือออก
คาสั่ง)
 Product ออกสู่ตลาดได้เร็วกว่าคู่แข่ง
 ทุกอย่างเป็นไปตาม Plan ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง
 Software ที่ไม่มี bug เลย ไม่มีอยู่จริงบนโลก
 มีผู้ใช้ที่ด่าเรา ผู้ใช้เป็นเด็กเกรียน นักเลงคีย์บอร์ด มนุษย์ลุง มนุษย์ป้าอยู่เต็มไปหมด
 Feature ที่เยอะๆ เป็น 100 อย่าง มีผู้ใช้ ใช้งานจริงแค่ 10 อย่าง
 Feature ที่ ลูกค้า, หัวหน้า, ฝ่าย business ,ผู้ว่าจ้าง บอกว่าต้องมี แต่กลับ
ไม่มีผู้ใช้คนไหน ใช้งานจริงเลย
 Feature ที่มีลูกค้าจริงใช้งานเยอะแยะ เป็น Killer Feature กลับถูกลูกค้า
, หัวหน้า, ฝ่าย business ,ผู้ว่าจ้าง มองว่ามันไม่เท่ห์ ไม่ Cool และบอกว่า
ห้ามทา
 มีคู่แข่งที่ออก Product เร็วกว่าเราเสมอ
 ไม่มีอะไรเป็นไปตาม Plan 100% หรอก!
Quality Time
Feature
?
Less
Feature
Delay Bug
 Deadline ไม่สามารถเลื่อนได้ เพราะลูกค้าไม่รับการเจรจาใดๆ จากเรา
 เมื่อเราไม่สามารถเปลี่ยนแปลง Time ได้ เราต้องเลือกว่าจะเอา
Quality หรือ Feature
 แต่เมื่อเราเสนอ Time และ Feature ไปแล้ว มีเพียง Quality ที่
มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ดังนั้นจึงถูกบังคับเลือก Feature
 Quality? รอแก้ Bug หลังส่งงานอีกที
 สรุป: ทา Feature ให้ครบ มีหน้าตาสวยงามพร้อม ส่งทันตามกาหนด แต่
แทบไม่ได้ Test เมื่อใช้งานจริงจึงห้ามทาผิดพลาดแม้แต่นิดเดียว ไม่งั้นพัง!
อย่างน้อยก็ทันแถลงข่าวเปิดตัวนะเออ!
ปลอม!
เปลือก!
ภาพจากฮอร์โมน season 3 ตอนที่ 6
ภาพจาก 9gag.com ละครเรื่องธิดาพยายม
อ่านรายละเอียดดราม่า: http://pantip.com/topic/31170640
http://www.thairath.co.th/content/379219
 ลูกค้าอยากได้ Feature ครบๆ และ Quality ที่ไร้ข้อผิดพลาด ไร้
Bug แม้ภาพเบี้ยว 1 pixel ก็ไม่ยอม! (Perfectionist)
 Time จึงเป็นตัวแปรเดียวที่ลูกค้ายอมได้ เพราะถ้าทาให้ Software
ออกมาไร้ที่ติได้ เค้ายอมทุกอย่าง
 ทา Feature จนครบ มี Test Plan ครอบคลุมทุกการใช้งาน,
Automate Test ครบเครื่อง
 ทาออกมาแล้วลูกค้ารู้สึกขัดใจ อยาก improve ขึ้นไปอีก ขอเพิ่ม
Feature
 สรุป: งาน Delay เพราะ Feature งอกมากมาย แต่ผู้ใช้ได้ใช้ของมี
คุณภาพอย่างแท้จริง
2006 2016
ที่มา: http://forum.tirkx.com/main/showthread.php?185796
 Quality กับ Time ต้องมาคู่กัน
 Time to market เป็นตัวเร่งอยู่ว่าออกช้าก็เจอคู่แข่งตัดหน้า
 ออกช้า ค่าใช้จ่ายบาน รายได้อาจเข้ามาไม่ทัน ทาให้ไม่มีเงินหมุน เอาไปจ่ายเงินเดือน
พนักงานได้
 Bug เยอะก็คงไม่ได้ ไม่งั้นไม่มีใครใช้
 Feature เป็นตัวแปรที่ถูกควบคุมได้มากที่สุด
 Product ต้องอยู่ในสถานะพร้อมปล่อยออกขายตลอดเวลา เพราะเมื่อถึงจุดที่
เวลาหมดแล้วจริงๆ (เงินหมดแล้วจริงๆ) จะถูกบังคับปล่อย
 Feature ที่ทาไปแล้วต้องแน่ใจว่าทางานได้ในระดับที่รับได้
 สรุป: ตัด Feature ที่ไม่จาเป็นทิ้ง เหลือแต่ Feature ที่เป็นแก่นสาคัญจริงๆ
เป็น MVP (Mininum Viable Product) (Lean Startup)
ภาพจาก http://www.startupdaily.net/2012/05/why-your-startup-will-probably-fail/
เหตุการณ์สมมติ: การเดินทางมางาน Barcamp Bangkhen
ภาพจาก thairath.co.th
ภาพจาก thairath.co.th
 เจอม๊อบ, เจอน้าท่วมครับ เลยต้องอ้อมไปอีกทาง
