SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 33
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ATCAir Traffic Control
การควบคุมการจราจรทางอากาศ
ASMAir Space Management
การจัดการห้วงอากาศ
ATSAir Traffic Services
การให้บริการการจราจรทางอากาศ
ATFMAir Traffic Flow Management
การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ
รัฐบาลได้มอบหมายให้บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จากัด (บวท.) เป็นผู้ดาเนินงานเมื่อ
1 กันยายน พ.ศ.2492 จากการจัดตั้งและแบ่งอาณาเขตแถลงข่าวการบิน (Flight Information
Region) ของแต่ละประเทศ ในการประชุม ICAO 1st Southeast Asia Regional Air Navigation
Meeting, New Delhi,1948
• En-Route งานด้านเส้นทางบิน
• Terminal ด้านบริการสนามบินที่จัดการจราจรทางอากาศโดยรอบๆ
• Flight Information Service งานแถลงข่าวการบิน
• Alerting Service งานเตือนภัยการบิน
• Search and Rescue งานด้านค้นหาและช่วยเหลือ
ATSAir Traffic Services
การให้บริการการจราจรทางอากาศ
Objectives
1. Prevent collisions between aircraft.
2. Prevent collisions between aircraft on the maneuvering area and obstructions on
that area.
3. Expedite and obstructions on that area.
4. Provide advice and information useful for the safe and efficient conduct of flight.
5. Notify appropriate organizations regarding aircraft in need of search and rescue
aid and assist such organization as required.
ATSAir Traffic Services
การให้บริการการจราจรทางอากาศ
Purpose
1.เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุระหว่างอากาศยานที่บินอยู่ในอากาศ
2.เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุระหว่างอากาศยานกับสิ่งกีดขวางภาคพื้น
3.เพื่อให้การจราจรทางอากาศเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย
ขั้นตอนและการทางาน
การนาเครื่องบินออกจากสนามบิน
การนาเครื่องบินเข้ามายังสนามบิน
ATCAir Traffic Control
การควบคุมการจราจรทางอากาศ
Aerodrome Control
Approach Control
Area Control
Ground Control
Local Control or Tower Control
Departure
Arrival
Over flight
Flight between airports
IFR/ VFR
FIR
ATCAir Traffic Control
การควบคุมการจราจรทางอากาศ
Aerodrome Control
Ground Control
Local Control or Tower Control
Ground Control
• ควบคุมจราจรทางอากาศและลานจอดให้ขับเคลื่อนด้วยความปลอดภัย เป็นระเบียบ และ
รวดเร็ว
• ให้คาอนุญาตการขับเคลื่อนบนทางขับ/ลานจอด
• แจ้งข่าวสารข้อมูลแก่นักบิน และหน่วยสนับสนุนภาคพื้นดินในการอานวยความสะดวก
ให้แก่อากาศยานที่มาใช้บริการ
Local Control / Tower Control
• รับผิดชอบการควบคุมจราจรทางอากาศบนทางวิ่งและอากาศยานโดยรอบท่าอากาศยาน
• กาหนดทางวิ่งขึ้น-ลง ให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ (สวนทางกับทิศทางลม)
• ติดต่อประสานงานกับ Approach Control ในการจัดลาดับให้แก่อากาศยานเข้า-ออก
• แจ้งเตือนนักบินให้ปฏิบัติตามข้อกาหนดการบิน
ATCAir Traffic Control
การควบคุมการจราจรทางอากาศ
Approach Control
• Departure
• Arrival
• Over flight
การควบคุมจราจรทางอากาศเขตประชิดสนามบินมีหน้าที่และความ
รับผิดชอบในการควบคุมจราจรและจัดการจราจรทางอากาศ เพื่อนาอากาศ
ยานเข้า-ออก และบินผ่านในพื้นที่ความรับผิดชอบบริเวณโดยรอบสนามบิน
ระยะ 50 ไมล์ทะเล ระยะสูง 11,000 ฟุต
(1 ไมล์ทะเลเท่ากับ 1.852 กิโลเมตร )
เขตประชิดสนามบิน 4 เขต ดังนี้
เขตสมุย (Samui Sector) : สุราษฎร์ธานี, สมุย, นครศรีธรรมราช, ชุมพร และตราด
เขตขอนแก่น (Khonkaen Sector) : ขอนแก่น, อุดรธานี, สกลนคร, นครพนม และเลย
เขตอุบลราชธานี (Ubon Sector) : อุบลราชธานี, นครราชสีมา, บุรีรัมย์, ร้อยเอ็ด, และสุรินทร์
เขตเชียงราย (Chiang Rai Sector) : เชียงราย, เพชรบูรณ์, น่าน และแพร่
ATCAir Traffic Control
การควบคุมการจราจรทางอากาศ
Area Control
Flight between airports
IFR/ VFR
FIR
แบ่งการควบคุมได้เป็น 8 ส่วน (Sectors)
Sector 1 บริเวณภาคใต้ตอนบน
Sector 2 บริเวณภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
Sector 3 บริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต้
Sector 4 บริเวณภาคตะวันตกและภาคเหนือตอนล่าง
Sector 5 บริเวณภาคใต้ตอนล่างฝั่งตะวันตก
Sector 6 บริเวณภาคใต้ตอนล่างฝั่งตะวันออก
Sector 7 บริเวณภาคเหนือตอนบน
Sector 8 บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
จัดการจราจรทางอากาศตามเส้นทางบินทั่วอาณา
เขตของประเทศไทย (Bangkok FIR) โดยมีศูนย์ควบคุม
จราจรทางอากาศ (Bangkok Area Control Centre)
ตั้งอยู่ที่ตึกปฏิบัติการชั้นสองสานักงานใหญ่ (ทุ่งมหาเมฆ)
ATCAir Traffic Control
การควบคุมการจราจรทางอากาศ
แบ่งตามศูนย์ควบคุมการบิน
ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศทุ่งมหาเมฆ
ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศสุวรรณภูมิ
ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศดอนเมือง
ศูนย์ควบคุมการบินเชียงใหม่
ศูนย์ควบคุมการบินหาดใหญ่
ศูนย์ควบคุมการบินภูเก็ต
ศูนย์ควบคุมการบินพิษณุโลก
ศูนย์ควบคุมการบินอุดรธานี
ศูนย์ควบคุมการบินสุราษฎร์ธานี
ศูนย์ปฏิบัติการวิศวกรรมจราจรทางอากาศนครราชสีมา
ศูนย์ควบคุมการบินอุบลราชธานี
ศูนย์ควบคุมการบินหัวหิน
Approach Control
ให้บริการเขตประชิดสนามบิน 4 เขต ดังนี้
เขตสมุย (Samui Sector) : สุราษฎร์ธานี, สมุย, นครศรีธรรมราช, ชุมพร และตราด
เขตขอนแก่น (Khonkaen Sector) : ขอนแก่น, อุดรธานี, สกลนคร, นครพนม และเลย
เขตอุบลราชธานี (Ubon Sector) : อุบลราชธานี, นครราชสีมา, บุรีรัมย์, ร้อยเอ็ด, และสุรินทร์
เขตเชียงราย (Chiang Rai Sector) : เชียงราย, เพชรบูรณ์, น่าน และแพร่
ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศทุ่งมหาเมฆ
https://www.aerothai.co.th/th/air-traffic-control
ATCAir Traffic Control
การควบคุมการจราจรทางอากาศ
