SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 60
Home
Next
Back

Exit
เพื่อจะให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์หรือคําตอบเชิง   Home
สร้างสรรค์กลุ่ม Synectics ค้นพบว่าการทําความคุ้น
เคยต่อปัญหาอย่างเดียวไม่พอเพียง          จําเป็นต้องมอง   Next
ปัญหาในแนวใหม่ด้วย นั่นก็คือขั้นตอนความคิดต่อไป ผู้       Back
แก้ปัญหาต้องทําปัญหาที่คุ้นเคยให้แปลก โดยการบ่าย
เบี่ยงการมองปัญหาไปจากความเคยชิน หรือมองปัญหา             Exit
โดยสามัญสํานึกอย่างคนธรรมดาหรือต่างอาชีพกัน เช่น
Home
                                                                Next
                                                                Back

                                                                Exit


นักปฏิมากรหรือนักออกแบบผลิตภัณฑ์ มองต้นไม้เป็นกลุ่มของ
ช่องว่างที่อากาศผ่านทะลุได้ ไม่จําเป็นต้องเป็นพุ่ม หรือหนาทึบ
สถาปนิกมองอาคารที่ตนออกแบบ เหมือนกลุ่มดอกลิลลี่
                                                  Home
(แฟรงค์ ลอยด์ไรท์) มองหลังคาโบสถ์เหมือนกระดองปู
(เลอร์ คอบูซิเออร์)                               Next
                                                  Back

                                                  Exit
Home
มองอาคารเหมือนเรือใบที่แล่นในมหาสมุทร (จอน อุท   Next
ซอน) เป็นต้น
                                                 Back

                                                 Exit
Home
                 การกลับไปมองปัญหาที่คุ้นเคยให้แปลกนี้                      Next
ถื อ ว่ า เป็ น หลั ก การเบื ้ อ งต้ น ที ่ ท ํ า ให้ ไ ด้ ค ํ า ตอบหรื อ
                                                                            Back
ผลลัพธ์ของความคิดเชิงสร้างสรรค์ การกําหนดความ
คิดในการแก้ปัญหาเริ่มแรกให้เป็นไปตามกลไกทาง                                 Exit
จิตวิทยาโดยธรรมชาติ (ทําปัญหาแปลกให้คุ้นเคย)
แล้วเปลี่ยนกลับการกําหนดความคิดให้ผิดธรรมชาติ
(ทําปัญหาคุ้นเคยให้แปลก)
Home
                 กลุ่ม Synectics ได้ใช้เป็นหลักการในการ                 Next
ทดลองการพั ฒ นาความคิ ด สร้ า งสรรค์ อ ย่ า งได้ ผ ลมา
แล้วในการค้นคว้าวิจัย โดยเฉพาะการกําหนดขั้นตอนที่                       Back
สองนี ้ ค ื อ ทํ า ปั ญ หาที ่ ค ุ ้ น เคยให้ แ ปลกจะเป็ น การเพิ ่ ม
                                                                        Exit
ความกล้า ความท้าทาย ความเสี่ยง หรือแม้แต่ความ
ฉงนสนเท่ห์ เป็นการมองหรือเผชิญปัญหา และแก้ปัญหา
ในแนวทางใหม่แทนความเคยชินแต่เดิมหรือกฎเกณฑ์ที่
เป็นอยู่เช่นปัจจุบัน ซึ่งเป็นลักษณะสําคัญส่วนหนึ่งของ
คนที่มีความคิดสร้างสรรค์
กลไกทางความคิดที่สําคัญในการทําปัญหาที่
คุ้นเคยให้แปลก คือ การอุปมาอุปมัย (Analogy)        Home
กลุ่ม Synectics กําหนดการอุปมาอุปมัยไว้ 4          Next
ลักษณะในการเปรียบเทียบ ซึ่งถือว่าเป็นเนื้อหาการ
ค้นคว้าสําคัญของวิธีการคิดเชิงสร้างสรรค์ คือ
                                                   Back
                  1. การอุปมาอุปมัยโดยอิงตัวเอง    Exit
(Personal Analogy)
              2. การอุปมาอุปมัยโดยตรง (Direct
Analogy)
                 3. การอุปมาอุปมัยโดยอิงบัญญัติ
(Symbolic Analogy)
              4. การอุปมาอุปมัยโดยอิงการเพ้อฝัน
(Fantasy Analogy)
เป็นการเปรียบเทียบโดยเอาตัวผู้เรียนไปเป็น       Home
บางสิ่งบางอย่างที่ครูยกขึ้น  โดยการกําหนดให้ตัวเอง
เป็นส่วนหนึ่งของปัญหา เป็นวิธีนําตนเองเข้าไปเปรียบ         Next
เทียบโดยสมมติตนเองว่าเป็นสิ่งนั้น        จะให้ความรู้สึก   Back
อย่างไร 
          การเปรียบเทียบเช่นนี้ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม   Exit
ในบทเรียน มองเห็นบทเรียนเป็นสิ่งที่ไม่ไกลตัว มองเห็น
แนวการคิดสร้างสรรค์จากฐานความคิดของตัวเอง และ
บางความคิดจากสิ่งที่ให้เปรียบเทียบ ตัวอย่าง เป็นการ
เปรียบเทียบที่เป็นการรวมบุคคลกับส่วนต่างๆ           ของ
ปัญหา
การเปรียบเทียบเช่นนี้ ช่วยให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน    Home
บทเรียนมองเห็นบทเรียนเป็นสิ่งไม่ไกลตัว    มองเป็น    Next
แนวในการคิดสร้างสรรค์จากรากฐานความคิดของตัว
เองและฐานความคิดจากสิ่งที่ให้เปรียบเทียบ      เช่น   Back
สมมติให้นักเรียนเป็นหนอนเป็นรถไฟ      หรือก้อนเมฆ    Exit
แล้วรู้สึกอย่างไร (สมพงษ์ สิงหะพล, 2533)
สมมติให้นักเรียนเป็นหนอนเป็นรถไฟ   Home
                                   Next
                                   Back