 อ๋อ พอดีผมต้องอ้อมไปออกลาดพร้าววังหิน เข้ารัชดา แล้วต่อมายังวิภาวดี ถึง
จะมาได้ทันน่ะครับ
 อ๋อ ผมวิ่งอ้อมมาทางนี้ เพราะเจอม๊อป น้าท่วมที่จุดนี้ๆ เลยบังคับให้อ้อมตาม
ภาพเลยครับ
 คนถามเป็นคนที่รู้สถานที่ตั้งม.เกษตรไหม?
 คนถามรู้ไหมว่าแผนที่รอบม.เกษตรเป็นอย่างไร?
 คนถามรู้ไหมว่ามีทางอ้อมหลบไปทางใดบ้าง ที่จะเร็วที่สุด?
 คนถามคาดหวังไหมว่าต่อให้เกิดเหตุสุดวิสัยใดๆ ก็ตาม คุณควรจะต้องมา
ทันเวลาภายใน 7 นาที อยู่ดี (เวลาที่ไม่เจอเหตุสุดวิสัยเลย)
 บอส: เห้ย! ทาไมงาน Delay วะ?
 นาย ก: อ๋อ พอดีมันมี Bug อะครับ
 บอส: แต่มันก็ควรจะใช้เวลาแก้ไม่นานป่าววะ?
 นาย ก: อ๋อ พอดีมันแก้แล้วระบบที่บอสบอกคราวก่อนยังไม่รองรับการแก้แบบ
นี้ ไม่ได้ทาเผื่อไว้ เลยต้องทาเพิ่มเยอะหน่อยครับ
 บอส: ไม่รองรับยังไง ผมไม่เข้าใจ พูดจาไม่รู้เรื่อง เอาอะไรก็ไม่รู้มาอ้าง ยังไง
คุณต้องแก้ให้เสร็จในวันพรุ่งนี้!
 นาย ก: ครับ T_T
 เงิน
 ความอยู่รอดของบริษัท
 ขายฝันนักลงทุน
 ผู้ใช้มีความสุข แก้ปัญหาของเค้าได้ (อนาคตอาจบอกต่อความดีของเรา)
 สนอง need ผู้ว่าจ้าง
Quality Time
Feature
Impossible?
Less
Feature
Delay Bug
 เพื่อจะได้ภูมิใจว่าเราทาตามแผนได้? เป็นขวัญกาลังใจให้ลูกทีมว่าเราทางาน
เสร็จทัน? (ไม่นับแก้งาน ไม่นับ bug ที่ต้องแก้เพิ่มอีกกี่วัน แค่มีงานส่งพอ)
 เพื่อจะได้คุมว่าลูกน้องเราไม่ขี้เกียจหรืออู้งานระหว่างนั้น ทาให้ใช้เวลามากกว่า
ที่วางแผนไว้? (แต่ไม่คานึงถึงปัจจัยไม่คาดฝัน หรือการเปลี่ยน
requirement ระหว่างทาง)
 เพื่อติดตามความคืบหน้าว่าตอนนี้งานเดินไปถึงไหนแล้ว
 เพื่อจะได้แจ้งฝ่ายที่ทางานต่อจากเราได้ว่าต้องเตรียมทางานต่อช่วงไหน
อย่างไร
 เพื่อประมาณงบประมาณที่ต้องใช้ (เช่นเงินเดือนพนักงานที่ต้องใช้)
 สร้างเสริมกาลังใจหลังมีคนมาใช้งานของเราจริง และรับคาชื่นชมจากผู้ใช้หรือลูกค้าแทนได้ไหม?
 ในทางปฏิบัติเราไม่สามารถควบคุมลูกน้องให้ไม่อู้ได้หรอก ระบบที่เพิ่มขั้นตอนตรวจสอบให้ไม่อู้ได้
จะเสียเวลาเราเพิ่มขึ้น และจะเพิ่มความกดดันให้ลูกน้องเสียเอง และยังกันได้ไม่ 100% อยู่ดี เราดู
ผลลัพธ์สุดท้ายได้ไหมว่าทาออกมาแล้วลูกค้าชอบไหม หรือลูกน้องเรามีการป้องกันปัญหาเดิมๆ
ไม่ให้เกิดซ้าไหม
 หากต้องการติดตามงาน ถ้าให้ลูกน้องเตรียมตัว Demo ระบบที่ทาได้ตลอดเวลาได้ไหม? ให้
รายงานและ Demo บ่อยๆ ตามที่เราต้องการ นอกจากจะรู้ว่างานเดินตลอดและเจอปัญหา
อะไรบ้างแล้ว หากไม่ถูกใจอยากแก้ก็สามารถสั่งแก้ได้ทันที ไม่ต้องเสียเวลารอทาเสร็จก่อนเพื่อมา
บอกว่าให้ทาใหม่หมด
 เราสามารถทาระบบเป็นคล้ายตะกร้า “งานที่เสร็จแล้ว รอส่งต่อ” ทิ้งเอาไว้ได้หรือไม่? ให้ทีมที่ทางาน
ต่อมาสังเกตเอาเองว่าตะกร้านี้มีงานเสร็จเพิ่มมาหรือยัง ถ้าเสร็จแล้วทีมเราก็ทางานอื่นต่อไปเลย โดย
ที่ทีมที่มารับงานต่อไม่ต้องสนใจว่าจะเสร็จเมื่อไหร่ ถ้ามีงานกองในตะกร้าแสดงว่างานพร้อมแล้ว
สามารถรับไปทาต่อได้เลย ต่อให้เราทาเสร็จเร็วจนงานกองในตะกร้าเยอะ ทีมที่มารับงานต่อก็จะเห็น
เองเพราะต้องมาคอยเช็คตะกร้าทุกๆ วันอยู่แล้ว (Kanban)
 เรื่องประมาณงบควรประมาณเผื่อ ดีกว่าประมาณขาด เพราะใช้ไม่ถึงแผนแสดงว่าเก่ง ใช้เกินแผน
แสดงว่ากาก