แบ่งตามศูนย์ควบคุมการบิน
ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศทุ่งมหาเมฆ
ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศสุวรรณภูมิ
ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศดอนเมือง
ศูนย์ควบคุมการบินเชียงใหม่
ศูนย์ควบคุมการบินหาดใหญ่
ศูนย์ควบคุมการบินภูเก็ต
ศูนย์ควบคุมการบินพิษณุโลก
ศูนย์ควบคุมการบินอุดรธานี
ศูนย์ควบคุมการบินสุราษฎร์ธานี
ศูนย์ปฏิบัติการวิศวกรรมจราจรทางอากาศนครราชสีมา
ศูนย์ควบคุมการบินอุบลราชธานี
ศูนย์ควบคุมการบินหัวหิน
รับผิดชอบ
1. การควบคุมจราจรทางอากาศเขตบริเวณสนามบิน (Aerodrome Control)
2. การควบคุมจราจรทางอากาศเขตประชิดสนามบิน (Approach Control)
3. การให้บริการสื่อสารการบินและการเดินอากาศ
4. ด้านการบริการเครื่องช่วยการเดินอากาศ
• DVOR : Doppler Very High Frequency Omni-directional Range
เครื่องช่วยการเดินอากาศบอกทิศทางจากสนามบิน
• DME : Distance Measuring Equipment
เครื่องช่วยการเดินอากาศบอกระยะทางระหว่างสถานีฯกับตาแหน่งที่เครื่องบินกาลังบินอยู่
• ILS : Instrument Landing System
เครื่องช่วยในการนาเครื่องบินลงสู่สนามบิน
• RMMC : Remote Maintenance and Monitoring Configuration
ระบบตรวจสอบสภาวะและควบคุมการทางานของระบบเครื่องช่วยการเดินอากาศ
ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศสุวรรณภูมิ
ให้บริการควบคุมจราจรทางอากาศ สื่อสารการบินและการเดินอากาศให้กับสนามบินสุวรรณภูมิ
โดยมีหอบังคับการบินที่มีความสูงถึง 132.2 เมตร
ATCAir Traffic Control
การควบคุมการจราจรทางอากาศ
แบ่งตามศูนย์ควบคุมการบิน
ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศทุ่งมหาเมฆ
ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศสุวรรณภูมิ
ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศดอนเมือง
ศูนย์ควบคุมการบินเชียงใหม่
ศูนย์ควบคุมการบินหาดใหญ่
ศูนย์ควบคุมการบินภูเก็ต
ศูนย์ควบคุมการบินพิษณุโลก
ศูนย์ควบคุมการบินอุดรธานี
ศูนย์ควบคุมการบินสุราษฎร์ธานี
ศูนย์ปฏิบัติการวิศวกรรมจราจรทางอากาศนครราชสีมา
ศูนย์ควบคุมการบินอุบลราชธานี
ศูนย์ควบคุมการบินหัวหิน
รับผิดชอบ
1. การควบคุมจราจรทางอากาศเขตบริเวณสนามบิน (Aerodrome Control)
2. ด้านซ่อมบารุงอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ติดตั้ง ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง
3. ด้านการบริการเครื่องช่วยการเดินอากาศ
• DVOR : Doppler Very High Frequency Omni-directional Range
เครื่องช่วยการเดินอากาศบอกทิศทางจากสนามบิน
• DME : Distance Measuring Equipment
เครื่องช่วยการเดินอากาศบอกระยะทางระหว่างสถานีฯกับตาแหน่งที่เครื่องบินกาลังบินอยู่
• ILS : Instrument Landing System
เครื่องช่วยในการนาเครื่องบินลงสู่สนามบิน
ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศดอนเมือง
ให้บริการควบคุมจราจรทางอากาศ สื่อสารการบินและการเดินอากาศให้กับสนามบินสุวรรณภูมิ
โดยมีหอบังคับการบินที่มีความสูงถึง 132.2 เมตร
ATCAir Traffic Control
การควบคุมการจราจรทางอากาศ
Airspace management (ASM) is the process by which airspace
options are selected and applied to meets of the airspace users.
A planning function with the primary objective of maximising the utilisation
of available airspace by dynamic time-sharing and, at times, the segregation
of airspace among various categories of users based on short-term needs.
In future systems, airspace management will also have a strategic
function associated with infrastructure planning.
ICAO definition – ICAO Cir 330
Airspace Use Plan (AUP)
an ASM message of NOTAM status notifying the daily
decision of an Airspace Management Cell on the
temporary allocation of the airspace within its
jurisdiction for a specific time period.
Civil/Military Coordination
is the communication between civil and military
elements (human and/or technical) necessary to ensure
safe, efficient and harmonious use of the airspace.
ASMAir Space Management
การจัดการห้วงอากาศ
Normal Use Airspace
Special Use Airspace
Danger area
Restricted area
Prohibited area
• บริหารจัดการห้วงอากาศให้มีความยืดหยุ่น มีการผ่อนปรนในการใช้งาน
ห้วงอากาศที่มีการใช้งานพิเศษ (Special Use Airspace)
• ให้เป็นประโยชน์สูงสุดต่อเส้นทางบิน เช่น การใช้ความเร็ว การบินตรงสู่จุดบิน
การรักษาความสูง
• การกาหนดห้วงอากาศ คานึงถึง ขนาด, รูปร่าง, ห้วงเวลา และกฎการใช้งาน
ห้วงอากาศ เพื่อให้มีผลกระทบน้อยที่สุด
• ประสานความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด
(หน่วยงานควบคุมการจราจรทางอากาศ ,สายการบิน, อากาศยานทหารและการ
บินทั่วไป)
• การขอใช้ห้วงอากาศในกรณีเฉพาะ จาเป็นต้องมีการแจ้งขอล่วงหน้า (เช่น
airshow, SAREX)
• ความซับซ้อนของการปฏิบัติการบิน อาจมีผลทาให้ความยืดหยุ่นของห้วงอากาศ
ลดลง
ASMAir Space Management
การจัดการห้วงอากาศ
Special Use Airspace
Danger area
Restricted area
Prohibited area
Airspace Structures in FUA
• Controlled Airspace
• ATS Route,
• including CDRs
• ATC Sectors
• Danger Area (D)
• Restricted Area (R)
• Prohibited Area (P)
• Temporary Segregated Area (TSA)
• Temporary Reserved Area (TRA)
• Cross-Border Area (CBA)
ASMAir Space Management
การจัดการห้วงอากาศ
1. สร้างเส้นทางบินแบบ Area Navigation (RNAV) โดยใช้เทคโนโลยีด้านการบินแบบ PBN
(Performance Based Navigation) เพื่อสร้าง
1. เส้นทางบินคู่ขนาน (ลดระยะห่างระหว่างเส้นทางบิน)
2. เพิ่มขีดความสามารถรองรับปริมาณเที่ยวบิน (ลดระยะต่อของกาศยานบนเส้นทางบิน)
3. การจัดการจราจรแบบทางเดียว (Uni-Directional) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยสาหรับ
อากาศยานที่บินสวนทางกัน