                                   Exit
สมมติ ใ ห้ น ั ก เรี ย นเป็ น   Home
หนอน
                                Next
                                Back

                                Exit
การเปรียบเทียบแบบบุคคลนี้ เป็นการวางเงื่อนไข Home
โดยรวมคนเข้ามาปัญหาและเขามีความสัมพันธ์ระหว่างคน
                                                           Next
กับพืช สัตว์ หรือสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งที่สําคัญคือการเน้นการ
รวมทั้งสองสิ่งเข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน โดยได้ยกตัวอย่าง Back
สถานการณ์ของปัญหาโดยนักเคมีได้รวมตัวของเขาให้เป็น
อันหนึ่งอันเดียวกันกับโมเลกุล โดยเขาจะทําการถามตัวเอง
                                                            Exit
ว่า “ฉันรู้สึกอย่างไร ถ้าฉันเป็นโมเลกุล” (Joyce and
Weil, 1972)
Home


         เป็นการเปรียบเทียบ     ระหว่างสิ่งของสองสิ่ง      Next
ความคิด 2 ความคิด จากสิ่งหนึ่งพัฒนาไปสู่อีกสิ่งหนึ่ง        Back
สิ่งที่เรานํามาเปรียบเทียบกันจะเป็นอะไรก็ได้     ที่เรา
ต้องการเปรียบเทียบ เช่น คน พืช สัตว์ สิ่งของ สถานที่        Exit
ความคิด หรืออื่น ๆ โดยเปรียบเทียบของสองสิ่งที่มี
คุณสมบัติใกล้เคียงกันที่สุด    เป็นการนําวิธีการที่มีอยู่
แล้วในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาประยุกต์ใช้
แก้ปัญหาซึ่งมีลักษณะตรงกัน
Home
เป็นกลไกทางความคิดในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์
ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนมองเห็นบทเรียนในแนวทางและ          Next
ความคิดใหม่ เป็นการสร้างสิ่งเปรียบเทียบที่เหมือน        Back
กับสภาพที่แท้จริง แต่เปลี่ยนไปเป็นสภาพอื่นที่เคียงคู่
ไปกับปัญหานั้นๆ การเปรียบเทียบแบบตรงเป็นการ             Exit
ทําสิ่งที่แปลกให้คุ้นเคย   โดยการนําเอาสถานการณ์
ใหม่ไปเปรียบเทียบกับสิ่งที่รู้แล้ว เช่น
การเปรี ย บเที ย บการเขี ย นจดหมายกั บ ลั ก ษณะการ   Home
เคลื่อนที่ของหนอน
                                                     Next
                                                     Back

                                                     Exit
เปรียบเทียบตัวหนอนที่เป็นข้อปล้องกับลักษณะขบวน   Home
ของตู้รถไฟ
                                                 Next
                                                 Back

                                                 Exit
หรื อ การเขี ย นจดหมายกั บ การเคลื ่ อ นที ่   Home
ของก้อนเมฆ
                                               Next
                                               Back

                                               Exit
การอุปมาอุปมัยโดยตรง เป็นกลไกทางความ                 Home
คิดในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ โดยเปรียบเทียบของ
                                                                  Next
สองสิ่งที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกันที่สุด เป็นการเปรียบ
เทียบของผู้แก้ปัญหาแต่ละคนที่จะมองปัญหาในเงื่อนไข                 Back
หรือสถานการณ์ใหม่ เมื่อปัญหาเกี่ยวข้องกับสิ่งที่มีชีวิต
ก็มักจะเปรียบเทียบโดยตรงกับสิ่งที่ไร้ชีวิต ในทางตรง               Exit
กันข้าม       เมื่อเผชิญกับปัญหาที่เกี่ยวกับสิ่งที่ไร้ชีวิตก็จะ
เปรียบเทียบกับสิ่งที่มีชีวิต หรือมิฉะนั้นก็เปรียบเทียบสิ่ง
ที่ไร้ชีวิตหรือสิ่งที่มีชีวิตเช่นเดียวกัน เช่น
Sir March Isumbard คิดแก้ปัญหาการออกแบบ               Home
โครงสร้างใต้น้ําได้จากการเฝ้าดูหนอนทะเลที่อาศัยตามเรือไม้หรือ
เขื่อนไม้ตามฝั่งทะเล    ขณะกําลังขุดเจาะไม้ทํารูเป็นทางไปเรื่อยๆ   Next
นั้น      ตัวหนอนจะต้องสร้างปล้องสําหรับตัวเองไปทุกระยะที่มัน
เคลื่อนตัวไปข้างหน้าเสมอ ด้วยการอุปมาอุปมัยโดยตรง จาก การ
                                                                   Back
สังเกตนี้เอง จึงทําให้ระบบการก่อสร้างแบบ Caissons สําหรับ
โครงสร้างใต้น้ํา หรือใต้ดินเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก ในวงการก่อสร้าง
                                                                   Exit
จนถึงปัจจุบัน
และจากการอุปมาอุปมัยโดยตรงกับระบบการสั่น Home
สะเทือนของกระดูกหูต่างๆ ของมนุษย์ ซึ่งมีการควบคุม
                                                                  Next
โดยแผ่ น เหยื ่ อ สายใยบางๆที ่ ห ่ อ หุ ้ ม นี ้ เ อง   ทํ า ให้
Alexander Graham Bell สามารถแก้ปัญหาที่คั่งค้าง Back
และประดิษฐ์เครื่องโทรศัพท์ได้สําเร็จในที่สุด           แหล่งที่มา
ของความคิดอุปมาอุปมัยหรือการเปรียบเทียบโดยตรง ที่
                                                                   Exit
สําคัญคือ ความรู้ทางชีววิทยา
Home
                การอุปมาอุปมัยโดยอิงบัญญัติ (Symbolic Next
Analogy) หรือการเปรียบเทียบในเชิงสัญลักษณ์ เป็นการ B
                                                       ack
นําสิ่งที่เป็นนามธรรมมาใช้เปรียบเปรย ตัวอย่างการอุปมา
อุปมัยเชิงบัญญัติของก้อนอิฐ มีหลากหลายเช่น             Exit
Home

