SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 25
Downloaden Sie, um offline zu lesen
วิจยในชั้นเรี ยน
              ั

                   เรื่ อง


การศึกษาพฤติกรรมเรื่ องการไม่ส่งงาน / การบ้าน
 ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2
             วิชาฟิ สิ กส์
  โรงเรี ยนบาลีสาธิต จังหวัดเชียงใหม่




                    ผูวิจย
                      ้ ั



          นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา

     หลักสู ตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
                  คณะครุศาสตร์
     มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ ราชวิทยาลัย
                วิทยาเขตเชียงใหม่
วิจยในชั้นเรี ยน
                    ั

                          เรื่ อง
  การศึกษาพฤติกรรมเรื่ องการไม่ส่งงาน / การบ้าน
      ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2
                  วิชาฟิ สิ กส์
       โรงเรี ยนบาลีสาธิต จังหวัดเชียงใหม่


                          ผูวิจย
                            ้ ั

                นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา

           หลักสู ตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
                        คณะครุศาสตร์
           มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ ราชวิทยาลัย
                      วิทยาเขตเชียงใหม่


            โดยได้รับความเห็นชอบจาก



……………………………………………..อาจารย์พี่เลี้ยง
      (อ. ธีรพจน์ สมบูรณ์ ศิลป์ )
ชื่องานวิจัย             การศึกษาพฤติกรรมเรื่ องการไม่ส่งงาน/การบ้านวิชาฟิ สิ กส์ของนักเรี ยนชั้น
                         มัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 โรงเรี ยนบาลีสาธิตศึกษา จังหวัดเชียงใหม่
ชื่ อผู้วจัย
         ิ               นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา
ชื่ออาจารย์พเี่ ลียง
                  ้      ครู ธีรพจน์ สมบูรณ์ศิลป์

บทคัดย่อ

           การศึกษาวิจยครั้งนี้ มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษา
                      ั            ั
ปี ที่ 4/1 และ 4/2 โรงเรี ยนบาลีสาธิตศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ ผูวจยได้จดทาแบบสอบถามเพื่อศึกษา
                                                              ้ิั ั
สาเหตุของการไม่ส่งงาน/การบ้านวิชาฟิ สิ กส์ของนักเรี ยนจานวน 15 ข้อ โดยให้นกเรี ยนเรี ยงลาดับ
                                                                                 ั
สาเหตุการไม่ส่งงาน/การบ้านวิชาฟิ สิ กส์ ตามลาดับที่มากที่สุดจนถึงน้อยที่สุดจากลาดับ 1 – 15 และ
ได้ทาการนาผลของแต่ละสาเหตุ มาหาค่า ร้อยละ แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์และหาข้อสรุ ปพร้อมทั้ง
นาเสนอในรู ปของตารางประกอบคาบรรยาย เพื่อศึกษาพฤติกรรมชองนักเรี ยนในเรื่ องการไม่ส่งงาน/
การบ้านวิชาฟิ สิ กส์ ผลการศึกษาปรากฏว่า จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบสอบถามเพื่อศึกษา
พฤติกรรมเรื่ องการไม่ส่งงาน/การบ้านวิชาฟิ สิ กส์ ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 แสดง
ให้เห็นว่า สาเหตุของการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิ สิ กส์ ลาดับที่ 1 คือ การให้การบ้านมากเกินไป และครู
อธิ บายเร็ วเกินไป โดยคิดจากนักเรี ยน 29 คน ที่เลือกเป็ นสาเหตุอนดับที่ 1 จานวน 12 คน คิดเป็ น
                                                                  ั
ร้อยละ 41.37
บทที่ 1
ความสาคัญและทีมา    ่
          การเรี ยนการสอนในปั จจุบนจะแบ่งคะแนนออกเป็ นสองส่ วน คื อ คะแนนเก็บก่ อนสอบ
                                            ั
ปลายภาค ซึ่ งคิดเป็ น 80 เปอร์ เซ็นต์ของคะแนนทั้งหมด โดยใน 80 เปอร์ เซ็นต์น้ นผูวิจยได้เก็บ  ั ้ ั
คะแนนโดยการสอบเป็ นรายจุ ด ประสงค์และการส่ ง งานของนัก เรี ย น ดัง นั้นการท าใบงานและ
การบ้านส่ งครู ของนักเรี ยนจึงเป็ นเรื่ องที่สาคัญมากในการเรี ยนการสอนเพราะนอกจากจะมีคะแนนใน
ส่ วนของใบงานและการบ้านแล้ว ยังมีผลต่อการเรี ยนในคาบถัดไปด้วย เนื่ องจากใบงานจะเป็ นการ
ประเมินความรู ้ความเข้าใจในบทเรี ยนของนักเรี ยนว่ามีมากน้อยเพียงใดอีกทั้งยังเป็ นการวัดพฤติกรรม
ความรับผิดชอบของนักเรี ยนได้อีกทางหนึ่ ง ถ้าหากนักเรี ยนไม่ได้ทาใบงานที่ครู แจกให้นกเรี ยนก็จะ ั
ขาดคะแนนเก็บในส่ วนนั้นและครู ก็ไม่สามารถประเมินความรู ้ความเข้าใจของนักเรี ยนได้
          ในช่ ว งแรกของการสอน ครู ได้ ใ ช้ ใ บงานและใบความรู ้ แ จกให้ ก ับ นั ก เรี ยนทุ ก คน
ประกอบการสอนในแต่ละชัวโมง โดยที่ใบงานและใบความรู ้ ที่แจกให้นกเรี ยนเก็บเป็ นของตนเอง
                                  ่                                               ั
แต่ใบงานบางเรื่ องต้องนามาเรี ยนต่อในคาบต่อไป ซึ่ งเมื่อถึงชัวโมงเรี ยนในชัวโมงต่อไปแล้วนักเรี ยน
                                                                     ่              ่
ไม่ได้นามา เมื่อครู ถามถึงสาเหตุ นักเรี ยนตอบว่า อยู่บาน ลืมเอามา หรื อทาหายไปแล้วก็มี ครู จึง
                                                             ้
บอกให้ นัก เรี ย นที่ ไ ม่ ไ ด้นาใบงานมาในชั่ว โมงนี้ นามาให้ค รู ดูใ นชั่ว โมงถัดไป ซึ ง ปรากฏว่า มี
นักเรี ยนเพียงไม่กี่คนที่นาใบงานมาให้ครู ดู เมื่อทาการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนผ่านไปช่วงหนึ่ ง
ครู สังเกตได้วานักเรี ยนที่ไม่ทางานส่ งนั้นมีค่อนข้างมาก อาจเป็ นเพราะการจัดกิจกรรมการเรี ยนการ
                 ่
สอนในช่วงแรกครู ให้นกเรี ยนทางานทุกครั้งและให้ทาการบ้านเก็บเป็ นคะแนนเก็บทุกครั้งนักเรี ยนที่
                             ั
ขาดเรี ยนในคาบใดคาบหนึ่ งไปก็มกจะตามเพื่อนไม่ทนแล้วก็นาไปสู่ การไม่ส่งการบ้านในที่สุดหรื อ
                                        ั               ั
นักเรี ยนบางคนมาโรงเรี ยนแต่ไม่เคยทางานส่ งเลย ซึ่ งสังเกตได้จากสมุดส่ งงานของนักเรี ยน ครู จึงตั้ง
ข้อสังเกตได้วาใบงานใดที่แจกให้นกเรี ยนทาแล้วส่ งท้ายชัวโมง จานวนนักเรี ยนที่ส่งงานในครั้งนั้นก็
               ่                          ั                    ่
จะมี ม าก แต่ ห ากให้ เ ป็ นการบ้า นก็ จ ะมี นั ก เรี ยนที่ ไ ม่ ส่ ง งานหรื อส่ ง งานไม่ ต รงตามก าหนด
ค่อนข้างมาก
          จากการที่ ผู้ส อนได้ส อนในรายวิ ช า ว 31202 (วิ ช าฟิ สิ ก ส์ ) ของนัก เรี ย นในระดับ ชั้ น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4 พบว่านักเรี ยนส่ วนใหญ่มกจะส่ งงาน / การบ้านไม่ตรงเวลาที่ครู ผสอนกาหนด หรื อ
                                                 ั                                        ู้
บางคนก็ ไ ม่ ส่ ง งานหรื อการบ้ า นเลย ซึ่ งท าให้ ค รู ผู ้ส อนไม่ ส ามารถวัด ความรู ้ หรื อติ ด ตาม
ความก้าวหน้าของนักเรี ยนได้ ซึ่ งในบางรายวิชาอาจมีผลต่อคะแนนเก็บของนักเรี ยนด้วย ดังนั้นผูวิจย       ้ ั
ซึ่ งในฐานะที่เป็ นทั้งครู ผสอนและครู ประจาวิชาเห็นความสาคัญของปั ญหาดังกล่าว จึงได้ ทาการวิจย
                               ู้                                                                        ั
เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ เพื่อนามาเป็ น
ข้อมูลในการแก้ปัญหาของนักเรี ยนในเรื่ องการไม่ส่งงาน / การบ้านต่อไป
สมมติฐานการวิจัย
           จัด ท าแบบสอบถามเพื่ อ ศึ ก ษาพฤติ ก รรมเรื่ อ งการไม่ ส่ ง งาน/การบ้า นของนัก เรี ย นชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิตศึกษา จังหวัดเชี ยงใหม่ เพื่อนาผลจากการ
วิจยมาเก็บเป็ นข้อมูลเพื่อนาไปแก้ไขปั ญหาในการไม่ส่งงาน / การบ้าน
    ั
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
           1. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้าน ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ
                  4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิ ตศึกษา จังหวัดเชียงใหม่
           2. เพือรวบรวมข้อมูลสาหรับการแก้ปัญหาการไม่ส่งงาน / การบ้านของนักเรี ยน
                    ่
ประโยชน์ ทคาดว่าจะได้ รับ
               ี่
           1. ทราบถึ ง พฤติ ก รรมและสาเหตุ ข องการไม่ ส่ ง งาน/การบ้า นของนัก เรี ย นระดับ ชั้น
                  มัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิ ตศึกษา จังหวัดเชี ยงใหม่ ได้
                  แนวทางใน การแก้ปัญหาการเรี ยนการสอน
ตัวแปรทีศึกษา
           ่
           1. แบบสอบถามเพื่ อ ศึ ก ษาพฤติ ก รรมเรื่ องการไม่ ส่ ง งาน/การบ้า นของนั ก เรี ยนชั้ น
                  มัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิตศึกษา จังหวัดเชียงใหม่
           2. ระดับคะแนนเฉลี่ยของแบบสอบถาม
นิยามศัพท์เฉพาะ
           1. การบ้ าน หมายถึง งานหรื อกิจกรรมที่ครู มอบหมายให้นกเรี ยนได้ทานอกเวลาเรี ยนเพื่อ
                                                                              ั
เป็ นการฝึ กทักษะค้นคว้าหาความรู ้เพิ่มเติมและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
           2. งาน หมายถึง แบบฝึ กหัดที่ครู ให้ในชัวโมงเรี ยน แบบฝึ กหัดที่ครู ให้เป็ นการบ้าน ใบ
                                                             ่
งาน รวมถึงการทางานเป็ นกลุ่มและชิ้นงาน
           3. ใบงาน หมายถึง แบบฝึ กหัดที่ครุ ให้ทาในชัวโมงเรี ยนหรื อให้เป็ นการบ้าน
                                                                ่
           4. ใบความรู้ หมายถึง เนื้ อหาในบทเรี ยนแยกเป็ นบท โดยครู มาแจกเมื่อเข้าสู่ เนื้ อหาใน
บทเรี ยนนัน  ้
ขอบเขตของการวิจัย
           ในการศึกษาวิจยครั้งนี้ เป็ นการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมเรื่ องการไม่ส่งงาน /
                                ั
การบ้านของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิ ตศึกษา จังหวัด
เชี ยงใหม่ โดยใช้ขอความที่คาดว่าจะเป็ นสาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้าน จานวน 15 ข้อ และได้
                         ้
กาหนดขอบเขตของการวิจยไว้ดงนี้     ั ั
           1. ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชา
ฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิตศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ จานวนห้องเรี ยน 2 ห้อง จานวน 29 คน
2. แบบสอบถามทีใช้ ในการศึกษา เป็ นเป็ นแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรี ยนใน
                           ่
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 ในเรื่ องการไม่ส่งงาน / การบ้าน วิชาฟิ สิ กส์ จานวน 15 ข้อ
บทที่ 2
                              เอกสารและงานวิจยที่เกียวข้ อง
                                               ั ่