2. Sector design and Configuration การบริหารและจัดแบ่งพื้นที่ควบคุมจราจรทาง
อากาศให้เหมาะสมกับสภาพจราจรทางอากาศในแต่ละช่วงเวลา
3. FUA : Flexible Use of Airspace / Conditional Route: CDR การใช้ห้วงอากาศ
แบบคล่องตัวและใช้เส้นทางบินแบบมีเงื่อนไข เพื่อให้ห้วงอากาศมีความยืดหยุ่น มีการแบ่ง
ช่วงเวลาการใช้งานระหว่างพื้นที่ทหาร-พลเรือนอย่างเหมาะสม สาหรับประเทศไทยมีการ
จัดทาความร่วมมือดังกล่าวระหว่างทหาร-พลเรือน ภายใต้ชื่อศูนย์ประสานงานบริหาร
จราจรทางอากาศระหว่างทหารและพลเรือน (Thai Civil/Military ATM Coordination
Centre: Thai-CMAC
วิธีดาเนินการ
การปรับโครงสร้างเส้นทางบิน
การปรับโครงสร้างห้วงอากาศ
การปรับโครงสร้างพื้นที่ให้บริการ
}
ASMAir Space Management
การจัดการห้วงอากาศ
1. All available airspace should be managed flexibly.
2. Airspace management processes should accommodate dynamic flight
trajectories and provide optimum operational solutions.
3. When conditions require different types of traffic to be segregated by
airspace organization, the size, shape, and time regulation of that
airspace should be set so as to minimize the impact on operations
4. Airspace use should be coordinated and monitored in order to
accommodate the conflicting requirements of all users and to minimize
any constraints on operations
5. Airspace reservations should be planned in advance with changes made
dynamically whenever possible. The system also needs to accommodate
short-notice unplanned requirements.
6. complexity of operations may limit the degree of flexibility.
ASMAir Space Management
การจัดการห้วงอากาศ
ATFMAir Traffic Flow Management
การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ
กระบวนการบริหารจัดการ ปริมาณการจราจรทางอากาศ (Traffic Demand)
ให้เหมาะสมกับ ขีดความสามารถในการรองรับปริมาณการจราจรทางอากาศ
(Capacity) ในพื้นที่รับผิดชอบของผู้ให้บริการจราจรทางอากาศ (ANSP) ไม่ว่า
จะเป็นพื้นที่ภายในน่านฟ้า (Airspace Sector) หรือบริเวณท่าอากาศยาน
the regulation of air traffic in order to avoid exceeding airport
or air traffic control capacity in handling traffic, and to ensure that
available capacity is used efficiently.
Purpose : Demand-Capacity Balancing
ATFM : ICAO Manual on Collaborative Air Traffic Flow Management (ICAO Doc 9971)
ATFMAir Traffic Flow Management
การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ
โครงการสาคัญ 2 ประการ
1. การให้บริการระบบ BOBCAT : Bay of Bengal Cooperative ATFM System
2. โครงการ Distributed Multi-Nodal ATFM Operational Trial
ทั้ง 2 ส่วนทาให้ บวท. เป็นหนึ่งในหน่วยงานผู้นาด้าน ATFM ของภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก
ATFM : ICAO Manual on Collaborative Air Traffic Flow Management (ICAO Doc 9971)
ATFMAir Traffic Flow Management
การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ
โครงการ Distributed Multi-Nodal ATFM Operational Trial
ได้มีการดาเนินการ Phase 11 Stage 1 โดยมี ผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานด้านอุตสาหกรรม
การบินนานาชาติ อาทิ
• International Civil Aviation Organization (ICAO)
• Civil Air Navigation Services Organization (CANSO) International Air
Transport Association (IATA)
• EU-ASEAN Air Transport Integration Project (EU-AATIP)
• ผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานผู้กากับดูแล สายการบิน
• ผู้ให้บริการสนามบิน
• ผู้ให้บริการการจราจรทางอากาศจาก
• ประเทศไทย
• สาธารณรัฐประชาชนจีน
• เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน
• ประเทศสิงคโปร์
• ประเทศมาเลเซีย
• เครือรัฐออสเตรเลีย
• ราชอาณาจักรกัมพูชา
• สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
• สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
• สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
• สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
• เมียนมาร์
• สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต
ATFMAir Traffic Flow Management
การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ
ATFMAir Traffic Flow Management
การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ
ATFMAir Traffic Flow Management
การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ
กระบวนการ ATFM สามารถทาได้หลายวิธี
• กระบวนการ ATFM เชิงยุทธศาสตร์ เช่น การปรับ Airport Slot ผ่านกระบวนการ
Airport Slot Coordination หรือการลด / เพิ่มปริมาณเที่ยวบินพิเศษในช่วงเทศกาล
• กระบวนการ ATFM ล่วงหน้าก่อนปฏิบัติการ (Pre-Tactical) เช่น
• การกาหนดเวลาวิ่งขึ้น (Calculated Take-Off Time : CTOT หรือ Allocated
Wheels-Up Time: AWUT)
• ประกอบกับ กระบวนการควบคุมการวิ่งขึ้นของเที่ยวบิน (Ground Delay Program :
GDP)
• กระบวนการ ATFM ระหว่างปฏิบัติการ (Tactical) เช่น
• การจากัดเพดานบิน (Level Capping) หรือ
• การกาหนดระยะห่างระหว่างเที่ยวบิน (Miles-in-Trail) เป็นต้น
ATFM departure slot
• Actual Take-Off Time (ATOT)
• Estimated Take-Off Time (ETOT)
• Target Take-Off Time (TTOT)
• Calculated Take-Off Time (CTOT)
Factors effect Traffic flowATFMAir Traffic Flow Management
การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ 1. จานวนทางขับ (taxiway)
2. จานวนทางวิ่ง (runway)
3. ปริมาณอากาศยาน
4. สภาพอากาศ
5. สาธารณูปโภคที่รองรับ
6. ความชานาญของ ATC
7. เครื่องช่วยเดินอากาศ
8. สมรรถนะอากาศยาน
https://vimeo.com/110348926
https://vimeo.com/101553461
https://vimeo.com/146747219
REDUCE FUELS REDUCE TIMES MORE ROUTES SMART REPAIR
REDUCE CO2
THANK YOU