สําหรับช่างทําอิฐ คือกรรมวิธีหรือส่วนผสม   Next
ต่างๆ ของอิฐ                               Back

                                           Exit
Home
สําหรับสถาปนิก คือ โครงสร้างโค้งของอาคาร   Next
หรือตัวอาคาร                               Back

                                           Exit
Home
สําหรับช่างก่อสร้างคือกําแพง   Next
                               Back

                               Exit
Home

สําหรับช่างก่อสร้างคือกําแพง   Next
                               Back

                               Exit
Home
ช่างถ่ายภาพนํามาเป็นองค์ประกอบในการถ่าย   Next
ภาพ
                                          Back

                                          Exit
Home
มัณฑนากร หรือนักตกแต่งสวน เห็นเป็นส่วน   Next
ประกอบในการทํางานจัดบ้าน จัดสวน          Back

                                         Exit
Home

นักแต่งเพลงนํามาเปรียบเทียบเป็นเนื้อหาใน   Next
เนื้อเพลง                                  Back

                                           Exit
Home
สําหรับอันธพาลคืออาวุธใช้ขว้างหัวคน   Next
อื่น                                  Back

                                      Exit
Home
              นักปฏิบัติวิชาชีพแต่ละสาขา มักมี "ภาษา"    Next
หรือ     บัญญัติเฉพาะในการสื่อความคิดเพื่อแก้ปัญหา
                                                         Back
ต่างๆ     ซึ่งประกอบกันเป็นมโนทัศน์      เก็บสะสมเป็น
ประสบการณ์ เฉพาะบุคคลตามสาขาอาชีพ ในการ                  Exit
ทําความคุ้นเคยกับปัญหา นักเคมีจะใช้มโนทัศน์ ในการ
เปรียบเทียบเป็นสูตรหรือสมการทางเคมีปฏิบัติ         นัก
คณิตศาสตร์จะใช้บัญญัติของตัวเลขและกฎเกณฑ์ในรูป
สมการทางคณิตศาสตร์ เป็นต้น
การตอบสนองเฉพาะเรื่อง จะสะสมไว้ในสมอง
ของแต่ละคนมากมาย            สิ่งเหล่านี้เป็นส่วนที่บันทึกใน   Home
จิตใจเป็นการสะสม ของมโนทัศน์ต่างๆ ซึ่งในแต่ละ
                                                              Next
สาขาอาชีพ มีรูปแบบหรือเค้าโครงแตกต่าง ตามความรู้
และความเคยชินในการแก้ปัญหา มโนทัศน์ทั้งหลายนี้                Back
เป็นบัญญัติทั้งสิ้น มีรูปสัญลักษณ์ประกอบต่างๆ เพื่อ
การสื่อ หรือทําเข้าใจกันได้ก็เฉพาะสาขาอาชีพเดียวกัน           Exit
แต่การทําปัญหาที่คุ้นเคยให้แปลกนั้น จําเป็นต้องใช้การ
เปรียบเทียบ โดยอิงบัญญัติ หรือมโนทัศน์อื่นในต่าง
อาชีพ
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
          เป็นการนําจินตนาการ ความอยาก ความคิด              Next
เพ้อฝันมาใช้สมมติเปรียบเทียบ   พื้นฐานจากความคิด            Back
ของ Sigmund Freud ที่ว่างานสร้างสรรค์ เกิดจาก
การทํ า ความปรารถนาให้ เ ป็ น จริ ง โดยผู ้ แ ก้ ป ั ญ หา   Exit
กําหนดปัญหา ด้วยแรงปรารถนาอย่างไรก็ได้ อันปลอด
จากเหตุผล หรือกฎเกณฑ์ใด ที่เคยประพฤติปฏิบัติมา
ประโยชน์ที่มีผลทางความคิดสร้างสรรค์ที่สุด
มีคํากล่าวว่า งานสร้างสรรค์เกิดจากการทําความ
ปรารถนาให้เป็นจริง โดยผู้แก้ปัญหากําหนดปัญหา ด้วยแรง
ปรารถนาอย่างไรก็ได้อันปลอดจากเหตุผล หรือกฎเกณฑ์ใด                             Home
ที่เคยประพฤติปฏิบัติมา                  ประโยชน์ที่มีผลทางความคิด
สร้างสรรค์ที่สุด คือการใช้การอุปมาอุปมัยนี้ ตั้งแต่ขั้นตอน                    Next
แรกๆ ของการทําปัญหาที่คุ้นเคยให้แปลก กลุ่ม Synectics                          Back
ยืนยันว่า      เป็นสิ่งสําคัญอย่างมากในการเชื่อมประสานขั้น
ตอน การกําหนดปัญหา และการแก้ปัญหาเข้าด้วยกัน และ                              Exit
ยังก่อให้เกิด การใช้การอุปมาอุปมัยแบบอื่นๆ ตามที่ได้
กล่าวมาแล้วข้างต้นอีกด้วย จากผลการทดลองในระยะแรก
การอุ ป มาอุ ป มั ย เชิ ง เพ้ อ ฝั น มั ก เกิ ด ขึ ้ น แทรกขณะที ่ ส มาชิ ก
กลุ่มกําลังใช้การอุปมาอุปมัยแบบอื่น แต่ประโยชน์อาจเร่งส่ง
ผลให้เกิดได้รวดเร็วในการแก้ปัญหาได้เท่าๆ                    กับความสูญ
เปล่า ในแสวงหาคําตอบของปัญหานั้นด้วย
เป็นการยากที่จะปฏิเสธว่า การพัฒนาการของ
ความสําเร็จ               ในสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์
มีผลสืบเนื่องมาจากจินตนาการ         หรือการอุปมาอุปมัย    Home
เชิงเพ้อฝันของศิลปิน โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้อง กับ
                                                          Next
โครงการอวกาศและวงการบิ น ที ่ ป รากฏในปั จ จุ บ ั น
เพราะในแขนงวิชาทางศิลปะ            ศิลปินสามารถที่สร้าง   Back
ความเพ้อฝัน ได้ง่ายดายกว่านักวิทยาศาสตร์ มีความ
ปรารถนาที่จะให้โลกเป็นเช่นไรก็ได้ เพราะผลของงาน           Exit
สร้างสรรค์ เป็นเรื่องของบัญญัติของจินตนาการ ไม่ใช่
ของจริงที่ต้องเกี่ยวข้องกับกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ และ
ระบบทางสังคมวัฒนธรรม เช่นทางวิทยาศาสตร์
Home
แต่จินตนาการหรือความเพ้อฝัน มักเป็นกลไกสําคัญใน           Next
การพัฒนาความเจริญทางวิทยาศาสตร์            และในขณะ       Back
เดียวกันก็เปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์และระบบต่างๆ          ของ
ธรรมชาติและสังคมวัฒนธรรม          เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน   Exit
ผลงานในอดีตที่ทรงคุณค่าต่อการศึกษา ในด้านวิชาการ
จนถึงปัจจุบัน ก็ล้วนเกิดจากบุคคลที่มีความสามารถใน
การอุปมาอุปมัยเชิงเพ้อฝันทั้งสิ้น
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
Home
Next
Back