        เพื่อเป็ นพื้นฐานในงานวิจยเรื่ อง การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด
                                      ั
ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิตศึกษา จังหวัดเชียงใหม่
ผูวจยจึงศึกษาเอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้องโดยเสนอตามลาดับหัวข้อดังนี้
  ้ิั                               ั
          1. ความหมายของพฤติกรรม
          2. ความหมายของการบ้าน
          3. แนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการบ้าน
          5. วิธีการเรี ยนที่ดีหรื อพฤติกรรมเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มผลสัมฤทธิ์ ในการเรี ยน
          6. งานวิจยที่เกี่ยวข้อง
                      ั

พฤติกรรม ( Behavior )
         พฤติกรรม หมายถึง ปฏิกิริยาหรื อกิจกรรมทุกชนิ ดของสิ่ งมีชีวตแม้วาจะสังเกตได้หรื อไม่ก็
                                                                         ิ   ่
ตาม เช่ น คน สัตว์ มีนกพฤติกรรมศาสตร์ บางคนได้ให้ความหมายไว้ว่า พฤติกรรมมีความหมาย
                            ั
กว้างขาวงครอบคลุมไปถึงพฤติกรรมของสิ่ งที่ไม่มีชีวิตด้วย เช่น การไหลของน้ า คลื่นของน้ าทะเล
กระแสลมที่พด การปลิวของฝุ่ นละออง การเดือดของน้ า เป็ นต้น สิ่ งที่กล่าวมาเป็ นการเคลื่อนไหว
                ั
ของสิ่ งไม่มีชีวต แต่มีการเปลี่ยนแปลงจากลักษณะหนึ่ งไปยังอีกลักษณะหนึ่ ง เลยถือว่าคล้าย ๆ กับ
                  ิ
เป็ นปฏิกิริยาหรื อเป็ นกิจกรรมที่ปรากฏออกมาจากสิ่ งนั้นจึงนับว่าเป็ นกิจกรรมด้วย
         การศึกษาเรื่ องพฤติกรรมส่ วนใหญ่จะมุ่งศึกษาเฉพาะพฤติกรรมของคนส่ วนพฤติกรรมของ
สัตว์กระทาเป็ นบางครั้ง เพื่อนามาเป็ นส่ วนประกอบให้เข้าใจในพฤติกรรมของคนได้ดียงขึ้น
                                                                                  ิ่

พฤติกรรมภายนอก ( Overt Behavior )
        พฤติกรรมภายนอก หมายถึง ปฏิกิริยาของบุคคลหรื อกิจกรรมของบุคคลที่ปรากฏออกมาให้
บุคคลอื่นได้เห็ น ทั้งทางวาจาและการกระทาท่าทางอื่นๆ ที่ปรากฏออกมาให้เห็นได้ พฤติกรรมที่
ปรากฎออกมาให้เห็ นภายนอกนั้นเป็ นสิ่ งที่ ค นมองเห็ นตลอดเวลา เป็ นปฏิ กิย าที่ ค นเราได้แสดง
ออกมาตลอดเวลาของการมี ชีวิต ถ้าลาดับตั้งแต่ตื่นนอนจนกระทังนอนหลับ จะเห็ นว่าได้แสดง
                                                               ่
พฤติกรรมออกมาตลอดเวลา
        พฤติ ก รรมภายนอกที่ แ สดงออกมามี ค วามส าคัญมาก โดยเฉพาะอย่า งยิ่ง ถ้า สั งคมใดที่
ประเมินคุณภาพของคนว่าเป็ นคนดี มีระเบียบวินย สุ ภาพ ซื่ อสัตย์ ทารุ ณ เป็ นต้น ล้วนแต่ประเมิน
                                             ั
คุ ณภาพของพฤติ ก รรมภายนอกทั้ง สิ น ถ้า ไม่ แ สดงออกมาสั ง คมก็ ไ ม่ ท ราบว่า บุ ค คลนั้นเป็ นคน
อย่างไร
           พฤติ กรรมที่ ค นแสดงออกมาให้เห็ นภายนอกจึ ง นับว่า เป็ นองค์ประกอบที่ ส าคัญเกี่ ย วกับ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคม สังคมชอบตัดสิ นคนด้วยพฤติกรรมภายนอก ดังนั้นพฤติกรรม
ที่เราเห็ นได้ทราบอาจไม่ใช่พฤติกรรมที่แท้จริ งของเขา และไม่ใช่ตวตนที่แท้จริ ง คือการกระทาไม่
                                                                   ั
ตรงกับความคิดความรู ้ สึก บางคนอาจสวมหน้ากากเข้าหากัน หรื อแสดงไปตามบทบาทที่เขาเป็ น
                           ่
บางครั้งจึงกาหนดไม่ได้วาเป็ นเรื่ องจริ ง เพราะไม่ได้สะท้อนความเป็ นจริ งออกมาทั้งหมด

พฤติกรรมภายใน ( Covert Behavior )
          พฤติกรรมภายใน             หมายถึง กิ จกรรมภายในที่เกิ ดขึ้นในตัวบุคคล ซึ่ งสมองทาหน้าที่
รวบรวม สะสมและสั่ ง การ ซึ่ งเป็ นผลจากการกระท าของระบบประสาทและกระบวนการ
เปลี่ ย นแปลงทางด้า นชี วเคมี ข องร่ า งกาย พฤติ ก รรมภายในมี ท้ ัง รู ป ธรรมและนามธรรม ที่ เป็ น
รู ปธรรมคนอื่นจะสังเกตเห็นไม่ได้แต่จะใช้เครื่ องมือทางการแพทย์ทดสอบได้ สัมผัสได้ เช่น การ
เต้นของหัวใจการหดและการขยายตัว ของกล้ามเนื้ อ การบี บของลาไส้ การสู บฉี ดโลหิ ตไปเลี้ ย ง
                                                                                                 ่
ร่ างกาย เป็ นต้น ที่เป็ นนามธรรมได้แก่ ความคิด ความรู ้สึก เจตคติ ความเชื่ อ ค่านิ ยม ซึ่ งจะอยูใน
สมองของคน บุคคลภายนอกไม่สามรถจะมองเห็นได้ หรื อสัมผัสได้เพราะไม่มีตวตน และจะทราบ    ั
ว่าเขาคิดอย่างไรก็ต่อเมื่อเขาแสดงออกมา เช่ น การแสดงอาฆาตมาดร้ าย ใช้คาพูดข่มขู่หรื อระทา
                                                              ่
ดังที่คิดไว้ พฤติกรรมภายในจะมีเหมือนกันหมดทุกวัยไม่วาเด็กหรื อผูใหญ่ เพศชาย เพศหญิง หรื อ
                                                                         ้
                                           ่
ต่างเชื้อชาติ ส่ วนที่จะแตกต่างกันจะอยูที่จานวน ปริ มาณหรื อคุณภาพเท่านั้น
          พฤติกรรมภายในมีความสาคัญต่อคน เป็ นคุณสมบัติที่ทาให้คนเหนื อกว่าสัตว์ คนมีแนวคิด
ที่ มี ระบบและคาดการณ์ ใ นสิ่ ง ต่า งๆ ในอนาคตได้ พฤติ กรรมภายในของคนมี ความสั มพันธ์ ก ับ
พฤติกรรมภายนอกที่แสดงออกมา บางสถานการณ์ก็ไม่อาจสอดคล้องกันได้ เช่น บางครั้งไม่พอใจ
ในการกระทาของผูอื่นก็อาจจะทาเฉยเพราะไม่กล้าต่อว่าหรื ทาร้ ายเขา เพราะถ้ากระทาอะไรลงไป
                       ้
อาจทาให้เกิดการทะเลาะวิวาทกันขึ้นได้
          มนุษย์จะแสดงพฤติกรรมภายในและพฤติกรรมภายนอกตั้งแต่เกดจนตาย พฤติกรรมที่แสดง
ออกมาอาจเป็ นผลสื บเนื่ องมาจากการเลี้ยงดูและอบรมจากครอบครัวหรื อในทางตรงกันข้ามอาจสื บ
เนื่องมาจากการขาดการเลี้ยงดูและอบรมจากครอบครัวหรื อในทางตรงกันข้ามอาจสื บเนื่ องมาจากการ
ขาดการเลี้ยงดูอบรมจากครอบครัว จึงทาให้มีปัญหาอยูมาก      ่
          ในแต่ ล ะช่ ว งของชี วิ ต จะมี พ ฒ นาการปรั บ เปลี่ ย นหรื อ เปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรมไปบ้า ง
                                             ั
โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องปรับพฤติกรรมให้เข้ากับขนบธรรมเนี ยมประเพณี และวัฒนธรรมของชุ มชน
นั้นๆ รวมทั้งการเปลี่ ยนแปลงของสังคมในทุกๆด้าน เมื่อขนบธรรมเนี ยมประเพณี เป็ นตัวกาหนด
พฤติกรรมของคนจึงทาให้ตนเปลี่ยนพฤติกรรมได้ยาก เช่น บางชุ มชนมีพฤติกรรมการรับประทาน
อาหารสุ ก ๆ ดิบๆ เป็ นต้น