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

overview on airport operation
overview on airport operationoverview on airport operation
overview on airport operation
AiDY
 
Lecture+3 air+traffic+control+(atc)+tower
Lecture+3 air+traffic+control+(atc)+towerLecture+3 air+traffic+control+(atc)+tower
Lecture+3 air+traffic+control+(atc)+tower
titu11
 
AVIATION SECURITY PRESENTATION
AVIATION SECURITY PRESENTATIONAVIATION SECURITY PRESENTATION
AVIATION SECURITY PRESENTATION
Paul Mears Phd.
 
Ground support equipments
Ground support equipmentsGround support equipments
Ground support equipments
Sandani Ananda
 
Airbus a320 aircraft operation manual
Airbus a320 aircraft operation manualAirbus a320 aircraft operation manual
Airbus a320 aircraft operation manual
Musab Elamien
 

Was ist angesagt? (20)

Airport.handling
Airport.handlingAirport.handling
Airport.handling
 
T guide1
T guide1T guide1
T guide1
 
Distributing the product
Distributing the productDistributing the product
Distributing the product
 
Airbus a319 a320 a321 aircraft operating manual
Airbus a319 a320 a321 aircraft operating manualAirbus a319 a320 a321 aircraft operating manual
Airbus a319 a320 a321 aircraft operating manual
 
A-CDM
A-CDMA-CDM
A-CDM
 
Aviation
AviationAviation
Aviation
 
Airworthiness Requirements (ADs, SBs, Maintenance)
Airworthiness Requirements (ADs, SBs, Maintenance)Airworthiness Requirements (ADs, SBs, Maintenance)
Airworthiness Requirements (ADs, SBs, Maintenance)
 
overview on airport operation
overview on airport operationoverview on airport operation
overview on airport operation
 