ภาพจาก http://www.telegraph.co.uk/technology/apple/iphone/5477324/Apples-iPhone-a-history-in-pictures.html
 ตอนที่สตีฟ จ็อบส์ เปิดตัว iPhone ในเดือนมกราคม 2007 ตอนนั้นตัว iPhone ยังไม่
สมบูรณ์มากๆ ทั้งเสถียรภาพของระบบปฏิบัติการที่รันงานได้ไม่เยอะแล้วจะรีบูตเพราะหน่วยความจา
เต็ม เล่นวิดีโอได้ไม่เต็มความยาวคลิปเพราะแบตจะหมดก่อน และมีปัญหาการเชื่อมต่อกับสัญญาณ
เครือข่าย แต่จ็อบส์ก็ยืนยันว่าจะเดโมฟีเจอร์ทั้งหมดแบบสดๆ ไม่บันทึกเทปไว้ก่อน (นาน 90 นาที!)
ซึ่งรวมถึงการโทรออกไปสั่งกาแฟ ซึ่งก็ต้องเชื่อมเครือข่ายจริงๆ ด้วย
 ทีมงานของแอปเปิลจึงต้องเตรียมพร้อมทุกอย่างเพื่อไม่ให้เดโมเจ๊งกลางงาน เช่น มี iPhone
หลายเครื่องเตรียมไว้เดโมฟีเจอร์เครื่องละ 2-3 อย่างเท่านั้น, มีลาดับการพรีเซนต์ฟีเจอร์ต่างๆ ที่รู้
ล่วงหน้าว่าจะไม่แครช
 ทีมงานแก้ปัญหาเรื่อง Wi-Fi ที่อาจมีปัญหาในงาน โดยเปลี่ยนความถี่ของเราเตอร์ Wi-Fi และ
ตัว iPhone เองเป็นความถี่พิเศษของญี่ปุ่น เพื่อไม่ให้ชนกับอุปกรณ์ Wi-Fi ที่ใช้ความถี่
มาตรฐานของนักข่าวทั้งหลาย
 AT&T ตั้งสถานีฐาน (cell site) ขนาดเล็กไว้ในงานเพื่อการันตีว่าจะโทรออกได้ และทีมงาน
ใช้วิธี hard code แถบสัญญาณของ iPhone ให้เต็ม 5 ขีดตลอดเวลา โดยไม่ขึ้นกับคุณภาพ
สัญญาณจริง เพราะกลัวสัญญาณร่วงระหว่างเดโม
 บทความเต็ม: https://www.blognone.com/node/49517
2010 2013 2015
ภาพจาก: http://blog.onemonthrails.com/famous-first-landing-pages/
ภาพจาก: http://www.tmonews.com/2012/10/happy-birthday-to-the-t-mobile-g1-the-very-first-android-phone/
 ปรับแผนบ่อยๆ หมั่นสังเกตว่ายังเป็นไปตามแผนหรือไม่
 จัดลาดับความสาคัญให้ถูกต้อง เพื่อที่ว่าเวลาเราทาเลย Deadline จริงๆ ส่วนที่
สาคัญที่สุดจะได้ยัง Demo หรือยังใช้งานจริงได้ และนาไปใช้ได้บ้าง และ
Feature ที่ไม่สาคัญจริงๆ ถ้าทาไม่ทันก็จะเสียหายน้อยที่สุด เพราะเราทาอันที่
สาคัญกว่าก่อนแล้ว
 ควรมีกลไลในการแจ้งเตือนว่ามีปัญหาเกิดขึ้นแล้วนะ Delay แล้วนะ ไม่ใช่ปัญหา
ถูกเก็บไว้กับคนใดคนหนึ่งโดยไม่บอกใคร เน้นการสื่อสารในทีมให้ดี
 เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น ควรตั้งสติ อย่าใช้อารมณ์ แล้วช่วยกันคิดโดยไม่หาคนผิด เพราะ
ไม่ช่วยในการแก้ปัญหา
 ประเมินความเสี่ยง และเผื่อในส่วนของความเสี่ยง เท่าที่เป็นไปได้
 อย่าเสียเวลาวางแผนงานมากไป หากมีความเสี่ยงที่ไม่รู้เยอะมากๆ เพราะมันจะต้อง
ถูกเปลี่ยนไปตามสถานการณ์เรื่อยๆ
 Estimate คือการเดา อย่าให้มันมากดดันเรามากเกินไป เดาก็คือเดา
 Plan ที่เรากาหนดได้แน่นอนคือ Worst Case Scenario แต่
Plan ที่เรากาหนดได้ไม่แน่นอนนักคือ Best Case Scenario
 ถ้าขนาด Worst Case ยังไปไม่รอด ทาไม่ทันชัวร์ๆ ทาไปก็ไม่คุ้มก็ควร
พิจารณาปรับ Plan ใหม่ หรือถ้าปรับแล้วยังไม่รอดอยู่ดี และไม่สามารถ
ยืดหยุ่นอะไรเพิ่มเดิมได้ แม้แต่เวลาที่ต้องใช้เพิ่มก็ยืดไม่ได้ ก็ควรพิจารณาถึง
การยกเลิกโปรเจคเพื่อ Cut Lost ความสูญเสียที่กาลังจะเกิดขึ้นแน่ๆ ใน
Plan ที่วางไว้ และเริ่ม Project ใหม่ที่มีความเป็นไปได้มากกว่าแทน
ทำไม Product (project) ถึง Delay? Deadline vs quality
ทำไม Product (project) ถึง Delay? Deadline vs quality