ความหมายของการบ้ าน
            กู๊ด ( Good , 1973 : 224 ) กล่าวว่า การบ้าน หมายถึง งานที่ครู มอบหมายให้นกเรี ยน       ั
กลับไปทาที่บาน เพื่อทบทวนความรู ้ที่เรี ยนไปแล้ว และเป็ นการฝึ กทักษะ การใช้กฎ หรื อสู ตรต่างๆ
                   ้
ที่เรี ยนไปแล้ว
                                                                       ่
            ไพโรจน์ โตเทศ ( 2529 : 9 - 12 ) กล่าวถึงการบ้านไว้วา การบ้านเป็ นงานที่ครู ผสอน          ู้
มอบหมายหันกเรี ยนไปทาที่บาน เพื่อเป็ นการทบทวนความรู้ที่นกเรี ยนได้เรี ยนไปแล้วจากโรงเรี ยน
                     ั            ้                                ั
ประการหนึ่ง อีกประหนึ่ง เป็ นการให้งานที่มุ่งวางพื้นฐานในการเรี ยนต่อไป เพื่อความเข้าใจตรงกัน
หรื อความง่ายต่อการสอนในเนื้อหาวิชาต่อไป
            จินตนา ใบกาซู ยี ( 2531 : 40 ) กล่าวถึ งการบ้านไว้ว่า หมายถึง สิ่ งจาเป็ นที่เด็กทุกชั้น
จะต้องปฏิ บติ ทาให้เด็กรู ้ จกวินัย รู ้ จกควบคุ มตนเอง มีความรั บผิดชอบต่อตนเอง แบ่งเวลาเป็ น
                 ั              ั         ั
และรู้จกเรี ยนด้วยตนเอง
          ั
            จันทนา คุ ณกิ ตติ ( 2532 : 14 ) กล่าวถึงการบ้านไว้ว่า หมายถึง งานหรื อกิ จกรรมที่ครู
มอบหมายหันักเรี ยนท านอกเวลาเรี ย นปกติ ตามข้อกาหนดที่ ตกลงร่ วมกันระหว่างครู กบ นักเรี ย น   ั
เพื่อให้นกเรี ยนได้คิด ค้นคว้า ทบทวนความรู ้ ที่เรี ยนไปแล้ว เพื่อฝึ กทักษะหรื อเตียมสู่ ทเรี ยนใหม่
            ั
ตลอดจนเพื่อส่ งเสริ มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยน
            ยอว์นี ( Yvonne ) กล่าวถึ งการบ้านไว้ว่า หมายถึ ง งานที่มอบหมายให้นกเรี ยนทานอก ั
เวลาเรี ยน Yvonne . 1984 . Developing Homework Policies.                   ( ออนไลน์ ) สื บค้นได้จาก :
www. Eg.gov./databases/ERIC Digests/ed256473.html [20 พฤศจิการยน 2544 ]
                                                   ่
            บัทเลอร์ ( Butler ) กล่าวถึงการบ้านไว้วา หมายถึง การให้นกเรี ยนใช้เวลานอกชั้นเรี ยนใน
                                                                         ั
การทากรรมกิจกรรมจากแบบฝึ กหัด เป็ นการเสริ มแรงหรื อประยุกต์ทกษะหรื อความรู ้ใหม่และเรี ยนรู ้
                                                                     ั
ทักษะขั้นพื้นฐานด้วยตนเองอย่างอิสระ Butler. 1987. Homework.                      ( ออนไลน์) สื บค้นได้
จาก : www.bigchalk.com [ 5 กุมภาพันธ์ 2541 ]
                                                                 ่
            กระทรวงศึกษาธิการ ( 2539 : 2 ) กล่าวถึงการบ้านไว้วา การบ้าน หมายถึง กิจกรรมที่ครู
มอบหมายให้นกเรี ยนทานอกเวลาเรี ยน ตามข้อกาหนดที่ตกลงร่ วมกันระหว่างครู กบนักเรี ยนหรื อ
                       ั                                                                  ั
อาจเป็ นกิจกรรมที่นกเรี ยนคิดขึ้นเองโดยความเห็นชอบของครู
                         ั
                                              ่
            จากความหมายข้างต้น พอสรุ ปได้วา การบ้านหมายถึง งานหรื อกิจกรรมที่ครู มอบหมายให้
นัก เรี ย นได้ท านอกเวลาเรี ย นเพื่ อเป็ นการฝึ กทัก ษะ คันคว้า หาความรู ้ เพิ่ ม เติ ม และใช้ว่า งให้เกิ ด
ประโยชน์
แนวคิดทฤษฏีทเี่ กี่ยวข้ องกับการบ้ าน
       วัตถุประสงค์ ของการบ้ าน
       สแตรง ( Strang , 1960 อ้างถึงใน สุ ขดี ตั้งทรงสวัสดิ์. 2533 : 9 ) กล่าวถึงวัตถุประสงค์
ของการมอบหมายการบ้านไว้ดงนี้    ั
       1. เพื่อช่วยกระตุนให้นกเรี ยนมีความพยายาม ความคิดริ เริ่ ม ความเป็ นอิสระ มีโอกาสใช้
                            ้     ั
ความคิดของตนเอง
       2. ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนใช้เวลาว่างจากการเรี ยนในโรงเรี ยนให้เป็ นประโยชน์
                          ั
       3. เพื่อเพิมพูนประสบการณ์ที่ได้รับจากโรงเรี ยนโดยทากิจกรรม
                   ่
       4. สนับสนุนการเรี ยนรู้โดยมีการเตรี ยมตัวฝึ กปฏิบติ
                                                         ั

        กระทรวงศึกษาธิการ ( 2539 : 3 ) ได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการบ้านไว้ดงนี้
                                                                               ั
        1. เพื่อเพิ่มทักษะและประสบการณ์จากสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้มาแล้ว
        2. เพื่อให้รู้จกศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
                        ั
        3. เพื่อให้รู้จกตนเองเกี่ยวกับความถนัด ความสามารถ ความสนใจและข้อบกพร่ องในการ
                          ั
        เรี ยนวิชานั้น ๆ
        4. เพื่อให้เกิดความเชื่ อมันในสิ่ งที่เรี ยนรู ้และทาให้กล้าตัดสิ นใจ
                                   ่
        5. เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
        6. เพื่อให้มีวนยรักการทางาน มีความรับผิดชอบและรู ้จกใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
                            ิ ั                                       ั
        7. เพื่อปลูกฝังคุณธรรม รู ้จกเสี ยสละ ช่วยเหลือสังคมและทางานเป็ นหมู่คณะได้
                                     ั
        8. เพื่อให้ครู และผูปกครองสามารถสนับสนุน และช่วยเหลือในข้อบกพร่ องต่างๆ ของ
                                ้
        นักเรี ยนที่เกิดจากการเรี ยนการสอนได้

      บัทเลอร์ ( Butler ) ได้ให้วตถุประสงค์ของการบ้านไว้ Butler. 1987 .
                                 ั
Homework. ( ออนไลน์ ) สื บค้นได้จาก : www.bigchalk.com             [ 5 กุมภาพันธ์ 2545]
      1. การบ้านควรจะเป็ นการเสริ มทักษะที่ถูกแนะนาในห้องเรี ยน
      2. เพื่อบรรลุผลในความเชี่ ยวชาญต่อบทเรี ยนพื้นฐาน เช่น กฎทางคณิ ตศาสตร์ เป็ นต้น
      3. สนับสนุนให้เลือกหัวข้อที่จะศึกษาได้อย่างอิสระ
      4. ให้โอกาสในการทากิจกรรมที่มีคุณค่าอย่างอิสระ
      5. สนับสนุนให้ใช้เวลาอย่างฉลาดและเป็ นระเบียบ
ประเภทของการบ้ าน
       สาอาง สีหาพงษ์ ( 2531 : 43 - 47) แบ่งการบ้ านออกเป็ น 3 ประเภท คือ
       1. ภาคความรู้ คือ การบ้ านที่เป็ นเรื่ องทักษะ ความรู้ ความคิด เช่น การศึกษาค้ นคว้ า
ทารายงาน การหาข่าว ทาแบบฝึ กหัด การตอบคาถาม การเติมคา การอ่านหนังสือเพิ่มเติม
       2. ภาคปฏิบติ คือ การบ้ านที่ทาด้ วยมือเพื่อก่อให้ เกิดความชานาญและประสบการณ์
                    ั
เช่น การทากระบวยตักน ้า การจัดนิทรรศการ การตอนกิ่งไม้ การทดลองต่างๆ เป็ นต้ น
       3. ประเภทให้ ประโยชน์สาธารณะ เช่น การช่วยงานโรงเรี ยน การเข้ าร่วมกิจกรรมชุมนุม
และการเข้ าร่วมกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ เป็ นต้ น

กระทรวงศึกษาธิการ ( 2539 : 4 ) ได้แบ่งประเภทของการบ้านไว้ดงนี้ ั
         1. ประเภทเสริ มความรู ้ เช่น การศึกษาค้นคว้า การศึกษานอกสถานที่ การทารายงาน และ
การทาแบบฝึ กหัด เป็ นต้น
         2. ประเภทเสริ มการปฏิบติ เช่น การทาชิ้นงาน การฝึ กงาน การจัดนิทรรศการ และการ
                                   ั
จัดป้ ายนิเทศ เป็ นต้น
         3. ประเภทให้ประโยชน์สาธารณะ เช่น การช่วยงานโรงเรี ยน การเข้าร่ วมกิจกรรมชุมชน
และการเข้าร่ วมกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ เป็ นต้น

         ซัลลิแวน และซี คิวรา ( Sullivan and sequeira ) ได้เสนอรู ปแบบการบ้านไว้ 4 ประเภท
ดังนี้ Sullivan and sequeira. 1996. Homework tips for Teacher. [ 5 กุมภาพันธ์ 2545 ]
         1. ประเภทแบบฝึ กหัด ( Practice ) เป็ นการท าซ้ า และเป็ นการฝึ กฝนซึ่ งจะเป็ นการ
เสริ มแรงให้กบการเรี ยนรู ้ต่อเนื้อหาวิชา ตลอดจนเป็ นการเพิมความเร็ วและความเชี่ ยวชาญของทักษะ
               ั                                           ่
เฉพาะด้าน
         2. ประเภทเตรี ยมความพร้อม ( Preparation ) มีผลการเรี ยนรู้ของการทางานและกระตุน       ้
ให้นกเรี ยนรวบรวมข้อมูลของบทเรี ยน ซึ่งเขาจาเป็ นจะต้องเตรี ยมพร้อมในชั้นเรี ยนต่อไป
      ั
         3. ประเภทเสริ มบทเรี ยน ( Extension ) อนุญาตให้นกเรี ยนได้ขยายความรู ้ที่มีต่อเนื้ อหา
                                                               ั
หรื อประยุกต์ทกษะการเรี ยนในการทางานใหม่
                 ั
         4. งานประดิษฐ์ ( Creative ) อนุญาตใหันกเรี ยนรวมกลุ่มเพื่อสร้างความคิดดั้งเดิมหรื อคิด
                                                     ั
งานใหม่
ลักษณะของการบ้ าน
        การบ้านเป็ นส่ วนหนึ่ งของกิ จกรรมการเรี ย นการสอน ซึ่ งจะมี อิท ธิ พ ลต่อการเรี ยนรู ้ และ
ทัศนคติ ของผูเ้ รี ย นเป็ นอย่างยิ่ง ดังนั้น จึ ง เป็ นหน้าที่ ข องครู ในการจัดการบ้า นที่ ดีใ ห้แก่ นักเรี ย น
กระทรวงศึกษาธิการ ( 2539 : 5 – 6 ) ได้กล่าวถึงคุณลักษณะที่ดีของการบ้านไว้ดงนี้         ั
        1. ตรงตามหลักการ จุดหมาย และจุดประสงค์ของหลักสู ตร
        2. สัมพันธ์และสอดคล้องกับจุดประสงค์รายวิชา และแผนการเรี ยนการสอน
        3. ชัดเจน ไม่มากและยากเกินไป สอดคล้องกับสภาพชีวิตและความเป็ นอยูของนักเรี ยน       ่
        4. ยัวยุและท้าทายความถนัด ความสามารถ และความสนใจของนักเรี ยน
             ่
        5. ส่ งเสริ มและพัฒนาการ ด้านความรู ้ ทักษะ และประสบการณ์ของนักเรี ยน
        6. ใช้เวลาพอเหมาะกับวัยและความสามารถของนักเรี ยน

           หลักการสาคัญในการมอบหมายการบ้ าน
           ฟิ ลิป และแดเนียล ( Philip and Daniel, 1972 : 55 - 57 ) ได้เสนอหลักการมอบหมายกา
ร้านไว้ดงนี้
         ั
           1. ควรให้การบ้านเป็ นประจา ไม่ใช่ให้บางครั้งบางคราว และควรกาหนดส่ งตามเวลา
           2. ควรให้เหมาะสมกับความแตกต่างระหว่างบุคคลวัตถุประสงค์ของหลักสู ตรและ
จุดมุ่งหมายของครู นักเรี ยนเก่งควรให้การบ้านประเภทศึกษาสารานุกรม แล้วนามาสนทนาใน
ห้องเรี ยน นักเรี ยนอ่อนควรให้การบ้านที่เป็ นการฝึ กฝนและเพิมพูนเนื้อหาความรู ้ในบทเรี ยน
                                                               ่
           3. ควรให้การบ้านที่ส่งเสริ มสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบ้านกับโรงเรี ยน
           4. ไม่ควรเป็ นงานซับซ้อนหรื อเป็ นงานที่ครู ยดเยียดให้นกเรี ยน เพราะอาจจะทาในสิ่ งที่ตน
                                                        ั         ั
ไม่เข้าใจ ซึ่ งมีผลเสี ยอย่างมากสาหรับนักเรี ยนที่อ่อน