Lecture+3 air+traffic+control+(atc)+tower
Lecture+3 air+traffic+control+(atc)+towerLecture+3 air+traffic+control+(atc)+tower
Lecture+3 air+traffic+control+(atc)+tower
 
Airport Ground Handling (Introduction)
Airport Ground Handling (Introduction)Airport Ground Handling (Introduction)
Airport Ground Handling (Introduction)
 
AVIATION SECURITY PRESENTATION
AVIATION SECURITY PRESENTATIONAVIATION SECURITY PRESENTATION
AVIATION SECURITY PRESENTATION
 
Aviation
AviationAviation
Aviation
 
Airline pricing strategies and revenue management
Airline pricing strategies and revenue managementAirline pricing strategies and revenue management
Airline pricing strategies and revenue management
 
Ground support equipments
Ground support equipmentsGround support equipments
Ground support equipments
 
กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทย
 
ICAO Rules and Regulations in Airline Industry And ICAO Annexes
ICAO Rules and Regulations in Airline Industry And ICAO AnnexesICAO Rules and Regulations in Airline Industry And ICAO Annexes
ICAO Rules and Regulations in Airline Industry And ICAO Annexes
 
Airbus a320 aircraft operation manual
Airbus a320 aircraft operation manualAirbus a320 aircraft operation manual
Airbus a320 aircraft operation manual
 
AE 8302 EOA MCQ QUESTIONS AND ANSWERS
AE 8302 EOA MCQ QUESTIONS AND ANSWERSAE 8302 EOA MCQ QUESTIONS AND ANSWERS
AE 8302 EOA MCQ QUESTIONS AND ANSWERS
 
چک لیست
چک لیستچک لیست
چک لیست
 
Types of Ground Handling Operations
Types of Ground Handling OperationsTypes of Ground Handling Operations
Types of Ground Handling Operations
 

