SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 28
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย อรุณศรี เตชะเรืองรอง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  โรงเรียนอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
การวิจัยเบื้องต้น ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความหมายของการวิจัย
บุญเรียง ขจรศิลป์   (2533 : 5)  ได้ให้ความหมายของคำว่า การวิจัยทางด้านวิชาการ หมายถึง กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ หรือกระบวนการเสาะแสวงหาความรู้เพื่อตอบปัญหาที่มีอยู่อย่างมีระบบ และมีวัตถุประสงค์ที่แน่นอน  โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การวิจัย ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า  “ Research”  ถ้าจะแปลตามตัวหมายถึง การค้นหาซ้ำแล้วซ้ำอีก ซึ่งความหมายของคำว่าวิจัย ทางด้านวิชาการได้มีผู้ให้ความหมายไว้ต่าง ๆ กัน เช่น เบสท์  ( Best, 1981  อ้างถึงใน บุญเรียง ขจรศิลป์  , 2533 : 5)  ได้ให้ความหมายของการวิจัยไว้ว่าเป็นวิธีการที่เป็นระบบระเบียบ และมีจุดมุ่งหมายในการวิเคราะห์ และคิดบันทึกการสังเกตที่มีการควบคุมเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปอ้างอิง หลักการหรือทฤษฎีซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการทำงานและการควบคุมเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้
รัตนะ  บัวสนธ์  ( 2543, 3)  ได้ให้ความหมายของการวิจัยไว้ว่า เป็นการหาความจริงเชิง สาธารณะด้วยวิธีการที่เรียกว่ากระบวนการวิจัยซึ่งมีลักษณะเป็นระบบมีขั้นตอน   ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล  ( 2543 : 21)  สรุปความหมายของการวิจัยไว้ว่า การวิจัยคือการศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบระเบียบเพื่อทำความเข้าใจปัญหาและแสวงหาคำตอบ เป็นกระบวนการที่อาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นหลัก
ณัฏฐพันธ์  เขจรนันทน์  “การวิจัยเป็นวิธีการค้นคว้า  และแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ในการตอบปัญหาต่าง ๆ โดยอาศัยวิธีการที่เชื่อถือได้” ดังนั้น การวิจัยจึงหมายถึง กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ที่เป็น ความจริงเชิงตรรกะ  ( Logical)  หรือความจริง เชิงประจักษ์  ( Empirical)  เพื่อตอบปัญหาอย่างมีระบบ และมีวัตถุประสงค์ที่แน่นอน โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นหลัก   
กระบวนการศึกษาค้นคว้าหาคำตอบในการแก้ไขปัญหาโดยวิธีการที่เป็นระบบเชื่อถือได้ตามหลักวิชาการ เน้นการค้นคว้า วิเคราะห์ และสรุปผลข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้องแม่นยำ เกิดองค์ความรู้ใหม่ หรือข้อค้นพบใหม่
เหตุผลหลักในการวิจัย 1.  การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความรู้  ( Pure Research)  เป็นการวิจัยที่มุ่งแสวงหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปรากฎการณ์ที่ศึกษา เพื่อใช้ทดสอบ หรือสร้างทฤษฎีอธิบายปรากฎการณ์จริง 2.  การวิจัยประยุกต์  (Applied Research)  เป็นการวิจัยที่มุ่งแสวงหาข้อเท็จจริงระหว่างข้อมูลหรือตัวแปร เพื่อนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง
จุดมุ่งหมายของการวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ลักษณะสำคัญของการวิจัย 1.  มุ่งหาคำตอบเพื่อนำมาใช้แก้ไขปัญหา 2.  เน้นการพัฒนาข้อสรุป หรือทฤษฎีต่าง ๆ เพื่อใช้ทำนายเหตุการณ์ในอนาคต 3.  อาศัยข้อมูลหรือเหตุการณ์ที่สังเกตได้รวบรวมได้ 4.  ต้องการเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลที่แม่นยำเที่ยงตรง 5.  เกี่ยวข้องกับการรวบรวมข้อมูลใหม่ๆ เพื่อหาคำตอบของวัตถุประสงค์ใหม่
ลักษณะสำคัญของการวิจัย  ( ต่อ ) 6.  ใช้กิจกรรมในการวิจัยที่กำหนดไว้อย่างมีระบบ 7.  ต้องการผู้รู้จริงในเนื้อหาที่จะทำการวิจัย 8.  สามารถตรวจสอบความเที่ยงของวิธีการใช้ ข้อมูลที่รวบรวมมาและข้อสรุปที่ได้ 9.  สามารถทำซ้ำได้ โดยวิธีเดียวกัน หรือวิธีที่ คล้ายกัน