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

rec from mr drew
rec from mr drewrec from mr drew
rec from mr drew
Mayra Perez
 
Cover letter - CAD focus
Cover letter - CAD focusCover letter - CAD focus
Cover letter - CAD focus
Curtis Funnell
 

Andere mochten auch (14)

Images
ImagesImages
Images
 
rec from mr drew
rec from mr drewrec from mr drew
rec from mr drew
 
3. case study 2 tòhe presentation 01
3. case study 2 tòhe presentation 013. case study 2 tòhe presentation 01
3. case study 2 tòhe presentation 01
 
Cover letter - CAD focus
Cover letter - CAD focusCover letter - CAD focus
Cover letter - CAD focus
 
Problemática identificada
Problemática identificadaProblemática identificada
Problemática identificada
 
Biblioteca virtual
Biblioteca virtualBiblioteca virtual
Biblioteca virtual
 
Trabajo Final Cidba Uniquindío
Trabajo Final Cidba UniquindíoTrabajo Final Cidba Uniquindío
Trabajo Final Cidba Uniquindío
 
Reglamento
ReglamentoReglamento
Reglamento
 
Painless Persistence in a Disconnected World
Painless Persistence in a Disconnected WorldPainless Persistence in a Disconnected World
Painless Persistence in a Disconnected World
 