Air traffic management

  • 1.
  • 2. ATCAir Traffic Control การควบคุมการจราจรทางอากาศ ASMAir Space Management การจัดการห้วงอากาศ ATSAir Traffic Services การให้บริการการจราจรทางอากาศ ATFMAir Traffic Flow Management การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ
  • 3. รัฐบาลได้มอบหมายให้บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จากัด (บวท.) เป็นผู้ดาเนินงานเมื่อ 1 กันยายน พ.ศ.2492 จากการจัดตั้งและแบ่งอาณาเขตแถลงข่าวการบิน (Flight Information Region) ของแต่ละประเทศ ในการประชุม ICAO 1st Southeast Asia Regional Air Navigation Meeting, New Delhi,1948 • En-Route งานด้านเส้นทางบิน • Terminal ด้านบริการสนามบินที่จัดการจราจรทางอากาศโดยรอบๆ • Flight Information Service งานแถลงข่าวการบิน • Alerting Service งานเตือนภัยการบิน • Search and Rescue งานด้านค้นหาและช่วยเหลือ ATSAir Traffic Services การให้บริการการจราจรทางอากาศ
  • 4. Objectives 1. Prevent collisions between aircraft. 2. Prevent collisions between aircraft on the maneuvering area and obstructions on that area. 3. Expedite and obstructions on that area. 4. Provide advice and information useful for the safe and efficient conduct of flight. 5. Notify appropriate organizations regarding aircraft in need of search and rescue aid and assist such organization as required. ATSAir Traffic Services การให้บริการการจราจรทางอากาศ
  • 5. Purpose 1.เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุระหว่างอากาศยานที่บินอยู่ในอากาศ 2.เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุระหว่างอากาศยานกับสิ่งกีดขวางภาคพื้น 3.เพื่อให้การจราจรทางอากาศเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย ขั้นตอนและการทางาน การนาเครื่องบินออกจากสนามบิน การนาเครื่องบินเข้ามายังสนามบิน ATCAir Traffic Control การควบคุมการจราจรทางอากาศ
  • 6. Aerodrome Control Approach Control Area Control Ground Control Local Control or Tower Control Departure Arrival Over flight Flight between airports IFR/ VFR FIR ATCAir Traffic Control การควบคุมการจราจรทางอากาศ
  • 7. Aerodrome Control Ground Control Local Control or Tower Control Ground Control • ควบคุมจราจรทางอากาศและลานจอดให้ขับเคลื่อนด้วยความปลอดภัย เป็นระเบียบ และ รวดเร็ว • ให้คาอนุญาตการขับเคลื่อนบนทางขับ/ลานจอด • แจ้งข่าวสารข้อมูลแก่นักบิน และหน่วยสนับสนุนภาคพื้นดินในการอานวยความสะดวก ให้แก่อากาศยานที่มาใช้บริการ Local Control / Tower Control • รับผิดชอบการควบคุมจราจรทางอากาศบนทางวิ่งและอากาศยานโดยรอบท่าอากาศยาน • กาหนดทางวิ่งขึ้น-ลง ให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ (สวนทางกับทิศทางลม) • ติดต่อประสานงานกับ Approach Control ในการจัดลาดับให้แก่อากาศยานเข้า-ออก • แจ้งเตือนนักบินให้ปฏิบัติตามข้อกาหนดการบิน ATCAir Traffic Control การควบคุมการจราจรทางอากาศ
  • 8. Approach Control • Departure • Arrival • Over flight การควบคุมจราจรทางอากาศเขตประชิดสนามบินมีหน้าที่และความ รับผิดชอบในการควบคุมจราจรและจัดการจราจรทางอากาศ เพื่อนาอากาศ ยานเข้า-ออก และบินผ่านในพื้นที่ความรับผิดชอบบริเวณโดยรอบสนามบิน ระยะ 50 ไมล์ทะเล ระยะสูง 11,000 ฟุต (1 ไมล์ทะเลเท่ากับ 1.852 กิโลเมตร ) เขตประชิดสนามบิน 4 เขต ดังนี้ เขตสมุย (Samui Sector) : สุราษฎร์ธานี, สมุย, นครศรีธรรมราช, ชุมพร และตราด เขตขอนแก่น (Khonkaen Sector) : ขอนแก่น, อุดรธานี, สกลนคร, นครพนม และเลย เขตอุบลราชธานี (Ubon Sector) : อุบลราชธานี, นครราชสีมา, บุรีรัมย์, ร้อยเอ็ด, และสุรินทร์ เขตเชียงราย (Chiang Rai Sector) : เชียงราย, เพชรบูรณ์, น่าน และแพร่ ATCAir Traffic Control การควบคุมการจราจรทางอากาศ
  • 9. Area Control Flight between airports IFR/ VFR FIR แบ่งการควบคุมได้เป็น 8 ส่วน (Sectors) Sector 1 บริเวณภาคใต้ตอนบน Sector 2 บริเวณภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง Sector 3 บริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต้ Sector 4 บริเวณภาคตะวันตกและภาคเหนือตอนล่าง Sector 5 บริเวณภาคใต้ตอนล่างฝั่งตะวันตก Sector 6 บริเวณภาคใต้ตอนล่างฝั่งตะวันออก Sector 7 บริเวณภาคเหนือตอนบน Sector 8 บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จัดการจราจรทางอากาศตามเส้นทางบินทั่วอาณา เขตของประเทศไทย (Bangkok FIR) โดยมีศูนย์ควบคุม จราจรทางอากาศ (Bangkok Area Control Centre) ตั้งอยู่ที่ตึกปฏิบัติการชั้นสองสานักงานใหญ่ (ทุ่งมหาเมฆ) ATCAir Traffic Control การควบคุมการจราจรทางอากาศ
  • 10. แบ่งตามศูนย์ควบคุมการบิน ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศทุ่งมหาเมฆ ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศสุวรรณภูมิ ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศดอนเมือง ศูนย์ควบคุมการบินเชียงใหม่ ศูนย์ควบคุมการบินหาดใหญ่ ศูนย์ควบคุมการบินภูเก็ต ศูนย์ควบคุมการบินพิษณุโลก ศูนย์ควบคุมการบินอุดรธานี ศูนย์ควบคุมการบินสุราษฎร์ธานี ศูนย์ปฏิบัติการวิศวกรรมจราจรทางอากาศนครราชสีมา ศูนย์ควบคุมการบินอุบลราชธานี ศูนย์ควบคุมการบินหัวหิน Approach Control ให้บริการเขตประชิดสนามบิน 4 เขต ดังนี้ เขตสมุย (Samui Sector) : สุราษฎร์ธานี, สมุย, นครศรีธรรมราช, ชุมพร และตราด เขตขอนแก่น (Khonkaen Sector) : ขอนแก่น, อุดรธานี, สกลนคร, นครพนม และเลย เขตอุบลราชธานี (Ubon Sector) : อุบลราชธานี, นครราชสีมา, บุรีรัมย์, ร้อยเอ็ด, และสุรินทร์ เขตเชียงราย (Chiang Rai Sector) : เชียงราย, เพชรบูรณ์, น่าน และแพร่ ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศทุ่งมหาเมฆ https://www.aerothai.co.th/th/air-traffic-control ATCAir Traffic Control การควบคุมการจราจรทางอากาศ