ลักษณะสำคัญของการวิจัย  ( ต่อ ) 10.  มีความอดทน เนื่องจากมีความยากลำบากใน  การแสวงหาคำตอบ 11.  ควรเขียนรายงานด้วยความละเอียด รอบคอบ  และมีการบัญญัติความหมายของศัพท์เทคนิค ที่ใช้ 12.  มีความซื่อสัตย์ และกล้าหาญในการรายงาน ผลการวิจัย
ข้อจำกัดของการวิจัย 1.  ความซับซ้อนของเนื้อหาหรือปัญหาที่จะศึกษา 2.  ความยากในการรวบรวมข้อมูล 3.  ความยากในการทำซ้ำ 4.  ปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักวิจัยและสมาชิกในกลุ่ม ตัวอย่าง หรือกลุ่มประชากรมีผลกระทบต่อ ผลการวิจัย 5.  ความยากในการควบคุมตัวแปรเกิน
  1.  ช่วยส่งเสริมความรู้ทางด้านวิชาการและศาสตร์สาขาต่าง ๆ ให้มีการค้นคว้าข้อเท็จจริงมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพราะว่าการวิจัยจะทำให้มีการค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ๆ  เพิ่มเติมซึ่งทำให้วิทยาการ ต่าง ๆ    เจริญก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น ทั้งตัวผู้วิจัยและผู้นำเอาเอกสารการวิจัยไปศึกษา 2.  นำความรู้ที่ได้จากการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติ หรือแก้ปัญหาโดยตรง ช่วยทำให้ผู้ปฏิบัติได้เลือกวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด ก่อให้เกิดการประหยัด 3.  ช่วยในการกำหนดนโยบาย หรือหลักปฏิบัติงานต่าง ๆ เป็นไปด้วยความถูกต้อง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 4.  ช่วยให้ค้นพบทฤษฎีและสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ เพื่อให้มนุษย์ได้ดำเนินชีวิตอยู่ในโลกอย่างมีความสุขสบาย 5.  ช่วยพยากรณ์ผลภายหน้าของสถานการณ์ ปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ประโยชน์ของการวิจัย   
ประเภทการวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ประเภทการวิจัย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ประเภทการวิจัย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ประเภทการวิจัย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ประเภทการวิจัย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ประเภทการวิจัย
ขั้นตอนในการวิจัย 1.  การเลือกหัวข้อปัญหา 2.  การกำหนดขอบเขตของปัญหา 3.  การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4.  การกำหนดสมมติฐาน 5.  การเขียนเค้าโครงการวิจัย 6.  การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล 7.  การเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นตอนในการวิจัย  ( ต่อ ) 8.  การจัดกระทำข้อมูล 8.1  การใส่ข้อมูล 8.2  การประมวลผล 8.3  ผลลัพธ์ 9.  การสรุปผลการวิจัยและเขียนรายงาน 9.1  บทนำ 9.2  การตรวจสอบเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง   9.3  วิธีการดำเนินการวิจัย 9.4  ผลการวิจัย 9.5  สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
เครื่องมือและเทคนิคในการรวบรวมข้อมูล โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งเป็น  2  ประเภทใหญ่ ๆ คือ   1.  เครื่องมือที่เป็นอุปกรณ์   (Materials) 2.  เครื่องมือที่ใช้เป็นตัววัด  (Measures)
จรรยาบรรณของนักวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
จรรยาบรรณของนักวิจัย  ( ต่อ ) 5.  ต้องเคารพศักดิ์ศรี และสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่าง   ในการวิจัย 6.  ต้องมีอิสระทางความคิดโดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอน   ของการทำวิจัย 7.  เผยแพร่ผลงานวิจัยใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ 8.  เคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น 9.  มีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ
เอกสารอ้างอิง [1]  http://wbc.msu.ac.th/wbc/edu/ 0504304/ lesson 2. htm [2]  www.edu.tsu.ac.th [3]  http://secondary.kku.ac.th/research/res02/miscon/miscon6.htm [4]  http://www.bcnr.ac.th/e_le/f_res/les 1. htm [5]  http://www.bestwitted.com/?p= 244   [6]  http://www.spu.ac.th/~patrapan/Tip 11. htm