      อ้อม ประนอม ( 2529 อ้างถึงใน สุ ขดี ตั้งทรงสวัสดิ์ , 2533 : 13 ) ได้เสนอหลักการใน
การมอบหมายการบ้านดังนี้
      1. ครู ให้การบ้านเมื่อนักเรี ยนเข้าใจบทเรี ยนดีแล้ว
      2. แบบฝึ กหัดที่ให้การบ้านนั้น ควรมีความยากง่ายเหมาะสมกับความสามารถของนักเรี ยน
และเหมาะสมกับเวลาที่ทา
      3. การบ้านต้องให้สม่าเสมอและติดตามผอย่างใกล้ชิด
      4. ครู ควรมีสมุดบันทึกการบ้านเป็ นการตระเตรี ยมบทเรี ยนที่จะให้การบ้านที่เหมาะสมยิงขึ้น
                                                                                        ่

       หลักในการให้การบ้านได้ประมวลจากแนวคิดของนักการศึกษาหลายท่านที่มีความ
สอดคล้องกัน กรทรวงศึกษาธิ การ ( 2539 : 6 ) สรุ ปได้ดงนี้
                                                    ั
1. ต้องจัดให้สัมพันธ์สอดคล้องกับราบวิชา กลุ่มวิชา และแผนการเรี ยนการสอน
         2. ต้องเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้ศึกษาค้นคว้าและแสวงหาความรู้ดวยตนเอง
                                ั                                       ้
         3. ต้องจัดให้สอดคล้องกับความแตกต่างของนักเรี ยนแต่ละคน มีความยากง่ายและปริ มาณ
พอเหมาะกับความสามารถและเวลาของนักเรี ยน
         4. ต้องไม่เพิ่มภาระให้ผปกครองมากเกินไป
                                  ู้
         5. ต้องเป็ นการสร้างความร่ วมมือและความเข้าใจอันดีระหว่างโรงเรี ยนกับบ้าน
         6. ต้องสอดคล้องกับสภาพการดาเนินชีวิตของนักเรี ยนและชุมชน
         7. ควรสอนความสามารถเบื้องต้นที่เด็กจาเป็ นต้องใช้ในการทาการบ้าน เพราะเมื่อนักเรี ยน
ทาการบ้านถูกจะก่อให้เกิดความชื่นชมตนเอง ครู จึงควรให้การบ้านที่ช่วยให้กาลังใจแก่นกเรี ยน
                                                                                    ั
มากกว่าเป็ นการฉุ ดรั้งให้เกิดความล้มเหลวในการเรี ยน
         8. ควรให้อย่างสม่าเสมอ ให้แต่นอยๆ และบ่อยๆ อย่างต่อเนื่อง การทาทุกครั้งให้เด็ก
                                            ้
ประสบความสาเร็ จเสมอ คือทาแล้วได้เครื่ องหมายถูกมากกว่าผิด เพราะถือว่าการฝึ กฝนในปริ มาณที่
      ั
พอดีกบเวลาก่อให้เกิดผลดี การฝึ กมากเกินไปจะให้ผลเสี ยมากกว่า เพราะจะทาให้นกเรี ยนเบื่อหน่าย
                                                                               ั
หลีกเลี่ยง หรื อทาแบบขอไปที
         9. ให้การบ้านหลายๆ แบบ เพราะคนเราชอบความแปลกใหม่ จึงไม่ควรให้การบ้าน
ลักษณะเดียวกันตลอดปี
         10. เมื่อให้การบ้านแล้วครู ตองกาหนดวันส่ ง พร้อมทั้งจะต้องตรวจการบ้านและติดตามผล
                                     ้
อย่างใกล้ชิดว่านักเรี ยนยังบกพร่ องในเรื่ องใด ตรงไหนควรช่วยเหลือเป็ นรายบุคคลหรื อช่วยเป็ นกลุ่ม

       ประโยชน์ ของการบ้ าน
การบ้านมีประโยชน์หลายประการดังนี้คือ ( กระทรวงศึกษาธิ การ , 2539 : 9 )
       ก. ต่อนักเรี ยน
       1. ได้พฒนาแนวคิดอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ
                ั
       2. ได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ซึ่งเป็ นปั จจัยสาคัญที่ช่วยให้เด็กเชื่ อมันในความสามารถของ
                                                                              ่
ตนเอง ปลูกนิสัยให้รักเด็กและพยายามค้นคว้าหาความรู ้ และความก้าวหน้ามาสู่ ตนเอง
       3. ได้สารวจและพัฒนาตนเองในด้านความรู้ ความถนัด ความสามารถ และความสนใจ
                                                                 ั
       4. ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ ซึ่ งเป็ นการสร้างนิสัยที่ดีให้กบนักเรี ยน
       5. ปลูกฝังความมีระเบียบ ความรับผิดชอบและความเสี ยสละ รู ้จกแบ่งเวลาเพื่อพัฒนา
                                                                           ั
           ่
ตนเอง รู ้วาเวลาไหนควรทาอะไร ลาดับกิจกรรมก่อนหลัง วางแผนงานเป็ นไปในแต่ละวัน
       ข. ต่อผูปกครอง
                  ้
       1. ลดความวิตกกังวลในเรื่ องความประพฤติของบุตรหลาน
       2. ทราบพัฒนาการและข้อบกพร่ องทางการเรี ยนของบุตรหลาน
3. เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผูปกครอง ครู และนักเรี ยน
                                             ้
            ค. ต่อครู ผสอนู้
            1. ช่วยเสริ มให้แผนการสอนของครู เป็ นระบบและครบถ้วน
            2. เป็ นเครื่ องมือช่วยจาแนกความแตกต่างของนักเรี ยนเพื่อกาหนดวิธีสอนให้เหมาะสมกับ
นักเรี ยน
          3. ทราบผลการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนได้อย่างต่อเนื่ อง
          ข้ อควรคานึงในการมอบหมายการบ้ าน
          กระทรวงศึกษาธิการ ( 2539 : 13 ) ได้กล่าวว่า ในการมอบหมายการบ้าน อาจจะประสบ
ปั ญหาต่างๆ เช่น ขาดการประสานงานระหว่างครู การบ้านยาก มากหรื อน้อยเกินไป นักเรี ยนเกิด
ความวิตกกังวล เบื่อหน่ายการเรี ยนและหนีเรี ยน ทาให้ผปกครองเดือดร้อน และขาดแหล่งศึกษา
                                                            ู้
ค้นคว้า เป็ นต้น เพื่อไม่ให้เกิดปั ญหาดังกล่าว ในการมอบหมายการบ้าน โรงเรี ยนและครู ควร
คานึงถึงแนวปฏิบติดงต่อไปนี้
                   ั ั
          1. ควรหลีกเลี่ยงการใช้การบ้านเป็ นเครื่ องมือแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน
          2. ควรกาหนดปริ มาณ ความยากง่ายให้พอเหมาะกับสภาพและพ้นฐานของนักเรี ยนโดย
ไม่จาเป็ นต้องให้เท่ากันทุกคนและต้องชัดเจน
          3. ควรหลีกเลี่ยงการใช้การบ้านเป็ นเครื่ องมือในการแก้ปัญหากาสอนไม่จบหลักสู ตร
          4. ควรอานวยความสะดวกและเตรี ยมการล่วงหน้าสาหรับการบ้านที่ตองใช้วสดุอุปกรณ์
                                                                           ้   ั
          5. ควรจูงใจให้นกเรี ยนเห็นประโยชน์และคุณค่าของกาบ้าน
                           ั
          6. ควรสร้างเสริ มการบ้านให้มีลกษณะยัวยุ และท้าท้ายความถนัดความสามารถและความ
                                           ั       ่
สนใจของนักเรี ยน
          7. ควรมอบหมายการบ้านหลายรู ปแบบและไม่ซ้ าซาก
          8. ควรเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้มีส่วนร่ วมในการทาการบ้าน
                                 ั
          9. ควรหลีกเลี่ยงการใช้การบ้านเป็ นเครื่ องมือในการลงโทษนักเรี ยน

        ทัศนีย ์ ศุภเมธี ( 2532 : 113 ) กล่าวว่า การให้แบบฝึ กหัดหอการให้ทาการบ้านเป็ น
กิจกรรมการเรี ยนรู ้ดวยตนเองของนักเรี ยน ผลงานจากาทาแบบฝึ กหัดจะบอกให้ครู ทราบว่านักเรี ยน
                     ้
เข้าใจบทเรี ยนที่เยนไปหรื อไม่ ถ้านักเรี ยนทาแบบฝึ กหัดหรื อการบ้านไม่ค่อยได้ ก็แสดงให้เห็นว่า
ครู ตองสอนซ่อมเสริ มหรื ออาจจะต้องทบทวนบทเรี ยนใหม่
     ้
        ข้ อเสนอแนะในการให้ ทาแบบฝึ กหัดหรือการให้ ทาการบ้ าน
        1. ควรจะให้ทนทีหลังจากสอนจบบทเรี ยน
                        ั
        2. ควรให้ในปริ มาณพอสมควรและเหมาะสมกับความสามารถของนักเรี ยน
        3. ครู ควรจะร่ วมมือกับผูปกรองในการเอาใจใส่ ดูแลการทาการบ้านของนักเรี ยน
                                  ้
4. การให้การบ้านหรื อแบบฝึ กหัดแต่ละครั้งครู ตองแน่ใจว่านักเรี ยนเข้าใจคาสั่งในงานที่
                                                      ้
ได้รับมอบหมาย
        5. ให้นกเรี ยนเข้าใจจุดหมายและปะโยชน์ของการทาแบบฝึ กหัดและการบ้าน
               ั
        6. การให้การบ้านของครู ไม่ควรเน้นที่งานหนังสื ออย่างเดียว ครู ควรให้การบ้านที่นกเรี ยน
                                                                                         ั
จะลงปฏิบติดวยตนเองด้วย เช่น ให้ตดเล็บให้ส้ ันทุกวันศุกร์ ปลูกต้นไม้กระถาง ให้ใส่ ปุ๋ยต้นไม้
          ั ้                       ั
7 วันต่อครั้ง