  • 11. แบ่งตามศูนย์ควบคุมการบิน ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศทุ่งมหาเมฆ ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศสุวรรณภูมิ ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศดอนเมือง ศูนย์ควบคุมการบินเชียงใหม่ ศูนย์ควบคุมการบินหาดใหญ่ ศูนย์ควบคุมการบินภูเก็ต ศูนย์ควบคุมการบินพิษณุโลก ศูนย์ควบคุมการบินอุดรธานี ศูนย์ควบคุมการบินสุราษฎร์ธานี ศูนย์ปฏิบัติการวิศวกรรมจราจรทางอากาศนครราชสีมา ศูนย์ควบคุมการบินอุบลราชธานี ศูนย์ควบคุมการบินหัวหิน รับผิดชอบ 1. การควบคุมจราจรทางอากาศเขตบริเวณสนามบิน (Aerodrome Control) 2. การควบคุมจราจรทางอากาศเขตประชิดสนามบิน (Approach Control) 3. การให้บริการสื่อสารการบินและการเดินอากาศ 4. ด้านการบริการเครื่องช่วยการเดินอากาศ • DVOR : Doppler Very High Frequency Omni-directional Range เครื่องช่วยการเดินอากาศบอกทิศทางจากสนามบิน • DME : Distance Measuring Equipment เครื่องช่วยการเดินอากาศบอกระยะทางระหว่างสถานีฯกับตาแหน่งที่เครื่องบินกาลังบินอยู่ • ILS : Instrument Landing System เครื่องช่วยในการนาเครื่องบินลงสู่สนามบิน • RMMC : Remote Maintenance and Monitoring Configuration ระบบตรวจสอบสภาวะและควบคุมการทางานของระบบเครื่องช่วยการเดินอากาศ ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศสุวรรณภูมิ ให้บริการควบคุมจราจรทางอากาศ สื่อสารการบินและการเดินอากาศให้กับสนามบินสุวรรณภูมิ โดยมีหอบังคับการบินที่มีความสูงถึง 132.2 เมตร ATCAir Traffic Control การควบคุมการจราจรทางอากาศ
  • 12. แบ่งตามศูนย์ควบคุมการบิน ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศทุ่งมหาเมฆ ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศสุวรรณภูมิ ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศดอนเมือง ศูนย์ควบคุมการบินเชียงใหม่ ศูนย์ควบคุมการบินหาดใหญ่ ศูนย์ควบคุมการบินภูเก็ต ศูนย์ควบคุมการบินพิษณุโลก ศูนย์ควบคุมการบินอุดรธานี ศูนย์ควบคุมการบินสุราษฎร์ธานี ศูนย์ปฏิบัติการวิศวกรรมจราจรทางอากาศนครราชสีมา ศูนย์ควบคุมการบินอุบลราชธานี ศูนย์ควบคุมการบินหัวหิน รับผิดชอบ 1. การควบคุมจราจรทางอากาศเขตบริเวณสนามบิน (Aerodrome Control) 2. ด้านซ่อมบารุงอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ติดตั้ง ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง 3. ด้านการบริการเครื่องช่วยการเดินอากาศ • DVOR : Doppler Very High Frequency Omni-directional Range เครื่องช่วยการเดินอากาศบอกทิศทางจากสนามบิน • DME : Distance Measuring Equipment เครื่องช่วยการเดินอากาศบอกระยะทางระหว่างสถานีฯกับตาแหน่งที่เครื่องบินกาลังบินอยู่ • ILS : Instrument Landing System เครื่องช่วยในการนาเครื่องบินลงสู่สนามบิน ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศดอนเมือง ให้บริการควบคุมจราจรทางอากาศ สื่อสารการบินและการเดินอากาศให้กับสนามบินสุวรรณภูมิ โดยมีหอบังคับการบินที่มีความสูงถึง 132.2 เมตร ATCAir Traffic Control การควบคุมการจราจรทางอากาศ
  • 13. Airspace management (ASM) is the process by which airspace options are selected and applied to meets of the airspace users. A planning function with the primary objective of maximising the utilisation of available airspace by dynamic time-sharing and, at times, the segregation of airspace among various categories of users based on short-term needs. In future systems, airspace management will also have a strategic function associated with infrastructure planning. ICAO definition – ICAO Cir 330 Airspace Use Plan (AUP) an ASM message of NOTAM status notifying the daily decision of an Airspace Management Cell on the temporary allocation of the airspace within its jurisdiction for a specific time period. Civil/Military Coordination is the communication between civil and military elements (human and/or technical) necessary to ensure safe, efficient and harmonious use of the airspace. ASMAir Space Management การจัดการห้วงอากาศ
  • 14. Normal Use Airspace Special Use Airspace Danger area Restricted area Prohibited area • บริหารจัดการห้วงอากาศให้มีความยืดหยุ่น มีการผ่อนปรนในการใช้งาน ห้วงอากาศที่มีการใช้งานพิเศษ (Special Use Airspace) • ให้เป็นประโยชน์สูงสุดต่อเส้นทางบิน เช่น การใช้ความเร็ว การบินตรงสู่จุดบิน การรักษาความสูง • การกาหนดห้วงอากาศ คานึงถึง ขนาด, รูปร่าง, ห้วงเวลา และกฎการใช้งาน ห้วงอากาศ เพื่อให้มีผลกระทบน้อยที่สุด • ประสานความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด (หน่วยงานควบคุมการจราจรทางอากาศ ,สายการบิน, อากาศยานทหารและการ บินทั่วไป) • การขอใช้ห้วงอากาศในกรณีเฉพาะ จาเป็นต้องมีการแจ้งขอล่วงหน้า (เช่น airshow, SAREX) • ความซับซ้อนของการปฏิบัติการบิน อาจมีผลทาให้ความยืดหยุ่นของห้วงอากาศ ลดลง ASMAir Space Management การจัดการห้วงอากาศ
  • 15. Special Use Airspace Danger area Restricted area Prohibited area Airspace Structures in FUA • Controlled Airspace • ATS Route, • including CDRs • ATC Sectors • Danger Area (D) • Restricted Area (R) • Prohibited Area (P) • Temporary Segregated Area (TSA) • Temporary Reserved Area (TRA) • Cross-Border Area (CBA) ASMAir Space Management การจัดการห้วงอากาศ