2011| ELO Group – Apresentação Belo Horizonte Recurso
2011| ELO Group – Apresentação Belo Horizonte Recurso 2011| ELO Group – Apresentação Belo Horizonte Recurso
2011| ELO Group – Apresentação Belo Horizonte Recurso
 
ScaleUp Airbnb - จับเสือมือเปล่า
ScaleUp Airbnb - จับเสือมือเปล่าScaleUp Airbnb - จับเสือมือเปล่า
ScaleUp Airbnb - จับเสือมือเปล่า
 
Pool villa cast study - ScaleUP Airbnb
Pool villa cast study - ScaleUP AirbnbPool villa cast study - ScaleUP Airbnb
Pool villa cast study - ScaleUP Airbnb
 
World of Watson Data Science and Machine Learning track
World of Watson Data Science and Machine Learning trackWorld of Watson Data Science and Machine Learning track
World of Watson Data Science and Machine Learning track
 
Historia dl computador
Historia dl computadorHistoria dl computador
Historia dl computador
 

ทำไม Product (project) ถึง Delay? Deadline vs quality

  • 2.  วันที่เราสัญญากับลูกค้าว่าเราจะส่งงานได้  วันที่เราสัญญากับหัวหน้าว่าเราจะส่งงานได้  วันที่เราสัญญากับทีมอีกทีมว่าเราจะส่งงานไปให้ทาต่อ  วันที่เราสัญญากับตัวเองว่าเราจะทาสิ่งๆ หนึ่งให้เสร็จ  วันที่เราสัญญากับนาย…ว่าจะส่งงานได้
  • 3.  ลูกค้าขอแก้แล้วแก้อีก  สมาชิกในทีมคนสาคัญเกิดป่วยยาว  HDD เสีย ข้อมูลหาย ทาใหม่หมด  Bug แล้ว Bug อีก  เสียเวลาทาในสิ่งที่ลูกค้าไม่ต้องการ  อื่นๆ
  • 4.  เลื่อน Deadline! (เจรจาต่อรองกับลูกค้า)  ตัด Feature ที่ต้องทาให้น้อยลง... (เจรจาต่อรองกับลูกค้า)  ทางานวันละ 12 ชั่วโมงแม่มเลย ทุกคนต้องช่วยกัน!  เพิ่มคน? (เงิน?)  ไม่ต้อง test??  ยกเลิกโปรเจค???
  • 5.  Product ที่ไม่พบ bug เลย  Product ที่ไม่มีลูกค้ากล่าวว่า ติติงเลย  Feature เยอะๆ ให้มากกว่าคู่แข่ง  Feature เป็นไปตามที่ต้องการของลูกค้า, หัวหน้า, ฝ่าย business , ผู้ว่าจ้าง  Feature เป็นไปตามที่ต้องการของผู้ใช้ (ตัวจริง ที่ไม่ได้จ่ายตัง หรือออก คาสั่ง)  Product ออกสู่ตลาดได้เร็วกว่าคู่แข่ง  ทุกอย่างเป็นไปตาม Plan ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง
  • 6.  Software ที่ไม่มี bug เลย ไม่มีอยู่จริงบนโลก  มีผู้ใช้ที่ด่าเรา ผู้ใช้เป็นเด็กเกรียน นักเลงคีย์บอร์ด มนุษย์ลุง มนุษย์ป้าอยู่เต็มไปหมด  Feature ที่เยอะๆ เป็น 100 อย่าง มีผู้ใช้ ใช้งานจริงแค่ 10 อย่าง  Feature ที่ ลูกค้า, หัวหน้า, ฝ่าย business ,ผู้ว่าจ้าง บอกว่าต้องมี แต่กลับ ไม่มีผู้ใช้คนไหน ใช้งานจริงเลย  Feature ที่มีลูกค้าจริงใช้งานเยอะแยะ เป็น Killer Feature กลับถูกลูกค้า , หัวหน้า, ฝ่าย business ,ผู้ว่าจ้าง มองว่ามันไม่เท่ห์ ไม่ Cool และบอกว่า ห้ามทา  มีคู่แข่งที่ออก Product เร็วกว่าเราเสมอ  ไม่มีอะไรเป็นไปตาม Plan 100% หรอก!