Exit
ข้อดี
  
     1.       เหมาะสําหรับการสอนรายวิชาหรือเนื้อหาที่    Home
ต้องการใช้ความคิดสร้างสรรค์ เช่น การเขียนเรียงความ
สร้างสรรค์ การสํารวจปัญหาสังคม การแก้ปัญหาต่าง ๆ            Next
ศิลปะและการสร้างงานประดิษฐ์                                 Back

       2. เน้นการสอนเพื่อให้เกิดความรู้สึกมากกว่าสติ
ปัญญา ทําให้ผู้เรียนไม่มีความคิดติดกับกรอบและทําใจ          Exit
เปิดกว้างยอมรับสิ่งต่าง ๆ เป็นอย่างมาก

       3. ผู้เรียนรู้จักแก้ปัญหา โดยวิธีแปลกใหม่ยิ่งขึ้น

       4. เป็นวิธีที่ผู้เรียนมีโอกาสได้ฝึกฝนการนําทฤษฎี
หลักการ
นําไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ๆ ได้
ข้อจํากัด                                       Home
            1. เป็นวิธีสอนที่ผู้สอนจําเป็นต้องเตรียม   Next
ปัญหา สถานการณ์ที่หลากหลายมาให้ฝึกคิด ฝึกทํา
                                                       Back
          2 .เป็นวิธีการสอนที่ขึ้นกับความเข้าใจและ
ความสามารถของผู้สอนในการนําเสนอ ทฤษฎี หลัก             Exit
การ
Home
   
  3. เนื่องจากเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้       Next
เน้นการใช้อารมณ์ ความรู้สึก เป็นหลัก อาจจะไม่
เหมาะสมกับวิชาที่ต้องใช้เหตุผล กฎเกณฑ์ เช่น         Back
วิทยาศาสตร์ หลักภาษา และคณิตศาสตร์ เป็นต้น          Exit
 
    4. เป็นวิธีการสอนที่ผู้เรียนนั้นจะต้องคิดหา
คําตอบด้วยตนเอง หากผู้เรียนขาดทักษะพื้นฐาน
ในการคิด และการทํางานร่วมกันเป็นกลุ่ม อาจไม่
เกิดผลสมบูรณ์ตามต้องการ
1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ในผล
งานที่แปลกใหม่เป็นการคิดที่อิสระในหลาย ๆ วิธีการ         Home
           2. เพื่อฝึกความกล้าในการแสดงออก การ           Next
แสดงความคิดเห็นที่ไม่เหมือนผู้อื่น
        วัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนแบบ
                                                         Back
Synectics เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ใน        Exit
การสร้างผลงานที่แปลกใหม่          เป็นการคิดที่อิสระใน
หลาย ๆ วิธีการ และเพื่อฝึกความกล้าในการแสดงออก
การแสดงความคิดเห็นที่ไม่เหมือนผู้อื่น