         คูเปอร์ ( Cooper ) ได้ศึกษาถึงข้อควรคานึงในการให้การบ้านดังนี้ Cooper.1999.
Homewort : Time To Turn It In ? ( ออนไลน์ ) สบค้นได้จาก : www.bigchalk.com [ 21 มีนาคม
2545 ]
         1. ไม่ควรให้การบ้านเป็ นการลงโทษ
                                                                ่
         2. หลีกเลี่ยงการบ้านที่เป็ นงานซึ่งเด็กสามารถทาได้ดีอยูแล้ว
         3. การให้การบ้านควรจะมีปริ มาณไม่มาก และไม่ยากเกินไป และควรเป็ นการบ้านที่
                 น่าสนใจซึ่ งเด็กสามารถจะทาได้ดวยตนเอง
                                                ้
         4. ควรจะให้การบ้านที่เหมาะสมกับระดับการศึกษาของเด็ก
งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง
พรรณี ชุตวฒนธาดา ( 2544 : บทคัดย่อ ) (ออนไลน์) สืบค้ นได้ จาก
              ิั
http://www.wt.ac.th/~pannees/rsrch1.html ได้ ทาการศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานตามกาหนดของ
นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5/5 ในโรงเรี ยนมัธยมศึกษา ตัวอย่างประชากรประกอบด้ วย ครูประจา
            ้
ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5/5 โรงเรี ยนมหาวชิราวุธ ปี การศึกษา 2544 และนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที่
  ้                                                                                 ้
5/5 โรงเรี ยนมหาวชิราวุธ ปี การศึกษา 2544 เครื่ องมือที่ใช้ ประกอบด้ วย แบบสอบถาม แบบ
สัม ภาษณ์ แบบบันทึกข้ อมูลเกี่ ยวกับสมุดจดการบ้ านและสมุดการทาการบ้ านของนักเรี ยนชัน           ้
มัธยมศึกษาปี ที่ 5/5 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ คาร้ อยละ วิเคราะห์เนื ้อหา ผลการวิจยพบว่า
                                              ่                                ั
         1. ครูควรกาหนดวันที่แน่นอนเกี่ยวกับวันที่ใช้ แบบเรี ยนและให้ นกเรี ยนขอยืมแบบเรี ยนเพื่อ
                                                                           ั
ใช้ ในคาบเรี ยนจากศูนย์ภาษา
         2. ควรมีการจักกลุมให้ นกเรี ยนที่ไม่สงงานกระจายไปอยูในกลุมเพื่อนที่ตงใจเรี ยนและมีผล
                                 ่    ั             ่             ่      ่       ั้
การเรี ยนดีเพื่อช่วยเหลือกัน
         3. ทาเอกสารเสริมการสอนเสริมบทเรี ยนให้ นกเรี ยนสามารถนาไปทบทวนนอกเวลาเรี ยนได้
                                                      ั
         4. เพิ่มคะแนนกลุมที่สามารถช่วยให้ นกเรี ยนที่มีปัญหาการไม่สงงานได้ ตามกาหนดทุกครัง
                               ่                  ั                    ่                      ้
         5. สอนเสริมนักเรี ยนที่ไม่สงงานทังหมดนอกเวลาเรี ยน
                                        ่   ้
การแก้ ปัญหาการไม่ส่งงานตามกาหนดของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที่ 2/8 (ออนไลน์)
                                                                      ้
สื บ ค้ น ได้ จ าก http://skl.kbcomshop.com/sk013/teacher%20work.htm                 ได้ ท าการศึก ษาการ
แก้ ปัญหาการไม่ส่งงานตามกาหนดของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที่ 2/8 โรงเรี ยนสันติราษฎร์
                                                              ้
วิทยาลัย ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2548 เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจยประกอบด้ วย แบบบันทึก
                                                                               ั
จานวนครังของการส่งงานของนักเรี ยน แบบสอบถามเรื่ องการเรี ยกเก็บงานทุกครังท้ ายชัวโมงกับ
                  ้                                                                         ้      ่
การส่งงานของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที่ 2/8 โดยเป็ นแบบสอบถามที่ผ้ วิจยเรี ยบเรี ยงด้ วยตนเอง
                                ้                                                ู ั
จากปั จจัยต่างที่ต้องการทราบความคิดเห็นของนักเรี ยน ผลการวิจยพบว่ามีอตราการส่งงานมากขึ ้น
                                                                          ั        ั
           ธาริ ณี จิระวัฒนะ ( 2531 : ง) ได้ ศกษาพฤติกรรมการเรี ยนการสอนวิทยาศาสตร์ ที่มีส่วน
                                                    ึ
ส่ง เสริ ม ผลส าเร็ จ ในการเรี ยนวิ ทยาศาสตร์ ตามการรั บรู้ ของนักเรี ยนที่ มีผ ลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ยน
วิทยาศาสตร์ สง ตัวอย่างประชากรที่ใช้ ในการวิจยเป็ นนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที่ 6 แผนการเรี ยน
                    ู                                   ั               ้
คณิ ตศาสตร์ – วิ ทยาศาสตร์ ที่ มีผ ลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิ ทยาศาสตร์ จ านวน 283                     คน
ผลการวิจยพบว่า พฤติกรรมของนักเรี ยนที่มีส่วนส่งเสริ มการเรี ยนในระดับสูงมากที่สด คือ การให้
              ั                                                                               ุ
เนื ้อหาที่ชดเจน การเฉลยข้ อสอบเพื่อให้ นกเรี ยนรู้ ข้อบกพร่ องของตนเองทุกครัง การให้ การบ้ าน
                ั                                 ั                                      ้
แบบฝึ กหัด และแบบทดสอบเสมอ ครู มีความรู้ สึกที่ดีต่อนักเรี ยนเสมอ ครู เข้ าใจความรู้ สึกและ
ปั ญหาของนักเรี ยน การสร้ างบรรยากาศที่ดีในชันเรี ยน ครู มีอารมณ์มนคงเสมอ แก้ ปัญหาโดยใช้
                                                            ้               ั่
เหตุผลเสมอ ใจกว้ างและโอบอ้ อมอารี
           จากผลการวิจยพอสรุปได้ วา
                              ั          ่
           1. พฤติกรรมในการเรี ยน มีความสัมพันธ์กบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
                                                                ั
           2. พฤติกรรมในการเรี ยน เป็ นตัวแปรหนึงที่สามารถใช้ ทานายผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
                                                          ่
           3.         นักเรี ยนมี ผ ลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสูง มี พ ฤติกรรมในการเรี ยนดี กว่านักเรี ยนที่ มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนต่า
           4. เมื่อนักเรี ยนได้ ปรับปรุ งแก้ ไข พฤติกรรมในการเรี ยนให้ ดีขึ ้นแล้ วจะทาให้ นกเรี ยนมี
                                                                                                 ั
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนที่ดีขึ ้นด้ วย
บทที่ 3
                                       วิธีดาเนินการวิจย
                                                       ั
         การวิจยครั้งนี้เป็ นการวิจยศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนดของนักเรี ยน
               ั                     ั
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิต จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้
แบบสอบถามเพื่อหาสาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด ผูวจยได้วางแผนการดาเนินการ
                                                                        ้ิั
ศึกษา สร้างแบบสอบถาม โดยใช้ขอความที่คาดว่าจะเป็ นสาเหตุของการมาส่ งงาน / การบ้านตาม
                                       ้
กาหนด และได้ดาเนินการซึ่ งมีรายละเอียดเป็ นขั้นตอนดังนี้
ประชากร
         ประชากรที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้ เป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์
                                   ั
โรงเรี ยนบาลีสาธิ ต จังหวัดเชี ยงใหม่ จานวน 29 คน
เครื่องมือทีใช้ ในการวิจัย
            ่
           1. แบบสอบถาม
ขั้นตอนการดาเนินการ
           ในการดาเนินการศึกษาวิจยครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพื่อ
                                      ั         ั
1.ขั้นวิเคราะห์ ( Analysis)
           1.1 วิเคราะห์ ข้อมูลพืนฐานของผู้เรี ยน การวิเคราะห์ผเู ้ รี ยนได้กาหนดไว้ดงนี้
                                   ้                                                  ั
                 ประชากร คือ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ4/2 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2553
วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิ ต จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 29 คน
           1.2 วิเคราะห์ สาเหตุของการไม่ ส่งงาน / การบ้ าน ของนักเรียน โดยการหาค่าร้อยละ
 2. ขั้นออกแบบ (Design)
           ผูวจยดาเนินการสร้างแบบสอบถามเพื่อวัดพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด
             ้ิั
โดยมีลาดับขั้นตอนการสร้างดังนี้
          ศึกษาเทคนิคการสร้างแบบสอบถามจากเอกสารต่างๆ
           สร้างแบบสอบถามเพื่อวัดพฤติกรรมของนักเรี ยนเพื่อหาสาเหตุในการไม่ส่งงาน/การบ้าน
ตามกาหนดของนักเรี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 15 ข้อ โดยให้นกเรี ยนใส่ หมายเลข
                                                                                    ั
ลาดับสาเหตุของการไม่ส่งงานจากลาดับมากที่สุด ( 1 ) ไปจนถึงลาดับน้อยที่สุด ( 15 )
3. ขั้นดาเนินการ
           ในการวิจยครั้งนี้ ผูวจยได้มีการดาเนินการดังนี้
                      ั        ้ิั
           3.1 นาแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนดของนักเรี ยน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2553 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิต
จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 29 คน เพื่อหาสาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด และทาการ
บันทึกคะแนน
          3.2 ดาเนินการหาค่าร้อยละของแต่ละข้อสาเหตุ
4. ขั้นวิเคราะห์ ข้อมูล
          4.1 วิเคราะห์ ข้อมูล
                   - วิเคราะห์ผลจากคะแนนที่ได้จากการทาแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรม
          4.2 สถิติทใช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล
                     ี่
                   4.2.1 การหาค่าร้อยละ
                           ค่าร้อยละ =        X x 100
                                                N
                           เมื่อ X = คะแนนที่ได้
                                 N = จานวนนักเรี ยนทั้งหมด
บทที่ 4
                                          ผลการวิจยั

           จากการศึกษาวิจยในชั้นเรี ยนครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน/
                              ั                  ั
การบ้าน ตามกาหนดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิต
จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อนาผลการวิจยมาเก็บเป็ นข้อมูลเพื่อหาสาเหตุ และนาไปแก้ไขปั ญหาในการเรี ยน
                                      ั
การสอนและเพื่อให้นกเรี ยนเห็นความสาคัญของการส่ งงานและการบ้าน โดยใช้แบบสอบถามเพื่อ
                        ั
ศึกษาพฤติกรรมจานวน 15 ข้อ โดยกลุ่มตัวอย่างซึ่ งเป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2
วิชาฟิ สิ กส์ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2553 โรงเรี ยนบาลีสาธิ ต จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 29 คน โดย
สามารถวิเคราะห์ผลได้ดงนี้   ั
           ผลการประเมินแบบสอบถามของนักเรี ยนในเรื่ องการไม่ส่งงาน/การบ้านตามกาหนด
เกี่ยวกับการหาสาเหตุท่ีไม่ส่งงาน การบ้านของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิกส์
โรงเรี ยนบาลีสาธิ ต จังหวัดเชี ยงใหม่
           ตาราง 1 ผลการประเมินแบบสอบถามของนักเรี ยนถึงสาเหตุที่ผเู ้ รี ยนไม่ส่งงาน / การบ้าน
ตามกาหนด
                     สาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้าน                               ร้อยละ
 1. การบ้านมากเกินไป                                                                41.37
 2. แบบฝึ กหัดยาก ทาไม่ได้                                                          41.37
 3. ไม่น่าสนใจ                                                                       6.89
 4. ให้เวลาน้อยเกินไป                                                               34.48
 5. ครู อธิบายเร็ วจนเกินไป                                                         41.37
 6. ไม่เข้าใจคาสั่ง                                                                 17.24
 7. สมุดหาย                                                                         27.59
 8. เบื่อหน่ายไม่อยากทา                                                             25.42
 9. ช่วยเหลืองานวัด                                                                 24.13
 10. ไม่มีหนังสื ออ่านเสริ ม                                                        27.59
 11. ลืมทา                                                                          13.79
 12. ช่วยเหลืองานวัด                                                                24.13
 13. เตรี ยมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น                                                 31.03
 14. ติดเกมส์                                                                       24.13
 15. ทากิจกรรมของโรงเรี ยน                                                          25.42
จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่าการตอบแบบสอบถามของนักเรี ยนในเรื่ องสาเหตุของการไม่
ส่ งงาน / การบ้านตามกาหนด โดยทาการเรี ยงลาดับจากสาเหตุที่นกเรี ยนที่นกเรี ยนคิดว่าเป็ นสาเหตุท่ี
                                                             ั       ั
สาคัญที่สุดจนถึงสาเหตุที่นอยที่สุด ตามลาดับ 1-15 ดังต่อไปนี้
                          ้