  • 8.  Deadline ไม่สามารถเลื่อนได้ เพราะลูกค้าไม่รับการเจรจาใดๆ จากเรา  เมื่อเราไม่สามารถเปลี่ยนแปลง Time ได้ เราต้องเลือกว่าจะเอา Quality หรือ Feature  แต่เมื่อเราเสนอ Time และ Feature ไปแล้ว มีเพียง Quality ที่ มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ดังนั้นจึงถูกบังคับเลือก Feature  Quality? รอแก้ Bug หลังส่งงานอีกที  สรุป: ทา Feature ให้ครบ มีหน้าตาสวยงามพร้อม ส่งทันตามกาหนด แต่ แทบไม่ได้ Test เมื่อใช้งานจริงจึงห้ามทาผิดพลาดแม้แต่นิดเดียว ไม่งั้นพัง! อย่างน้อยก็ทันแถลงข่าวเปิดตัวนะเออ!
  • 11.  ลูกค้าอยากได้ Feature ครบๆ และ Quality ที่ไร้ข้อผิดพลาด ไร้ Bug แม้ภาพเบี้ยว 1 pixel ก็ไม่ยอม! (Perfectionist)  Time จึงเป็นตัวแปรเดียวที่ลูกค้ายอมได้ เพราะถ้าทาให้ Software ออกมาไร้ที่ติได้ เค้ายอมทุกอย่าง  ทา Feature จนครบ มี Test Plan ครอบคลุมทุกการใช้งาน, Automate Test ครบเครื่อง  ทาออกมาแล้วลูกค้ารู้สึกขัดใจ อยาก improve ขึ้นไปอีก ขอเพิ่ม Feature  สรุป: งาน Delay เพราะ Feature งอกมากมาย แต่ผู้ใช้ได้ใช้ของมี คุณภาพอย่างแท้จริง
  • 13.  Quality กับ Time ต้องมาคู่กัน  Time to market เป็นตัวเร่งอยู่ว่าออกช้าก็เจอคู่แข่งตัดหน้า  ออกช้า ค่าใช้จ่ายบาน รายได้อาจเข้ามาไม่ทัน ทาให้ไม่มีเงินหมุน เอาไปจ่ายเงินเดือน พนักงานได้  Bug เยอะก็คงไม่ได้ ไม่งั้นไม่มีใครใช้  Feature เป็นตัวแปรที่ถูกควบคุมได้มากที่สุด  Product ต้องอยู่ในสถานะพร้อมปล่อยออกขายตลอดเวลา เพราะเมื่อถึงจุดที่ เวลาหมดแล้วจริงๆ (เงินหมดแล้วจริงๆ) จะถูกบังคับปล่อย  Feature ที่ทาไปแล้วต้องแน่ใจว่าทางานได้ในระดับที่รับได้  สรุป: ตัด Feature ที่ไม่จาเป็นทิ้ง เหลือแต่ Feature ที่เป็นแก่นสาคัญจริงๆ เป็น MVP (Mininum Viable Product) (Lean Startup)
  • 16.
  • 18.
  • 19.
  • 21.
  • 22.
  • 23.  เจอม๊อบ, เจอน้าท่วมครับ เลยต้องอ้อมไปอีกทาง
  • 24.  อ๋อ พอดีผมต้องอ้อมไปออกลาดพร้าววังหิน เข้ารัชดา แล้วต่อมายังวิภาวดี ถึง จะมาได้ทันน่ะครับ
  • 25.  อ๋อ ผมวิ่งอ้อมมาทางนี้ เพราะเจอม๊อป น้าท่วมที่จุดนี้ๆ เลยบังคับให้อ้อมตาม ภาพเลยครับ
  • 26.  คนถามเป็นคนที่รู้สถานที่ตั้งม.เกษตรไหม?  คนถามรู้ไหมว่าแผนที่รอบม.เกษตรเป็นอย่างไร?  คนถามรู้ไหมว่ามีทางอ้อมหลบไปทางใดบ้าง ที่จะเร็วที่สุด?  คนถามคาดหวังไหมว่าต่อให้เกิดเหตุสุดวิสัยใดๆ ก็ตาม คุณควรจะต้องมา ทันเวลาภายใน 7 นาที อยู่ดี (เวลาที่ไม่เจอเหตุสุดวิสัยเลย)