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3Mam Chongruk
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสWann Rattiya
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxSumarin Sanguanwong
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นAopja
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 

Was ist angesagt? (20)

ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 

Ähnlich wie การวิจัยเบื้องต้น

44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1Kobwit Piriyawat
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยDuangdenSandee
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691CUPress
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยbenjama
 
รูปแบบโครงงาน
รูปแบบโครงงานรูปแบบโครงงาน
รูปแบบโครงงานyut38
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณประพันธ์ เวารัมย์
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 

Ähnlich wie การวิจัยเบื้องต้น (20)

44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
maisooree
maisooreemaisooree
maisooree
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
งาน
งานงาน
งาน
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
ระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Is
ระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Isระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Is
ระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Is
 
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
รูปแบบโครงงาน
รูปแบบโครงงานรูปแบบโครงงาน
รูปแบบโครงงาน
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
เอกสารประกอบการเรียน
เอกสารประกอบการเรียนเอกสารประกอบการเรียน
เอกสารประกอบการเรียน
 

การวิจัยเบื้องต้น

  • 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย อรุณศรี เตชะเรืองรอง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
  • 2.
  • 4. บุญเรียง ขจรศิลป์ (2533 : 5) ได้ให้ความหมายของคำว่า การวิจัยทางด้านวิชาการ หมายถึง กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ หรือกระบวนการเสาะแสวงหาความรู้เพื่อตอบปัญหาที่มีอยู่อย่างมีระบบ และมีวัตถุประสงค์ที่แน่นอน โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การวิจัย ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า “ Research” ถ้าจะแปลตามตัวหมายถึง การค้นหาซ้ำแล้วซ้ำอีก ซึ่งความหมายของคำว่าวิจัย ทางด้านวิชาการได้มีผู้ให้ความหมายไว้ต่าง ๆ กัน เช่น เบสท์ ( Best, 1981 อ้างถึงใน บุญเรียง ขจรศิลป์ , 2533 : 5) ได้ให้ความหมายของการวิจัยไว้ว่าเป็นวิธีการที่เป็นระบบระเบียบ และมีจุดมุ่งหมายในการวิเคราะห์ และคิดบันทึกการสังเกตที่มีการควบคุมเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปอ้างอิง หลักการหรือทฤษฎีซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการทำงานและการควบคุมเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้
  • 5. รัตนะ บัวสนธ์ ( 2543, 3) ได้ให้ความหมายของการวิจัยไว้ว่า เป็นการหาความจริงเชิง สาธารณะด้วยวิธีการที่เรียกว่ากระบวนการวิจัยซึ่งมีลักษณะเป็นระบบมีขั้นตอน ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล ( 2543 : 21) สรุปความหมายของการวิจัยไว้ว่า การวิจัยคือการศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบระเบียบเพื่อทำความเข้าใจปัญหาและแสวงหาคำตอบ เป็นกระบวนการที่อาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นหลัก
  • 6. ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ “การวิจัยเป็นวิธีการค้นคว้า และแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ในการตอบปัญหาต่าง ๆ โดยอาศัยวิธีการที่เชื่อถือได้” ดังนั้น การวิจัยจึงหมายถึง กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ที่เป็น ความจริงเชิงตรรกะ ( Logical) หรือความจริง เชิงประจักษ์ ( Empirical) เพื่อตอบปัญหาอย่างมีระบบ และมีวัตถุประสงค์ที่แน่นอน โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นหลัก   
  • 7. กระบวนการศึกษาค้นคว้าหาคำตอบในการแก้ไขปัญหาโดยวิธีการที่เป็นระบบเชื่อถือได้ตามหลักวิชาการ เน้นการค้นคว้า วิเคราะห์ และสรุปผลข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้องแม่นยำ เกิดองค์ความรู้ใหม่ หรือข้อค้นพบใหม่