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศkand-2539
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดTaweesak Poochai
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงNawamin Wongchai
 
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931KantnateeHarnkijroon
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลMeanz Mean
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1peter dontoom
 
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบKasetsart University
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์PumPui Oranuch
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานkrulef1805
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์sirikase
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์Koksi Vocation
 
แบยทดสอบ การรับรู้และการตอบสนองเเเเเ
แบยทดสอบ  การรับรู้และการตอบสนองเเเเเแบยทดสอบ  การรับรู้และการตอบสนองเเเเเ
แบยทดสอบ การรับรู้และการตอบสนองเเเเเสำเร็จ นางสีคุณ
 

Was ist angesagt? (20)

เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
 
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
 
การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1
 
แบยทดสอบ การรับรู้และการตอบสนองเเเเเ
แบยทดสอบ  การรับรู้และการตอบสนองเเเเเแบยทดสอบ  การรับรู้และการตอบสนองเเเเเ
แบยทดสอบ การรับรู้และการตอบสนองเเเเเ
 

Pptsynectics2

  • 2. เพื่อจะให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์หรือคําตอบเชิง Home สร้างสรรค์กลุ่ม Synectics ค้นพบว่าการทําความคุ้น เคยต่อปัญหาอย่างเดียวไม่พอเพียง จําเป็นต้องมอง Next ปัญหาในแนวใหม่ด้วย นั่นก็คือขั้นตอนความคิดต่อไป ผู้ Back แก้ปัญหาต้องทําปัญหาที่คุ้นเคยให้แปลก โดยการบ่าย เบี่ยงการมองปัญหาไปจากความเคยชิน หรือมองปัญหา Exit โดยสามัญสํานึกอย่างคนธรรมดาหรือต่างอาชีพกัน เช่น
  • 3. Home Next Back Exit นักปฏิมากรหรือนักออกแบบผลิตภัณฑ์ มองต้นไม้เป็นกลุ่มของ ช่องว่างที่อากาศผ่านทะลุได้ ไม่จําเป็นต้องเป็นพุ่ม หรือหนาทึบ
  • 4. สถาปนิกมองอาคารที่ตนออกแบบ เหมือนกลุ่มดอกลิลลี่ Home (แฟรงค์ ลอยด์ไรท์) มองหลังคาโบสถ์เหมือนกระดองปู (เลอร์ คอบูซิเออร์) Next Back Exit
  • 6. Home การกลับไปมองปัญหาที่คุ้นเคยให้แปลกนี้ Next ถื อ ว่ า เป็ น หลั ก การเบื ้ อ งต้ น ที ่ ท ํ า ให้ ไ ด้ ค ํ า ตอบหรื อ Back ผลลัพธ์ของความคิดเชิงสร้างสรรค์ การกําหนดความ คิดในการแก้ปัญหาเริ่มแรกให้เป็นไปตามกลไกทาง Exit จิตวิทยาโดยธรรมชาติ (ทําปัญหาแปลกให้คุ้นเคย) แล้วเปลี่ยนกลับการกําหนดความคิดให้ผิดธรรมชาติ (ทําปัญหาคุ้นเคยให้แปลก)
  • 7. Home กลุ่ม Synectics ได้ใช้เป็นหลักการในการ Next ทดลองการพั ฒ นาความคิ ด สร้ า งสรรค์ อ ย่ า งได้ ผ ลมา แล้วในการค้นคว้าวิจัย โดยเฉพาะการกําหนดขั้นตอนที่ Back สองนี ้ ค ื อ ทํ า ปั ญ หาที ่ ค ุ ้ น เคยให้ แ ปลกจะเป็ น การเพิ ่ ม Exit ความกล้า ความท้าทาย ความเสี่ยง หรือแม้แต่ความ ฉงนสนเท่ห์ เป็นการมองหรือเผชิญปัญหา และแก้ปัญหา ในแนวทางใหม่แทนความเคยชินแต่เดิมหรือกฎเกณฑ์ที่ เป็นอยู่เช่นปัจจุบัน ซึ่งเป็นลักษณะสําคัญส่วนหนึ่งของ คนที่มีความคิดสร้างสรรค์
  • 8. กลไกทางความคิดที่สําคัญในการทําปัญหาที่ คุ้นเคยให้แปลก คือ การอุปมาอุปมัย (Analogy) Home กลุ่ม Synectics กําหนดการอุปมาอุปมัยไว้ 4 Next ลักษณะในการเปรียบเทียบ ซึ่งถือว่าเป็นเนื้อหาการ ค้นคว้าสําคัญของวิธีการคิดเชิงสร้างสรรค์ คือ Back 1. การอุปมาอุปมัยโดยอิงตัวเอง Exit (Personal Analogy) 2. การอุปมาอุปมัยโดยตรง (Direct Analogy) 3. การอุปมาอุปมัยโดยอิงบัญญัติ (Symbolic Analogy) 4. การอุปมาอุปมัยโดยอิงการเพ้อฝัน (Fantasy Analogy)