  • 27.  บอส: เห้ย! ทาไมงาน Delay วะ?  นาย ก: อ๋อ พอดีมันมี Bug อะครับ  บอส: แต่มันก็ควรจะใช้เวลาแก้ไม่นานป่าววะ?  นาย ก: อ๋อ พอดีมันแก้แล้วระบบที่บอสบอกคราวก่อนยังไม่รองรับการแก้แบบ นี้ ไม่ได้ทาเผื่อไว้ เลยต้องทาเพิ่มเยอะหน่อยครับ  บอส: ไม่รองรับยังไง ผมไม่เข้าใจ พูดจาไม่รู้เรื่อง เอาอะไรก็ไม่รู้มาอ้าง ยังไง คุณต้องแก้ให้เสร็จในวันพรุ่งนี้!  นาย ก: ครับ T_T
  • 28.  เงิน  ความอยู่รอดของบริษัท  ขายฝันนักลงทุน  ผู้ใช้มีความสุข แก้ปัญหาของเค้าได้ (อนาคตอาจบอกต่อความดีของเรา)  สนอง need ผู้ว่าจ้าง
  • 30.  เพื่อจะได้ภูมิใจว่าเราทาตามแผนได้? เป็นขวัญกาลังใจให้ลูกทีมว่าเราทางาน เสร็จทัน? (ไม่นับแก้งาน ไม่นับ bug ที่ต้องแก้เพิ่มอีกกี่วัน แค่มีงานส่งพอ)  เพื่อจะได้คุมว่าลูกน้องเราไม่ขี้เกียจหรืออู้งานระหว่างนั้น ทาให้ใช้เวลามากกว่า ที่วางแผนไว้? (แต่ไม่คานึงถึงปัจจัยไม่คาดฝัน หรือการเปลี่ยน requirement ระหว่างทาง)  เพื่อติดตามความคืบหน้าว่าตอนนี้งานเดินไปถึงไหนแล้ว  เพื่อจะได้แจ้งฝ่ายที่ทางานต่อจากเราได้ว่าต้องเตรียมทางานต่อช่วงไหน อย่างไร  เพื่อประมาณงบประมาณที่ต้องใช้ (เช่นเงินเดือนพนักงานที่ต้องใช้)
  • 31.  สร้างเสริมกาลังใจหลังมีคนมาใช้งานของเราจริง และรับคาชื่นชมจากผู้ใช้หรือลูกค้าแทนได้ไหม?  ในทางปฏิบัติเราไม่สามารถควบคุมลูกน้องให้ไม่อู้ได้หรอก ระบบที่เพิ่มขั้นตอนตรวจสอบให้ไม่อู้ได้ จะเสียเวลาเราเพิ่มขึ้น และจะเพิ่มความกดดันให้ลูกน้องเสียเอง และยังกันได้ไม่ 100% อยู่ดี เราดู ผลลัพธ์สุดท้ายได้ไหมว่าทาออกมาแล้วลูกค้าชอบไหม หรือลูกน้องเรามีการป้องกันปัญหาเดิมๆ ไม่ให้เกิดซ้าไหม  หากต้องการติดตามงาน ถ้าให้ลูกน้องเตรียมตัว Demo ระบบที่ทาได้ตลอดเวลาได้ไหม? ให้ รายงานและ Demo บ่อยๆ ตามที่เราต้องการ นอกจากจะรู้ว่างานเดินตลอดและเจอปัญหา อะไรบ้างแล้ว หากไม่ถูกใจอยากแก้ก็สามารถสั่งแก้ได้ทันที ไม่ต้องเสียเวลารอทาเสร็จก่อนเพื่อมา บอกว่าให้ทาใหม่หมด  เราสามารถทาระบบเป็นคล้ายตะกร้า “งานที่เสร็จแล้ว รอส่งต่อ” ทิ้งเอาไว้ได้หรือไม่? ให้ทีมที่ทางาน ต่อมาสังเกตเอาเองว่าตะกร้านี้มีงานเสร็จเพิ่มมาหรือยัง ถ้าเสร็จแล้วทีมเราก็ทางานอื่นต่อไปเลย โดย ที่ทีมที่มารับงานต่อไม่ต้องสนใจว่าจะเสร็จเมื่อไหร่ ถ้ามีงานกองในตะกร้าแสดงว่างานพร้อมแล้ว สามารถรับไปทาต่อได้เลย ต่อให้เราทาเสร็จเร็วจนงานกองในตะกร้าเยอะ ทีมที่มารับงานต่อก็จะเห็น เองเพราะต้องมาคอยเช็คตะกร้าทุกๆ วันอยู่แล้ว (Kanban)  เรื่องประมาณงบควรประมาณเผื่อ ดีกว่าประมาณขาด เพราะใช้ไม่ถึงแผนแสดงว่าเก่ง ใช้เกินแผน แสดงว่ากาก