  • 16. 1. สร้างเส้นทางบินแบบ Area Navigation (RNAV) โดยใช้เทคโนโลยีด้านการบินแบบ PBN (Performance Based Navigation) เพื่อสร้าง 1. เส้นทางบินคู่ขนาน (ลดระยะห่างระหว่างเส้นทางบิน) 2. เพิ่มขีดความสามารถรองรับปริมาณเที่ยวบิน (ลดระยะต่อของกาศยานบนเส้นทางบิน) 3. การจัดการจราจรแบบทางเดียว (Uni-Directional) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยสาหรับ อากาศยานที่บินสวนทางกัน 2. Sector design and Configuration การบริหารและจัดแบ่งพื้นที่ควบคุมจราจรทาง อากาศให้เหมาะสมกับสภาพจราจรทางอากาศในแต่ละช่วงเวลา 3. FUA : Flexible Use of Airspace / Conditional Route: CDR การใช้ห้วงอากาศ แบบคล่องตัวและใช้เส้นทางบินแบบมีเงื่อนไข เพื่อให้ห้วงอากาศมีความยืดหยุ่น มีการแบ่ง ช่วงเวลาการใช้งานระหว่างพื้นที่ทหาร-พลเรือนอย่างเหมาะสม สาหรับประเทศไทยมีการ จัดทาความร่วมมือดังกล่าวระหว่างทหาร-พลเรือน ภายใต้ชื่อศูนย์ประสานงานบริหาร จราจรทางอากาศระหว่างทหารและพลเรือน (Thai Civil/Military ATM Coordination Centre: Thai-CMAC วิธีดาเนินการ การปรับโครงสร้างเส้นทางบิน การปรับโครงสร้างห้วงอากาศ การปรับโครงสร้างพื้นที่ให้บริการ } ASMAir Space Management การจัดการห้วงอากาศ
  • 17. 1. All available airspace should be managed flexibly. 2. Airspace management processes should accommodate dynamic flight trajectories and provide optimum operational solutions. 3. When conditions require different types of traffic to be segregated by airspace organization, the size, shape, and time regulation of that airspace should be set so as to minimize the impact on operations 4. Airspace use should be coordinated and monitored in order to accommodate the conflicting requirements of all users and to minimize any constraints on operations 5. Airspace reservations should be planned in advance with changes made dynamically whenever possible. The system also needs to accommodate short-notice unplanned requirements. 6. complexity of operations may limit the degree of flexibility. ASMAir Space Management การจัดการห้วงอากาศ
  • 18. ATFMAir Traffic Flow Management การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ กระบวนการบริหารจัดการ ปริมาณการจราจรทางอากาศ (Traffic Demand) ให้เหมาะสมกับ ขีดความสามารถในการรองรับปริมาณการจราจรทางอากาศ (Capacity) ในพื้นที่รับผิดชอบของผู้ให้บริการจราจรทางอากาศ (ANSP) ไม่ว่า จะเป็นพื้นที่ภายในน่านฟ้า (Airspace Sector) หรือบริเวณท่าอากาศยาน the regulation of air traffic in order to avoid exceeding airport or air traffic control capacity in handling traffic, and to ensure that available capacity is used efficiently. Purpose : Demand-Capacity Balancing ATFM : ICAO Manual on Collaborative Air Traffic Flow Management (ICAO Doc 9971)
  • 19. ATFMAir Traffic Flow Management การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ โครงการสาคัญ 2 ประการ 1. การให้บริการระบบ BOBCAT : Bay of Bengal Cooperative ATFM System 2. โครงการ Distributed Multi-Nodal ATFM Operational Trial ทั้ง 2 ส่วนทาให้ บวท. เป็นหนึ่งในหน่วยงานผู้นาด้าน ATFM ของภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ATFM : ICAO Manual on Collaborative Air Traffic Flow Management (ICAO Doc 9971)
  • 20. ATFMAir Traffic Flow Management การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ โครงการ Distributed Multi-Nodal ATFM Operational Trial ได้มีการดาเนินการ Phase 11 Stage 1 โดยมี ผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานด้านอุตสาหกรรม การบินนานาชาติ อาทิ • International Civil Aviation Organization (ICAO) • Civil Air Navigation Services Organization (CANSO) International Air Transport Association (IATA) • EU-ASEAN Air Transport Integration Project (EU-AATIP) • ผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานผู้กากับดูแล สายการบิน • ผู้ให้บริการสนามบิน • ผู้ให้บริการการจราจรทางอากาศจาก • ประเทศไทย • สาธารณรัฐประชาชนจีน • เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน • ประเทศสิงคโปร์ • ประเทศมาเลเซีย • เครือรัฐออสเตรเลีย • ราชอาณาจักรกัมพูชา • สาธารณรัฐอินโดนีเซีย • สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ • สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม • สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว • เมียนมาร์ • สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต
  • 21. ATFMAir Traffic Flow Management การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ
  • 22. ATFMAir Traffic Flow Management การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ
  • 23. ATFMAir Traffic Flow Management การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ กระบวนการ ATFM สามารถทาได้หลายวิธี • กระบวนการ ATFM เชิงยุทธศาสตร์ เช่น การปรับ Airport Slot ผ่านกระบวนการ Airport Slot Coordination หรือการลด / เพิ่มปริมาณเที่ยวบินพิเศษในช่วงเทศกาล • กระบวนการ ATFM ล่วงหน้าก่อนปฏิบัติการ (Pre-Tactical) เช่น • การกาหนดเวลาวิ่งขึ้น (Calculated Take-Off Time : CTOT หรือ Allocated Wheels-Up Time: AWUT) • ประกอบกับ กระบวนการควบคุมการวิ่งขึ้นของเที่ยวบิน (Ground Delay Program : GDP) • กระบวนการ ATFM ระหว่างปฏิบัติการ (Tactical) เช่น • การจากัดเพดานบิน (Level Capping) หรือ • การกาหนดระยะห่างระหว่างเที่ยวบิน (Miles-in-Trail) เป็นต้น ATFM departure slot • Actual Take-Off Time (ATOT) • Estimated Take-Off Time (ETOT) • Target Take-Off Time (TTOT) • Calculated Take-Off Time (CTOT)
  • 24. Factors effect Traffic flowATFMAir Traffic Flow Management การจัดการความคล่องตัวการจราจรทางอากาศ 1. จานวนทางขับ (taxiway) 2. จานวนทางวิ่ง (runway) 3. ปริมาณอากาศยาน 4. สภาพอากาศ 5. สาธารณูปโภคที่รองรับ 6. ความชานาญของ ATC 7. เครื่องช่วยเดินอากาศ 8. สมรรถนะอากาศยาน https://vimeo.com/110348926 https://vimeo.com/101553461
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 32. REDUCE FUELS REDUCE TIMES MORE ROUTES SMART REPAIR REDUCE CO2