แบบฝึ กหัดยากทาไม่ได้              ่
                                อยูในลาดับที่ 1          คิดเป็ นร้อยละ 41.37    (12 คน )
ครู อธิ บายเร็ วเกินไป             ่
                                อยูในลาดับที่ 1          คิดเป็ นร้อยละ 41.37    (12 คน )
เวลาน้อย                           ่
                                อยูในลาดับที่ 2          คิดเป็ นร้อยละ 34.48    ( 10 คน )
                                  ่
เตรี ยมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น อยูในลาดับที่ 3           คิดเป็ นร้อยละ 31.03    ( 9 คน )
ไม่มีหนังสื ออ่านเสริ ม            ่
                                อยูในลาดับที่ 4          คิดเป็ นร้อยละ 27.59    ( 8 คน )
สมุดหาย                            ่
                                อยูในลาดับที่ 4          คิดเป็ นร้อยละ 27.59    ( 8 คน )
เบื่อหน่าย ไม่อยากทา               ่
                                อยูในลาดับที่ 5          คิดเป็ นร้อยละ 25.42    ( 5 คน )
ทากิกรรมของโรงเรี ยน               ่
                                อยูในลาดับที่ 5          คิดเป็ นร้อยละ 25.42    ( 5 คน )
ติดเกมส์                           ่
                                อยูในลาดับที่ 6          คิดเป็ นร้อยละ 24.13    ( 7 คน )
การบ้านมากเกินไป                   ่
                                อยูในลาดับที่ 6          คิดเป็ นร้อยละ 24.13    ( 7 คน )
ช่วยเหลืองานวัด                    ่
                                อยูในลาดับที่ 6         คิดเป็ นร้อยละ 24.13 ( 7 คน )
ไม่เข้าใจคาสั่ง                    ่
                                อยูในลาดับที่ 7          คิดเป็ นร้อยละ 17.24    ( 5 คน )
ลืมทา                              ่
                                อยูในลาดับที่ 8          คิดเป็ นร้อยละ 13.79 (4 คน )
ไม่ค่อยมีคนให้คาปรึ กษา            ่
                                อยูในลาดับที่ 9          คิดเป็ นร้อยละ 10.34 (3 คน )
ไม่น่าสนใจ                         ่
                                อยูในลาดับที่ 10         คิดเป็ นร้อยละ 6.89     ( 2 คน )
บทที่ 5
                           สรุปผล อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

สรุ ปผลการศึกษาวิจัย
        จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตาม
กาหนดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 2 วิชาฟิ สิกส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิต จังหวัด
เชียงใหม่ แสดงให้เห็นว่า สาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด ลาดับที่ 1 คือ แบบฝึ กหัด
ยากทาไม่ได้ คิดเป็ นร้อยละ 41.37 และ ครู อธิ บายเร็ วเกินไป คิดเป็ นร้อยละ 41.37 ลาดับที่ 2 คือ
เวลาน้อย คิดเป็ นร้อยละ 34.48 ลาดับที่ 3 คือ เตรี ยมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น คิดเป็ นร้อยละ 31.03
โดยคิดจากนักเรี ยน 29 คน

อภิปรายผลการศึกษาวิจัย
       จากการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนดของ
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิ ต จังหวัดเชียงใหม่ ในครั้งนี้
สามารถอภิปรายผลได้ดงนี้ พบว่าแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
                   ั
4/1 และ 4/2 ในเรื่ องการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด ได้ทาให้ทราบถึงสาเหตุที่สาคัญมากที่สุด
จนถึงสาเหตุที่นอยที่สุด ในการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด คือ 1. แบบฝึ กหัดยากทาไม่ได้ ครู
               ้
อธิ บายเร็ วเกินไป 2.เวลาน้อย 3.เตรี ยมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น 4.ไม่มีหนังสื ออ่านเสริ ม สมุดหาย
5.เบื่อหน่าย ไม่อยากทา ทากิกรรมของโรงเรี ยน 6.ติดเกมส์ การบ้านมากเกินไป ช่วยเหลืองานวัด7.ไม่
เข้าใจคาสั่ง 8.ลืมทา 9.ไม่ค่อยมีคนให้คาปรึ กษา 10.ไม่น่าสนใจ
ข้ อเสนอแนะ
          1.        ในการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด
อาจจัดทากับนักเรี ยนทั้งระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เพื่อเป็ นการศึกษาในภาพรวม เพราะการวิจย         ั
ครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างเป็ นเพียงนักเรี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษา 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลี
สาธิ ต จังหวัดเชียงใหม่ เท่านั้น ซึ่ งอาจจะได้ผลการวิจยที่แตกต่างกันก็ได้
                                                         ั
          2. ในการวิจยครั้งต่อไปอาจเจาะจงทาการวิจยกลุ่มนักเรี ยนในระดับชั้นอื่นๆ ต่อไป และ
                            ั                              ั
อาจแยกหัวข้อเป็ นรายวิชาต่างๆ เพื่อให้ได้ขอมูลที่ละเอียดขึ้น ซึ่ งจะได้นาผลการทดลองที่ได้ไปแก้ไข
                                               ้
ปั ญหาในการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนดของนักเรี ยนต่อไป
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆwiriya kosit
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 
การค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมการค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมSawaluk Teasakul
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศกระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศAnuchitKongsui
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์Thanyamon Chat.
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 

Was ist angesagt? (20)

172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
การค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรมการค้นพบสารพันธุกรรม
การค้นพบสารพันธุกรรม
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศกระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
 
การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 

Ähnlich wie วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์

เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านNi Aslan
 
Research inclassroom 2-2553krupound
Research inclassroom 2-2553krupoundResearch inclassroom 2-2553krupound
Research inclassroom 2-2553krupoundTaweesak Poochai
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรsomdetpittayakom school
 
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้าแฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้าMuaymie Cld
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัยkrukon
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัยkrukon
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัยkrukon
 
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4tassanee chaicharoen
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียนของโฟมๆๆ
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียนของโฟมๆๆฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียนของโฟมๆๆ
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียนของโฟมๆๆTretipnipa Hotarapavanon
 

Ähnlich wie วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์ (20)

เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
 
Research inclassroom 2-2553krupound
Research inclassroom 2-2553krupoundResearch inclassroom 2-2553krupound
Research inclassroom 2-2553krupound
 
new portfolio
new portfolionew portfolio
new portfolio
 
portfolio
portfolioportfolio
portfolio
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
 
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้าแฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัย
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัย
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัย
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียนของโฟมๆๆ
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียนของโฟมๆๆฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียนของโฟมๆๆ
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียนของโฟมๆๆ
 

Mehr von Weerachat Martluplao

โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐโครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐWeerachat Martluplao
 
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานWeerachat Martluplao
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40Weerachat Martluplao
 
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Mediaการพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social MediaWeerachat Martluplao
 
พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย Weerachat Martluplao
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556Weerachat Martluplao
 
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นการออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นWeerachat Martluplao
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57Weerachat Martluplao
 
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมการจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมWeerachat Martluplao
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationWeerachat Martluplao
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentWeerachat Martluplao
 
ประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesWeerachat Martluplao
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายWeerachat Martluplao
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นWeerachat Martluplao
 

Mehr von Weerachat Martluplao (20)

โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐโครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
 
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
 
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Mediaการพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
 
พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556
 
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นการออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
 
Asean curriculum thai
Asean curriculum thaiAsean curriculum thai
Asean curriculum thai
 
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมการจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ application
 
Stem workshop report
Stem workshop reportStem workshop report
Stem workshop report
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
 
trigonometry
trigonometrytrigonometry
trigonometry
 
ประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric charges
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
 

วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์

  • 1. วิจยในชั้นเรี ยน ั เรื่ อง การศึกษาพฤติกรรมเรื่ องการไม่ส่งงาน / การบ้าน ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิต จังหวัดเชียงใหม่ ผูวิจย ้ ั นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา หลักสู ตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่
  • 2. วิจยในชั้นเรี ยน ั เรื่ อง การศึกษาพฤติกรรมเรื่ องการไม่ส่งงาน / การบ้าน ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิต จังหวัดเชียงใหม่ ผูวิจย ้ ั นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา หลักสู ตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ โดยได้รับความเห็นชอบจาก ……………………………………………..อาจารย์พี่เลี้ยง (อ. ธีรพจน์ สมบูรณ์ ศิลป์ )
  • 3. ชื่องานวิจัย การศึกษาพฤติกรรมเรื่ องการไม่ส่งงาน/การบ้านวิชาฟิ สิ กส์ของนักเรี ยนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 โรงเรี ยนบาลีสาธิตศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ ชื่ อผู้วจัย ิ นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา ชื่ออาจารย์พเี่ ลียง ้ ครู ธีรพจน์ สมบูรณ์ศิลป์ บทคัดย่อ การศึกษาวิจยครั้งนี้ มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ั ั ปี ที่ 4/1 และ 4/2 โรงเรี ยนบาลีสาธิตศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ ผูวจยได้จดทาแบบสอบถามเพื่อศึกษา ้ิั ั สาเหตุของการไม่ส่งงาน/การบ้านวิชาฟิ สิ กส์ของนักเรี ยนจานวน 15 ข้อ โดยให้นกเรี ยนเรี ยงลาดับ ั สาเหตุการไม่ส่งงาน/การบ้านวิชาฟิ สิ กส์ ตามลาดับที่มากที่สุดจนถึงน้อยที่สุดจากลาดับ 1 – 15 และ ได้ทาการนาผลของแต่ละสาเหตุ มาหาค่า ร้อยละ แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์และหาข้อสรุ ปพร้อมทั้ง นาเสนอในรู ปของตารางประกอบคาบรรยาย เพื่อศึกษาพฤติกรรมชองนักเรี ยนในเรื่ องการไม่ส่งงาน/ การบ้านวิชาฟิ สิ กส์ ผลการศึกษาปรากฏว่า จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบสอบถามเพื่อศึกษา พฤติกรรมเรื่ องการไม่ส่งงาน/การบ้านวิชาฟิ สิ กส์ ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 แสดง ให้เห็นว่า สาเหตุของการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิ สิ กส์ ลาดับที่ 1 คือ การให้การบ้านมากเกินไป และครู อธิ บายเร็ วเกินไป โดยคิดจากนักเรี ยน 29 คน ที่เลือกเป็ นสาเหตุอนดับที่ 1 จานวน 12 คน คิดเป็ น ั ร้อยละ 41.37
  • 4. บทที่ 1 ความสาคัญและทีมา ่ การเรี ยนการสอนในปั จจุบนจะแบ่งคะแนนออกเป็ นสองส่ วน คื อ คะแนนเก็บก่ อนสอบ ั ปลายภาค ซึ่ งคิดเป็ น 80 เปอร์ เซ็นต์ของคะแนนทั้งหมด โดยใน 80 เปอร์ เซ็นต์น้ นผูวิจยได้เก็บ ั ้ ั คะแนนโดยการสอบเป็ นรายจุ ด ประสงค์และการส่ ง งานของนัก เรี ย น ดัง นั้นการท าใบงานและ การบ้านส่ งครู ของนักเรี ยนจึงเป็ นเรื่ องที่สาคัญมากในการเรี ยนการสอนเพราะนอกจากจะมีคะแนนใน ส่ วนของใบงานและการบ้านแล้ว ยังมีผลต่อการเรี ยนในคาบถัดไปด้วย เนื่ องจากใบงานจะเป็ นการ ประเมินความรู ้ความเข้าใจในบทเรี ยนของนักเรี ยนว่ามีมากน้อยเพียงใดอีกทั้งยังเป็ นการวัดพฤติกรรม ความรับผิดชอบของนักเรี ยนได้อีกทางหนึ่ ง ถ้าหากนักเรี ยนไม่ได้ทาใบงานที่ครู แจกให้นกเรี ยนก็จะ ั ขาดคะแนนเก็บในส่ วนนั้นและครู ก็ไม่สามารถประเมินความรู ้ความเข้าใจของนักเรี ยนได้ ในช่ ว งแรกของการสอน ครู ได้ ใ ช้ ใ บงานและใบความรู ้ แ จกให้ ก ับ นั ก เรี ยนทุ ก คน ประกอบการสอนในแต่ละชัวโมง โดยที่ใบงานและใบความรู ้ ที่แจกให้นกเรี ยนเก็บเป็ นของตนเอง ่ ั แต่ใบงานบางเรื่ องต้องนามาเรี ยนต่อในคาบต่อไป ซึ่ งเมื่อถึงชัวโมงเรี ยนในชัวโมงต่อไปแล้วนักเรี ยน ่ ่ ไม่ได้นามา เมื่อครู ถามถึงสาเหตุ นักเรี ยนตอบว่า อยู่บาน ลืมเอามา หรื อทาหายไปแล้วก็มี ครู จึง ้ บอกให้ นัก เรี ย นที่ ไ ม่ ไ ด้นาใบงานมาในชั่ว โมงนี้ นามาให้ค รู ดูใ นชั่ว โมงถัดไป ซึ ง ปรากฏว่า มี นักเรี ยนเพียงไม่กี่คนที่นาใบงานมาให้ครู ดู เมื่อทาการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนผ่านไปช่วงหนึ่ ง ครู สังเกตได้วานักเรี ยนที่ไม่ทางานส่ งนั้นมีค่อนข้างมาก อาจเป็ นเพราะการจัดกิจกรรมการเรี ยนการ ่ สอนในช่วงแรกครู ให้นกเรี ยนทางานทุกครั้งและให้ทาการบ้านเก็บเป็ นคะแนนเก็บทุกครั้งนักเรี ยนที่ ั ขาดเรี ยนในคาบใดคาบหนึ่ งไปก็มกจะตามเพื่อนไม่ทนแล้วก็นาไปสู่ การไม่ส่งการบ้านในที่สุดหรื อ ั ั นักเรี ยนบางคนมาโรงเรี ยนแต่ไม่เคยทางานส่ งเลย ซึ่ งสังเกตได้จากสมุดส่ งงานของนักเรี ยน ครู จึงตั้ง ข้อสังเกตได้วาใบงานใดที่แจกให้นกเรี ยนทาแล้วส่ งท้ายชัวโมง จานวนนักเรี ยนที่ส่งงานในครั้งนั้นก็ ่ ั ่ จะมี ม าก แต่ ห ากให้ เ ป็ นการบ้า นก็ จ ะมี นั ก เรี ยนที่ ไ ม่ ส่ ง งานหรื อส่ ง งานไม่ ต รงตามก าหนด ค่อนข้างมาก จากการที่ ผู้ส อนได้ส อนในรายวิ ช า ว 31202 (วิ ช าฟิ สิ ก ส์ ) ของนัก เรี ย นในระดับ ชั้ น มัธยมศึกษาปี ที่ 4 พบว่านักเรี ยนส่ วนใหญ่มกจะส่ งงาน / การบ้านไม่ตรงเวลาที่ครู ผสอนกาหนด หรื อ ั ู้ บางคนก็ ไ ม่ ส่ ง งานหรื อการบ้ า นเลย ซึ่ งท าให้ ค รู ผู ้ส อนไม่ ส ามารถวัด ความรู ้ หรื อติ ด ตาม ความก้าวหน้าของนักเรี ยนได้ ซึ่ งในบางรายวิชาอาจมีผลต่อคะแนนเก็บของนักเรี ยนด้วย ดังนั้นผูวิจย ้ ั ซึ่ งในฐานะที่เป็ นทั้งครู ผสอนและครู ประจาวิชาเห็นความสาคัญของปั ญหาดังกล่าว จึงได้ ทาการวิจย ู้ ั เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ เพื่อนามาเป็ น ข้อมูลในการแก้ปัญหาของนักเรี ยนในเรื่ องการไม่ส่งงาน / การบ้านต่อไป
  • 5. สมมติฐานการวิจัย จัด ท าแบบสอบถามเพื่ อ ศึ ก ษาพฤติ ก รรมเรื่ อ งการไม่ ส่ ง งาน/การบ้า นของนัก เรี ย นชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิตศึกษา จังหวัดเชี ยงใหม่ เพื่อนาผลจากการ วิจยมาเก็บเป็ นข้อมูลเพื่อนาไปแก้ไขปั ญหาในการไม่ส่งงาน / การบ้าน ั วัตถุประสงค์ ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้าน ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิ ตศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ 2. เพือรวบรวมข้อมูลสาหรับการแก้ปัญหาการไม่ส่งงาน / การบ้านของนักเรี ยน ่ ประโยชน์ ทคาดว่าจะได้ รับ ี่ 1. ทราบถึ ง พฤติ ก รรมและสาเหตุ ข องการไม่ ส่ ง งาน/การบ้า นของนัก เรี ย นระดับ ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิ ตศึกษา จังหวัดเชี ยงใหม่ ได้ แนวทางใน การแก้ปัญหาการเรี ยนการสอน ตัวแปรทีศึกษา ่ 1. แบบสอบถามเพื่ อ ศึ ก ษาพฤติ ก รรมเรื่ องการไม่ ส่ ง งาน/การบ้า นของนั ก เรี ยนชั้ น มัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิตศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ 2. ระดับคะแนนเฉลี่ยของแบบสอบถาม นิยามศัพท์เฉพาะ 1. การบ้ าน หมายถึง งานหรื อกิจกรรมที่ครู มอบหมายให้นกเรี ยนได้ทานอกเวลาเรี ยนเพื่อ ั เป็ นการฝึ กทักษะค้นคว้าหาความรู ้เพิ่มเติมและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 2. งาน หมายถึง แบบฝึ กหัดที่ครู ให้ในชัวโมงเรี ยน แบบฝึ กหัดที่ครู ให้เป็ นการบ้าน ใบ ่ งาน รวมถึงการทางานเป็ นกลุ่มและชิ้นงาน 3. ใบงาน หมายถึง แบบฝึ กหัดที่ครุ ให้ทาในชัวโมงเรี ยนหรื อให้เป็ นการบ้าน ่ 4. ใบความรู้ หมายถึง เนื้ อหาในบทเรี ยนแยกเป็ นบท โดยครู มาแจกเมื่อเข้าสู่ เนื้ อหาใน บทเรี ยนนัน ้ ขอบเขตของการวิจัย ในการศึกษาวิจยครั้งนี้ เป็ นการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมเรื่ องการไม่ส่งงาน / ั การบ้านของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิ ตศึกษา จังหวัด เชี ยงใหม่ โดยใช้ขอความที่คาดว่าจะเป็ นสาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้าน จานวน 15 ข้อ และได้ ้ กาหนดขอบเขตของการวิจยไว้ดงนี้ ั ั 1. ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชา ฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิตศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ จานวนห้องเรี ยน 2 ห้อง จานวน 29 คน
  • 6. 2. แบบสอบถามทีใช้ ในการศึกษา เป็ นเป็ นแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรี ยนใน ่ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 ในเรื่ องการไม่ส่งงาน / การบ้าน วิชาฟิ สิ กส์ จานวน 15 ข้อ