  • 9. เป็นการเปรียบเทียบโดยเอาตัวผู้เรียนไปเป็น Home บางสิ่งบางอย่างที่ครูยกขึ้น โดยการกําหนดให้ตัวเอง เป็นส่วนหนึ่งของปัญหา เป็นวิธีนําตนเองเข้าไปเปรียบ Next เทียบโดยสมมติตนเองว่าเป็นสิ่งนั้น จะให้ความรู้สึก Back อย่างไร  การเปรียบเทียบเช่นนี้ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม Exit ในบทเรียน มองเห็นบทเรียนเป็นสิ่งที่ไม่ไกลตัว มองเห็น แนวการคิดสร้างสรรค์จากฐานความคิดของตัวเอง และ บางความคิดจากสิ่งที่ให้เปรียบเทียบ ตัวอย่าง เป็นการ เปรียบเทียบที่เป็นการรวมบุคคลกับส่วนต่างๆ ของ ปัญหา
  • 10. การเปรียบเทียบเช่นนี้ ช่วยให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน Home บทเรียนมองเห็นบทเรียนเป็นสิ่งไม่ไกลตัว มองเป็น Next แนวในการคิดสร้างสรรค์จากรากฐานความคิดของตัว เองและฐานความคิดจากสิ่งที่ให้เปรียบเทียบ เช่น Back สมมติให้นักเรียนเป็นหนอนเป็นรถไฟ หรือก้อนเมฆ Exit แล้วรู้สึกอย่างไร (สมพงษ์ สิงหะพล, 2533)
  • 12. สมมติ ใ ห้ น ั ก เรี ย นเป็ น Home หนอน Next Back Exit
  • 13. การเปรียบเทียบแบบบุคคลนี้ เป็นการวางเงื่อนไข Home โดยรวมคนเข้ามาปัญหาและเขามีความสัมพันธ์ระหว่างคน Next กับพืช สัตว์ หรือสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งที่สําคัญคือการเน้นการ รวมทั้งสองสิ่งเข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน โดยได้ยกตัวอย่าง Back สถานการณ์ของปัญหาโดยนักเคมีได้รวมตัวของเขาให้เป็น อันหนึ่งอันเดียวกันกับโมเลกุล โดยเขาจะทําการถามตัวเอง Exit ว่า “ฉันรู้สึกอย่างไร ถ้าฉันเป็นโมเลกุล” (Joyce and Weil, 1972)
  • 14. Home เป็นการเปรียบเทียบ ระหว่างสิ่งของสองสิ่ง Next ความคิด 2 ความคิด จากสิ่งหนึ่งพัฒนาไปสู่อีกสิ่งหนึ่ง Back สิ่งที่เรานํามาเปรียบเทียบกันจะเป็นอะไรก็ได้ ที่เรา ต้องการเปรียบเทียบ เช่น คน พืช สัตว์ สิ่งของ สถานที่ Exit ความคิด หรืออื่น ๆ โดยเปรียบเทียบของสองสิ่งที่มี คุณสมบัติใกล้เคียงกันที่สุด เป็นการนําวิธีการที่มีอยู่ แล้วในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาประยุกต์ใช้ แก้ปัญหาซึ่งมีลักษณะตรงกัน
  • 15. Home เป็นกลไกทางความคิดในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนมองเห็นบทเรียนในแนวทางและ Next ความคิดใหม่ เป็นการสร้างสิ่งเปรียบเทียบที่เหมือน Back กับสภาพที่แท้จริง แต่เปลี่ยนไปเป็นสภาพอื่นที่เคียงคู่ ไปกับปัญหานั้นๆ การเปรียบเทียบแบบตรงเป็นการ Exit ทําสิ่งที่แปลกให้คุ้นเคย โดยการนําเอาสถานการณ์ ใหม่ไปเปรียบเทียบกับสิ่งที่รู้แล้ว เช่น
  • 16. การเปรี ย บเที ย บการเขี ย นจดหมายกั บ ลั ก ษณะการ Home เคลื่อนที่ของหนอน Next Back Exit
  • 18. หรื อ การเขี ย นจดหมายกั บ การเคลื ่ อ นที ่ Home ของก้อนเมฆ Next Back Exit
  • 19. การอุปมาอุปมัยโดยตรง เป็นกลไกทางความ Home คิดในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ โดยเปรียบเทียบของ Next สองสิ่งที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกันที่สุด เป็นการเปรียบ เทียบของผู้แก้ปัญหาแต่ละคนที่จะมองปัญหาในเงื่อนไข Back หรือสถานการณ์ใหม่ เมื่อปัญหาเกี่ยวข้องกับสิ่งที่มีชีวิต ก็มักจะเปรียบเทียบโดยตรงกับสิ่งที่ไร้ชีวิต ในทางตรง Exit กันข้าม เมื่อเผชิญกับปัญหาที่เกี่ยวกับสิ่งที่ไร้ชีวิตก็จะ เปรียบเทียบกับสิ่งที่มีชีวิต หรือมิฉะนั้นก็เปรียบเทียบสิ่ง ที่ไร้ชีวิตหรือสิ่งที่มีชีวิตเช่นเดียวกัน เช่น