  • 8. เหตุผลหลักในการวิจัย 1. การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความรู้ ( Pure Research) เป็นการวิจัยที่มุ่งแสวงหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปรากฎการณ์ที่ศึกษา เพื่อใช้ทดสอบ หรือสร้างทฤษฎีอธิบายปรากฎการณ์จริง 2. การวิจัยประยุกต์ (Applied Research) เป็นการวิจัยที่มุ่งแสวงหาข้อเท็จจริงระหว่างข้อมูลหรือตัวแปร เพื่อนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง
  • 9.
  • 10. ลักษณะสำคัญของการวิจัย 1. มุ่งหาคำตอบเพื่อนำมาใช้แก้ไขปัญหา 2. เน้นการพัฒนาข้อสรุป หรือทฤษฎีต่าง ๆ เพื่อใช้ทำนายเหตุการณ์ในอนาคต 3. อาศัยข้อมูลหรือเหตุการณ์ที่สังเกตได้รวบรวมได้ 4. ต้องการเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลที่แม่นยำเที่ยงตรง 5. เกี่ยวข้องกับการรวบรวมข้อมูลใหม่ๆ เพื่อหาคำตอบของวัตถุประสงค์ใหม่
  • 11. ลักษณะสำคัญของการวิจัย ( ต่อ ) 6. ใช้กิจกรรมในการวิจัยที่กำหนดไว้อย่างมีระบบ 7. ต้องการผู้รู้จริงในเนื้อหาที่จะทำการวิจัย 8. สามารถตรวจสอบความเที่ยงของวิธีการใช้ ข้อมูลที่รวบรวมมาและข้อสรุปที่ได้ 9. สามารถทำซ้ำได้ โดยวิธีเดียวกัน หรือวิธีที่ คล้ายกัน
  • 12. ลักษณะสำคัญของการวิจัย ( ต่อ ) 10. มีความอดทน เนื่องจากมีความยากลำบากใน การแสวงหาคำตอบ 11. ควรเขียนรายงานด้วยความละเอียด รอบคอบ และมีการบัญญัติความหมายของศัพท์เทคนิค ที่ใช้ 12. มีความซื่อสัตย์ และกล้าหาญในการรายงาน ผลการวิจัย
  • 13. ข้อจำกัดของการวิจัย 1. ความซับซ้อนของเนื้อหาหรือปัญหาที่จะศึกษา 2. ความยากในการรวบรวมข้อมูล 3. ความยากในการทำซ้ำ 4. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักวิจัยและสมาชิกในกลุ่ม ตัวอย่าง หรือกลุ่มประชากรมีผลกระทบต่อ ผลการวิจัย 5. ความยากในการควบคุมตัวแปรเกิน
  • 14.   1. ช่วยส่งเสริมความรู้ทางด้านวิชาการและศาสตร์สาขาต่าง ๆ ให้มีการค้นคว้าข้อเท็จจริงมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพราะว่าการวิจัยจะทำให้มีการค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ๆ เพิ่มเติมซึ่งทำให้วิทยาการ ต่าง ๆ   เจริญก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น ทั้งตัวผู้วิจัยและผู้นำเอาเอกสารการวิจัยไปศึกษา 2. นำความรู้ที่ได้จากการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติ หรือแก้ปัญหาโดยตรง ช่วยทำให้ผู้ปฏิบัติได้เลือกวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด ก่อให้เกิดการประหยัด 3. ช่วยในการกำหนดนโยบาย หรือหลักปฏิบัติงานต่าง ๆ เป็นไปด้วยความถูกต้อง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 4. ช่วยให้ค้นพบทฤษฎีและสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ เพื่อให้มนุษย์ได้ดำเนินชีวิตอยู่ในโลกอย่างมีความสุขสบาย 5. ช่วยพยากรณ์ผลภายหน้าของสถานการณ์ ปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ประโยชน์ของการวิจัย   
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23. ขั้นตอนในการวิจัย 1. การเลือกหัวข้อปัญหา 2. การกำหนดขอบเขตของปัญหา 3. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4. การกำหนดสมมติฐาน 5. การเขียนเค้าโครงการวิจัย 6. การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล 7. การเก็บรวบรวมข้อมูล
  • 24. ขั้นตอนในการวิจัย ( ต่อ ) 8. การจัดกระทำข้อมูล 8.1 การใส่ข้อมูล 8.2 การประมวลผล 8.3 ผลลัพธ์ 9. การสรุปผลการวิจัยและเขียนรายงาน 9.1 บทนำ 9.2 การตรวจสอบเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 9.3 วิธีการดำเนินการวิจัย 9.4 ผลการวิจัย 9.5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
  • 25. เครื่องมือและเทคนิคในการรวบรวมข้อมูล โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. เครื่องมือที่เป็นอุปกรณ์ (Materials) 2. เครื่องมือที่ใช้เป็นตัววัด (Measures)
  • 26.
  • 27. จรรยาบรรณของนักวิจัย ( ต่อ ) 5. ต้องเคารพศักดิ์ศรี และสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่าง ในการวิจัย 6. ต้องมีอิสระทางความคิดโดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอน ของการทำวิจัย 7. เผยแพร่ผลงานวิจัยใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ 8. เคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น 9. มีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ
  • 28. เอกสารอ้างอิง [1] http://wbc.msu.ac.th/wbc/edu/ 0504304/ lesson 2. htm [2] www.edu.tsu.ac.th [3] http://secondary.kku.ac.th/research/res02/miscon/miscon6.htm [4] http://www.bcnr.ac.th/e_le/f_res/les 1. htm [5] http://www.bestwitted.com/?p= 244 [6] http://www.spu.ac.th/~patrapan/Tip 11. htm