  • 33.  ตอนที่สตีฟ จ็อบส์ เปิดตัว iPhone ในเดือนมกราคม 2007 ตอนนั้นตัว iPhone ยังไม่ สมบูรณ์มากๆ ทั้งเสถียรภาพของระบบปฏิบัติการที่รันงานได้ไม่เยอะแล้วจะรีบูตเพราะหน่วยความจา เต็ม เล่นวิดีโอได้ไม่เต็มความยาวคลิปเพราะแบตจะหมดก่อน และมีปัญหาการเชื่อมต่อกับสัญญาณ เครือข่าย แต่จ็อบส์ก็ยืนยันว่าจะเดโมฟีเจอร์ทั้งหมดแบบสดๆ ไม่บันทึกเทปไว้ก่อน (นาน 90 นาที!) ซึ่งรวมถึงการโทรออกไปสั่งกาแฟ ซึ่งก็ต้องเชื่อมเครือข่ายจริงๆ ด้วย  ทีมงานของแอปเปิลจึงต้องเตรียมพร้อมทุกอย่างเพื่อไม่ให้เดโมเจ๊งกลางงาน เช่น มี iPhone หลายเครื่องเตรียมไว้เดโมฟีเจอร์เครื่องละ 2-3 อย่างเท่านั้น, มีลาดับการพรีเซนต์ฟีเจอร์ต่างๆ ที่รู้ ล่วงหน้าว่าจะไม่แครช  ทีมงานแก้ปัญหาเรื่อง Wi-Fi ที่อาจมีปัญหาในงาน โดยเปลี่ยนความถี่ของเราเตอร์ Wi-Fi และ ตัว iPhone เองเป็นความถี่พิเศษของญี่ปุ่น เพื่อไม่ให้ชนกับอุปกรณ์ Wi-Fi ที่ใช้ความถี่ มาตรฐานของนักข่าวทั้งหลาย  AT&T ตั้งสถานีฐาน (cell site) ขนาดเล็กไว้ในงานเพื่อการันตีว่าจะโทรออกได้ และทีมงาน ใช้วิธี hard code แถบสัญญาณของ iPhone ให้เต็ม 5 ขีดตลอดเวลา โดยไม่ขึ้นกับคุณภาพ สัญญาณจริง เพราะกลัวสัญญาณร่วงระหว่างเดโม  บทความเต็ม: https://www.blognone.com/node/49517
  • 37.  ปรับแผนบ่อยๆ หมั่นสังเกตว่ายังเป็นไปตามแผนหรือไม่  จัดลาดับความสาคัญให้ถูกต้อง เพื่อที่ว่าเวลาเราทาเลย Deadline จริงๆ ส่วนที่ สาคัญที่สุดจะได้ยัง Demo หรือยังใช้งานจริงได้ และนาไปใช้ได้บ้าง และ Feature ที่ไม่สาคัญจริงๆ ถ้าทาไม่ทันก็จะเสียหายน้อยที่สุด เพราะเราทาอันที่ สาคัญกว่าก่อนแล้ว  ควรมีกลไลในการแจ้งเตือนว่ามีปัญหาเกิดขึ้นแล้วนะ Delay แล้วนะ ไม่ใช่ปัญหา ถูกเก็บไว้กับคนใดคนหนึ่งโดยไม่บอกใคร เน้นการสื่อสารในทีมให้ดี  เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น ควรตั้งสติ อย่าใช้อารมณ์ แล้วช่วยกันคิดโดยไม่หาคนผิด เพราะ ไม่ช่วยในการแก้ปัญหา  ประเมินความเสี่ยง และเผื่อในส่วนของความเสี่ยง เท่าที่เป็นไปได้  อย่าเสียเวลาวางแผนงานมากไป หากมีความเสี่ยงที่ไม่รู้เยอะมากๆ เพราะมันจะต้อง ถูกเปลี่ยนไปตามสถานการณ์เรื่อยๆ  Estimate คือการเดา อย่าให้มันมากดดันเรามากเกินไป เดาก็คือเดา
  • 38.  Plan ที่เรากาหนดได้แน่นอนคือ Worst Case Scenario แต่ Plan ที่เรากาหนดได้ไม่แน่นอนนักคือ Best Case Scenario  ถ้าขนาด Worst Case ยังไปไม่รอด ทาไม่ทันชัวร์ๆ ทาไปก็ไม่คุ้มก็ควร พิจารณาปรับ Plan ใหม่ หรือถ้าปรับแล้วยังไม่รอดอยู่ดี และไม่สามารถ ยืดหยุ่นอะไรเพิ่มเดิมได้ แม้แต่เวลาที่ต้องใช้เพิ่มก็ยืดไม่ได้ ก็ควรพิจารณาถึง การยกเลิกโปรเจคเพื่อ Cut Lost ความสูญเสียที่กาลังจะเกิดขึ้นแน่ๆ ใน Plan ที่วางไว้ และเริ่ม Project ใหม่ที่มีความเป็นไปได้มากกว่าแทน