  • 20. Sir March Isumbard คิดแก้ปัญหาการออกแบบ Home โครงสร้างใต้น้ําได้จากการเฝ้าดูหนอนทะเลที่อาศัยตามเรือไม้หรือ เขื่อนไม้ตามฝั่งทะเล ขณะกําลังขุดเจาะไม้ทํารูเป็นทางไปเรื่อยๆ Next นั้น ตัวหนอนจะต้องสร้างปล้องสําหรับตัวเองไปทุกระยะที่มัน เคลื่อนตัวไปข้างหน้าเสมอ ด้วยการอุปมาอุปมัยโดยตรง จาก การ Back สังเกตนี้เอง จึงทําให้ระบบการก่อสร้างแบบ Caissons สําหรับ โครงสร้างใต้น้ํา หรือใต้ดินเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก ในวงการก่อสร้าง Exit จนถึงปัจจุบัน
  • 21. และจากการอุปมาอุปมัยโดยตรงกับระบบการสั่น Home สะเทือนของกระดูกหูต่างๆ ของมนุษย์ ซึ่งมีการควบคุม Next โดยแผ่ น เหยื ่ อ สายใยบางๆที ่ ห ่ อ หุ ้ ม นี ้ เ อง ทํ า ให้ Alexander Graham Bell สามารถแก้ปัญหาที่คั่งค้าง Back และประดิษฐ์เครื่องโทรศัพท์ได้สําเร็จในที่สุด แหล่งที่มา ของความคิดอุปมาอุปมัยหรือการเปรียบเทียบโดยตรง ที่ Exit สําคัญคือ ความรู้ทางชีววิทยา
  • 22. Home การอุปมาอุปมัยโดยอิงบัญญัติ (Symbolic Next Analogy) หรือการเปรียบเทียบในเชิงสัญลักษณ์ เป็นการ B ack นําสิ่งที่เป็นนามธรรมมาใช้เปรียบเปรย ตัวอย่างการอุปมา อุปมัยเชิงบัญญัติของก้อนอิฐ มีหลากหลายเช่น Exit
  • 28. Home มัณฑนากร หรือนักตกแต่งสวน เห็นเป็นส่วน Next ประกอบในการทํางานจัดบ้าน จัดสวน Back Exit
  • 31. Home นักปฏิบัติวิชาชีพแต่ละสาขา มักมี "ภาษา" Next หรือ บัญญัติเฉพาะในการสื่อความคิดเพื่อแก้ปัญหา Back ต่างๆ ซึ่งประกอบกันเป็นมโนทัศน์ เก็บสะสมเป็น ประสบการณ์ เฉพาะบุคคลตามสาขาอาชีพ ในการ Exit ทําความคุ้นเคยกับปัญหา นักเคมีจะใช้มโนทัศน์ ในการ เปรียบเทียบเป็นสูตรหรือสมการทางเคมีปฏิบัติ นัก คณิตศาสตร์จะใช้บัญญัติของตัวเลขและกฎเกณฑ์ในรูป สมการทางคณิตศาสตร์ เป็นต้น
  • 32. การตอบสนองเฉพาะเรื่อง จะสะสมไว้ในสมอง ของแต่ละคนมากมาย สิ่งเหล่านี้เป็นส่วนที่บันทึกใน Home จิตใจเป็นการสะสม ของมโนทัศน์ต่างๆ ซึ่งในแต่ละ Next สาขาอาชีพ มีรูปแบบหรือเค้าโครงแตกต่าง ตามความรู้ และความเคยชินในการแก้ปัญหา มโนทัศน์ทั้งหลายนี้ Back เป็นบัญญัติทั้งสิ้น มีรูปสัญลักษณ์ประกอบต่างๆ เพื่อ การสื่อ หรือทําเข้าใจกันได้ก็เฉพาะสาขาอาชีพเดียวกัน Exit แต่การทําปัญหาที่คุ้นเคยให้แปลกนั้น จําเป็นต้องใช้การ เปรียบเทียบ โดยอิงบัญญัติ หรือมโนทัศน์อื่นในต่าง อาชีพ
  • 39. Home เป็นการนําจินตนาการ ความอยาก ความคิด Next เพ้อฝันมาใช้สมมติเปรียบเทียบ พื้นฐานจากความคิด Back ของ Sigmund Freud ที่ว่างานสร้างสรรค์ เกิดจาก การทํ า ความปรารถนาให้ เ ป็ น จริ ง โดยผู ้ แ ก้ ป ั ญ หา Exit กําหนดปัญหา ด้วยแรงปรารถนาอย่างไรก็ได้ อันปลอด จากเหตุผล หรือกฎเกณฑ์ใด ที่เคยประพฤติปฏิบัติมา ประโยชน์ที่มีผลทางความคิดสร้างสรรค์ที่สุด
  • 40. มีคํากล่าวว่า งานสร้างสรรค์เกิดจากการทําความ ปรารถนาให้เป็นจริง โดยผู้แก้ปัญหากําหนดปัญหา ด้วยแรง ปรารถนาอย่างไรก็ได้อันปลอดจากเหตุผล หรือกฎเกณฑ์ใด Home ที่เคยประพฤติปฏิบัติมา ประโยชน์ที่มีผลทางความคิด สร้างสรรค์ที่สุด คือการใช้การอุปมาอุปมัยนี้ ตั้งแต่ขั้นตอน Next แรกๆ ของการทําปัญหาที่คุ้นเคยให้แปลก กลุ่ม Synectics Back ยืนยันว่า เป็นสิ่งสําคัญอย่างมากในการเชื่อมประสานขั้น ตอน การกําหนดปัญหา และการแก้ปัญหาเข้าด้วยกัน และ Exit ยังก่อให้เกิด การใช้การอุปมาอุปมัยแบบอื่นๆ ตามที่ได้ กล่าวมาแล้วข้างต้นอีกด้วย จากผลการทดลองในระยะแรก การอุ ป มาอุ ป มั ย เชิ ง เพ้ อ ฝั น มั ก เกิ ด ขึ ้ น แทรกขณะที ่ ส มาชิ ก กลุ่มกําลังใช้การอุปมาอุปมัยแบบอื่น แต่ประโยชน์อาจเร่งส่ง ผลให้เกิดได้รวดเร็วในการแก้ปัญหาได้เท่าๆ กับความสูญ เปล่า ในแสวงหาคําตอบของปัญหานั้นด้วย
  • 41. เป็นการยากที่จะปฏิเสธว่า การพัฒนาการของ ความสําเร็จ ในสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ มีผลสืบเนื่องมาจากจินตนาการ หรือการอุปมาอุปมัย Home เชิงเพ้อฝันของศิลปิน โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้อง กับ Next โครงการอวกาศและวงการบิ น ที ่ ป รากฏในปั จ จุ บ ั น เพราะในแขนงวิชาทางศิลปะ ศิลปินสามารถที่สร้าง Back ความเพ้อฝัน ได้ง่ายดายกว่านักวิทยาศาสตร์ มีความ ปรารถนาที่จะให้โลกเป็นเช่นไรก็ได้ เพราะผลของงาน Exit สร้างสรรค์ เป็นเรื่องของบัญญัติของจินตนาการ ไม่ใช่ ของจริงที่ต้องเกี่ยวข้องกับกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ และ ระบบทางสังคมวัฒนธรรม เช่นทางวิทยาศาสตร์
  • 42. Home แต่จินตนาการหรือความเพ้อฝัน มักเป็นกลไกสําคัญใน Next การพัฒนาความเจริญทางวิทยาศาสตร์ และในขณะ Back เดียวกันก็เปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์และระบบต่างๆ ของ ธรรมชาติและสังคมวัฒนธรรม เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน Exit ผลงานในอดีตที่ทรงคุณค่าต่อการศึกษา ในด้านวิชาการ จนถึงปัจจุบัน ก็ล้วนเกิดจากบุคคลที่มีความสามารถใน การอุปมาอุปมัยเชิงเพ้อฝันทั้งสิ้น
  • 57. ข้อดี 1. เหมาะสําหรับการสอนรายวิชาหรือเนื้อหาที่ Home ต้องการใช้ความคิดสร้างสรรค์ เช่น การเขียนเรียงความ สร้างสรรค์ การสํารวจปัญหาสังคม การแก้ปัญหาต่าง ๆ Next ศิลปะและการสร้างงานประดิษฐ์ Back 2. เน้นการสอนเพื่อให้เกิดความรู้สึกมากกว่าสติ ปัญญา ทําให้ผู้เรียนไม่มีความคิดติดกับกรอบและทําใจ Exit เปิดกว้างยอมรับสิ่งต่าง ๆ เป็นอย่างมาก 3. ผู้เรียนรู้จักแก้ปัญหา โดยวิธีแปลกใหม่ยิ่งขึ้น 4. เป็นวิธีที่ผู้เรียนมีโอกาสได้ฝึกฝนการนําทฤษฎี หลักการ นําไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ๆ ได้
  • 58. ข้อจํากัด Home 1. เป็นวิธีสอนที่ผู้สอนจําเป็นต้องเตรียม Next ปัญหา สถานการณ์ที่หลากหลายมาให้ฝึกคิด ฝึกทํา Back 2 .เป็นวิธีการสอนที่ขึ้นกับความเข้าใจและ ความสามารถของผู้สอนในการนําเสนอ ทฤษฎี หลัก Exit การ
  • 59. Home 3. เนื่องจากเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ Next เน้นการใช้อารมณ์ ความรู้สึก เป็นหลัก อาจจะไม่ เหมาะสมกับวิชาที่ต้องใช้เหตุผล กฎเกณฑ์ เช่น Back วิทยาศาสตร์ หลักภาษา และคณิตศาสตร์ เป็นต้น Exit 4. เป็นวิธีการสอนที่ผู้เรียนนั้นจะต้องคิดหา คําตอบด้วยตนเอง หากผู้เรียนขาดทักษะพื้นฐาน ในการคิด และการทํางานร่วมกันเป็นกลุ่ม อาจไม่ เกิดผลสมบูรณ์ตามต้องการ
  • 60. 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ในผล งานที่แปลกใหม่เป็นการคิดที่อิสระในหลาย ๆ วิธีการ Home 2. เพื่อฝึกความกล้าในการแสดงออก การ Next แสดงความคิดเห็นที่ไม่เหมือนผู้อื่น วัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนแบบ Back Synectics เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ใน Exit การสร้างผลงานที่แปลกใหม่ เป็นการคิดที่อิสระใน หลาย ๆ วิธีการ และเพื่อฝึกความกล้าในการแสดงออก การแสดงความคิดเห็นที่ไม่เหมือนผู้อื่น

Hinweis der Redaktion

  1. \n
  2. \n
  3. \n
  4. \n
  5. \n
  6. \n
  7. \n
  8. \n
  9. \n
  10. \n
  11. \n
  12. \n
  13. \n
  14. \n
  15. \n
  16. \n
  17. \n
  18. \n
  19. \n
  20. \n
  21. \n
  22. \n
  23. \n
  24. \n
  25. \n
  26. \n
  27. \n
  28. \n
  29. \n
  30. \n
  31. \n
  32. \n
  33. \n
  34. \n
  35. \n
  36. \n
  37. \n
  38. \n
  39. \n
  40. \n
  41. \n
  42. \n
  43. \n
  44. \n
  45. \n
  46. \n
  47. \n
  48. \n
  49. \n
  50. \n
  51. \n
  52. \n
  53. \n
  54. \n
  55. \n
  56. \n
  57. \n
  58. \n
  59. \n
  60. \n