  • 7. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยที่เกียวข้ อง ั ่ เพื่อเป็ นพื้นฐานในงานวิจยเรื่ อง การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด ั ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิตศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ ผูวจยจึงศึกษาเอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้องโดยเสนอตามลาดับหัวข้อดังนี้ ้ิั ั 1. ความหมายของพฤติกรรม 2. ความหมายของการบ้าน 3. แนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการบ้าน 5. วิธีการเรี ยนที่ดีหรื อพฤติกรรมเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มผลสัมฤทธิ์ ในการเรี ยน 6. งานวิจยที่เกี่ยวข้อง ั พฤติกรรม ( Behavior ) พฤติกรรม หมายถึง ปฏิกิริยาหรื อกิจกรรมทุกชนิ ดของสิ่ งมีชีวตแม้วาจะสังเกตได้หรื อไม่ก็ ิ ่ ตาม เช่ น คน สัตว์ มีนกพฤติกรรมศาสตร์ บางคนได้ให้ความหมายไว้ว่า พฤติกรรมมีความหมาย ั กว้างขาวงครอบคลุมไปถึงพฤติกรรมของสิ่ งที่ไม่มีชีวิตด้วย เช่น การไหลของน้ า คลื่นของน้ าทะเล กระแสลมที่พด การปลิวของฝุ่ นละออง การเดือดของน้ า เป็ นต้น สิ่ งที่กล่าวมาเป็ นการเคลื่อนไหว ั ของสิ่ งไม่มีชีวต แต่มีการเปลี่ยนแปลงจากลักษณะหนึ่ งไปยังอีกลักษณะหนึ่ ง เลยถือว่าคล้าย ๆ กับ ิ เป็ นปฏิกิริยาหรื อเป็ นกิจกรรมที่ปรากฏออกมาจากสิ่ งนั้นจึงนับว่าเป็ นกิจกรรมด้วย การศึกษาเรื่ องพฤติกรรมส่ วนใหญ่จะมุ่งศึกษาเฉพาะพฤติกรรมของคนส่ วนพฤติกรรมของ สัตว์กระทาเป็ นบางครั้ง เพื่อนามาเป็ นส่ วนประกอบให้เข้าใจในพฤติกรรมของคนได้ดียงขึ้น ิ่ พฤติกรรมภายนอก ( Overt Behavior ) พฤติกรรมภายนอก หมายถึง ปฏิกิริยาของบุคคลหรื อกิจกรรมของบุคคลที่ปรากฏออกมาให้ บุคคลอื่นได้เห็ น ทั้งทางวาจาและการกระทาท่าทางอื่นๆ ที่ปรากฏออกมาให้เห็นได้ พฤติกรรมที่ ปรากฎออกมาให้เห็ นภายนอกนั้นเป็ นสิ่ งที่ ค นมองเห็ นตลอดเวลา เป็ นปฏิ กิย าที่ ค นเราได้แสดง ออกมาตลอดเวลาของการมี ชีวิต ถ้าลาดับตั้งแต่ตื่นนอนจนกระทังนอนหลับ จะเห็ นว่าได้แสดง ่ พฤติกรรมออกมาตลอดเวลา พฤติ ก รรมภายนอกที่ แ สดงออกมามี ค วามส าคัญมาก โดยเฉพาะอย่า งยิ่ง ถ้า สั งคมใดที่ ประเมินคุณภาพของคนว่าเป็ นคนดี มีระเบียบวินย สุ ภาพ ซื่ อสัตย์ ทารุ ณ เป็ นต้น ล้วนแต่ประเมิน ั
  • 8. คุ ณภาพของพฤติ ก รรมภายนอกทั้ง สิ น ถ้า ไม่ แ สดงออกมาสั ง คมก็ ไ ม่ ท ราบว่า บุ ค คลนั้นเป็ นคน อย่างไร พฤติ กรรมที่ ค นแสดงออกมาให้เห็ นภายนอกจึ ง นับว่า เป็ นองค์ประกอบที่ ส าคัญเกี่ ย วกับ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคม สังคมชอบตัดสิ นคนด้วยพฤติกรรมภายนอก ดังนั้นพฤติกรรม ที่เราเห็ นได้ทราบอาจไม่ใช่พฤติกรรมที่แท้จริ งของเขา และไม่ใช่ตวตนที่แท้จริ ง คือการกระทาไม่ ั ตรงกับความคิดความรู ้ สึก บางคนอาจสวมหน้ากากเข้าหากัน หรื อแสดงไปตามบทบาทที่เขาเป็ น ่ บางครั้งจึงกาหนดไม่ได้วาเป็ นเรื่ องจริ ง เพราะไม่ได้สะท้อนความเป็ นจริ งออกมาทั้งหมด พฤติกรรมภายใน ( Covert Behavior ) พฤติกรรมภายใน หมายถึง กิ จกรรมภายในที่เกิ ดขึ้นในตัวบุคคล ซึ่ งสมองทาหน้าที่ รวบรวม สะสมและสั่ ง การ ซึ่ งเป็ นผลจากการกระท าของระบบประสาทและกระบวนการ เปลี่ ย นแปลงทางด้า นชี วเคมี ข องร่ า งกาย พฤติ ก รรมภายในมี ท้ ัง รู ป ธรรมและนามธรรม ที่ เป็ น รู ปธรรมคนอื่นจะสังเกตเห็นไม่ได้แต่จะใช้เครื่ องมือทางการแพทย์ทดสอบได้ สัมผัสได้ เช่น การ เต้นของหัวใจการหดและการขยายตัว ของกล้ามเนื้ อ การบี บของลาไส้ การสู บฉี ดโลหิ ตไปเลี้ ย ง ่ ร่ างกาย เป็ นต้น ที่เป็ นนามธรรมได้แก่ ความคิด ความรู ้สึก เจตคติ ความเชื่ อ ค่านิ ยม ซึ่ งจะอยูใน สมองของคน บุคคลภายนอกไม่สามรถจะมองเห็นได้ หรื อสัมผัสได้เพราะไม่มีตวตน และจะทราบ ั ว่าเขาคิดอย่างไรก็ต่อเมื่อเขาแสดงออกมา เช่ น การแสดงอาฆาตมาดร้ าย ใช้คาพูดข่มขู่หรื อระทา ่ ดังที่คิดไว้ พฤติกรรมภายในจะมีเหมือนกันหมดทุกวัยไม่วาเด็กหรื อผูใหญ่ เพศชาย เพศหญิง หรื อ ้ ่ ต่างเชื้อชาติ ส่ วนที่จะแตกต่างกันจะอยูที่จานวน ปริ มาณหรื อคุณภาพเท่านั้น พฤติกรรมภายในมีความสาคัญต่อคน เป็ นคุณสมบัติที่ทาให้คนเหนื อกว่าสัตว์ คนมีแนวคิด ที่ มี ระบบและคาดการณ์ ใ นสิ่ ง ต่า งๆ ในอนาคตได้ พฤติ กรรมภายในของคนมี ความสั มพันธ์ ก ับ พฤติกรรมภายนอกที่แสดงออกมา บางสถานการณ์ก็ไม่อาจสอดคล้องกันได้ เช่น บางครั้งไม่พอใจ ในการกระทาของผูอื่นก็อาจจะทาเฉยเพราะไม่กล้าต่อว่าหรื ทาร้ ายเขา เพราะถ้ากระทาอะไรลงไป ้ อาจทาให้เกิดการทะเลาะวิวาทกันขึ้นได้ มนุษย์จะแสดงพฤติกรรมภายในและพฤติกรรมภายนอกตั้งแต่เกดจนตาย พฤติกรรมที่แสดง ออกมาอาจเป็ นผลสื บเนื่ องมาจากการเลี้ยงดูและอบรมจากครอบครัวหรื อในทางตรงกันข้ามอาจสื บ เนื่องมาจากการขาดการเลี้ยงดูและอบรมจากครอบครัวหรื อในทางตรงกันข้ามอาจสื บเนื่ องมาจากการ ขาดการเลี้ยงดูอบรมจากครอบครัว จึงทาให้มีปัญหาอยูมาก ่ ในแต่ ล ะช่ ว งของชี วิ ต จะมี พ ฒ นาการปรั บ เปลี่ ย นหรื อ เปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรมไปบ้า ง ั โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องปรับพฤติกรรมให้เข้ากับขนบธรรมเนี ยมประเพณี และวัฒนธรรมของชุ มชน นั้นๆ รวมทั้งการเปลี่ ยนแปลงของสังคมในทุกๆด้าน เมื่อขนบธรรมเนี ยมประเพณี เป็ นตัวกาหนด
  • 9. พฤติกรรมของคนจึงทาให้ตนเปลี่ยนพฤติกรรมได้ยาก เช่น บางชุ มชนมีพฤติกรรมการรับประทาน อาหารสุ ก ๆ ดิบๆ เป็ นต้น ความหมายของการบ้ าน กู๊ด ( Good , 1973 : 224 ) กล่าวว่า การบ้าน หมายถึง งานที่ครู มอบหมายให้นกเรี ยน ั กลับไปทาที่บาน เพื่อทบทวนความรู ้ที่เรี ยนไปแล้ว และเป็ นการฝึ กทักษะ การใช้กฎ หรื อสู ตรต่างๆ ้ ที่เรี ยนไปแล้ว ่ ไพโรจน์ โตเทศ ( 2529 : 9 - 12 ) กล่าวถึงการบ้านไว้วา การบ้านเป็ นงานที่ครู ผสอน ู้ มอบหมายหันกเรี ยนไปทาที่บาน เพื่อเป็ นการทบทวนความรู้ที่นกเรี ยนได้เรี ยนไปแล้วจากโรงเรี ยน ั ้ ั ประการหนึ่ง อีกประหนึ่ง เป็ นการให้งานที่มุ่งวางพื้นฐานในการเรี ยนต่อไป เพื่อความเข้าใจตรงกัน หรื อความง่ายต่อการสอนในเนื้อหาวิชาต่อไป จินตนา ใบกาซู ยี ( 2531 : 40 ) กล่าวถึ งการบ้านไว้ว่า หมายถึง สิ่ งจาเป็ นที่เด็กทุกชั้น จะต้องปฏิ บติ ทาให้เด็กรู ้ จกวินัย รู ้ จกควบคุ มตนเอง มีความรั บผิดชอบต่อตนเอง แบ่งเวลาเป็ น ั ั ั และรู้จกเรี ยนด้วยตนเอง ั จันทนา คุ ณกิ ตติ ( 2532 : 14 ) กล่าวถึงการบ้านไว้ว่า หมายถึง งานหรื อกิ จกรรมที่ครู มอบหมายหันักเรี ยนท านอกเวลาเรี ย นปกติ ตามข้อกาหนดที่ ตกลงร่ วมกันระหว่างครู กบ นักเรี ย น ั เพื่อให้นกเรี ยนได้คิด ค้นคว้า ทบทวนความรู ้ ที่เรี ยนไปแล้ว เพื่อฝึ กทักษะหรื อเตียมสู่ ทเรี ยนใหม่ ั ตลอดจนเพื่อส่ งเสริ มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยน ยอว์นี ( Yvonne ) กล่าวถึ งการบ้านไว้ว่า หมายถึ ง งานที่มอบหมายให้นกเรี ยนทานอก ั เวลาเรี ยน Yvonne . 1984 . Developing Homework Policies. ( ออนไลน์ ) สื บค้นได้จาก : www. Eg.gov./databases/ERIC Digests/ed256473.html [20 พฤศจิการยน 2544 ] ่ บัทเลอร์ ( Butler ) กล่าวถึงการบ้านไว้วา หมายถึง การให้นกเรี ยนใช้เวลานอกชั้นเรี ยนใน ั การทากรรมกิจกรรมจากแบบฝึ กหัด เป็ นการเสริ มแรงหรื อประยุกต์ทกษะหรื อความรู ้ใหม่และเรี ยนรู ้ ั ทักษะขั้นพื้นฐานด้วยตนเองอย่างอิสระ Butler. 1987. Homework. ( ออนไลน์) สื บค้นได้ จาก : www.bigchalk.com [ 5 กุมภาพันธ์ 2541 ] ่ กระทรวงศึกษาธิการ ( 2539 : 2 ) กล่าวถึงการบ้านไว้วา การบ้าน หมายถึง กิจกรรมที่ครู มอบหมายให้นกเรี ยนทานอกเวลาเรี ยน ตามข้อกาหนดที่ตกลงร่ วมกันระหว่างครู กบนักเรี ยนหรื อ ั ั อาจเป็ นกิจกรรมที่นกเรี ยนคิดขึ้นเองโดยความเห็นชอบของครู ั ่ จากความหมายข้างต้น พอสรุ ปได้วา การบ้านหมายถึง งานหรื อกิจกรรมที่ครู มอบหมายให้ นัก เรี ย นได้ท านอกเวลาเรี ย นเพื่ อเป็ นการฝึ กทัก ษะ คันคว้า หาความรู ้ เพิ่ ม เติ ม และใช้ว่า งให้เกิ ด ประโยชน์
  • 10. แนวคิดทฤษฏีทเี่ กี่ยวข้ องกับการบ้ าน วัตถุประสงค์ ของการบ้ าน สแตรง ( Strang , 1960 อ้างถึงใน สุ ขดี ตั้งทรงสวัสดิ์. 2533 : 9 ) กล่าวถึงวัตถุประสงค์ ของการมอบหมายการบ้านไว้ดงนี้ ั 1. เพื่อช่วยกระตุนให้นกเรี ยนมีความพยายาม ความคิดริ เริ่ ม ความเป็ นอิสระ มีโอกาสใช้ ้ ั ความคิดของตนเอง 2. ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนใช้เวลาว่างจากการเรี ยนในโรงเรี ยนให้เป็ นประโยชน์ ั 3. เพื่อเพิมพูนประสบการณ์ที่ได้รับจากโรงเรี ยนโดยทากิจกรรม ่ 4. สนับสนุนการเรี ยนรู้โดยมีการเตรี ยมตัวฝึ กปฏิบติ ั กระทรวงศึกษาธิการ ( 2539 : 3 ) ได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการบ้านไว้ดงนี้ ั 1. เพื่อเพิ่มทักษะและประสบการณ์จากสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้มาแล้ว 2. เพื่อให้รู้จกศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ั 3. เพื่อให้รู้จกตนเองเกี่ยวกับความถนัด ความสามารถ ความสนใจและข้อบกพร่ องในการ ั เรี ยนวิชานั้น ๆ 4. เพื่อให้เกิดความเชื่ อมันในสิ่ งที่เรี ยนรู ้และทาให้กล้าตัดสิ นใจ ่ 5. เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ 6. เพื่อให้มีวนยรักการทางาน มีความรับผิดชอบและรู ้จกใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ิ ั ั 7. เพื่อปลูกฝังคุณธรรม รู ้จกเสี ยสละ ช่วยเหลือสังคมและทางานเป็ นหมู่คณะได้ ั 8. เพื่อให้ครู และผูปกครองสามารถสนับสนุน และช่วยเหลือในข้อบกพร่ องต่างๆ ของ ้ นักเรี ยนที่เกิดจากการเรี ยนการสอนได้ บัทเลอร์ ( Butler ) ได้ให้วตถุประสงค์ของการบ้านไว้ Butler. 1987 . ั Homework. ( ออนไลน์ ) สื บค้นได้จาก : www.bigchalk.com [ 5 กุมภาพันธ์ 2545] 1. การบ้านควรจะเป็ นการเสริ มทักษะที่ถูกแนะนาในห้องเรี ยน 2. เพื่อบรรลุผลในความเชี่ ยวชาญต่อบทเรี ยนพื้นฐาน เช่น กฎทางคณิ ตศาสตร์ เป็ นต้น 3. สนับสนุนให้เลือกหัวข้อที่จะศึกษาได้อย่างอิสระ 4. ให้โอกาสในการทากิจกรรมที่มีคุณค่าอย่างอิสระ 5. สนับสนุนให้ใช้เวลาอย่างฉลาดและเป็ นระเบียบ
  • 11. ประเภทของการบ้ าน สาอาง สีหาพงษ์ ( 2531 : 43 - 47) แบ่งการบ้ านออกเป็ น 3 ประเภท คือ 1. ภาคความรู้ คือ การบ้ านที่เป็ นเรื่ องทักษะ ความรู้ ความคิด เช่น การศึกษาค้ นคว้ า ทารายงาน การหาข่าว ทาแบบฝึ กหัด การตอบคาถาม การเติมคา การอ่านหนังสือเพิ่มเติม 2. ภาคปฏิบติ คือ การบ้ านที่ทาด้ วยมือเพื่อก่อให้ เกิดความชานาญและประสบการณ์ ั เช่น การทากระบวยตักน ้า การจัดนิทรรศการ การตอนกิ่งไม้ การทดลองต่างๆ เป็ นต้ น 3. ประเภทให้ ประโยชน์สาธารณะ เช่น การช่วยงานโรงเรี ยน การเข้ าร่วมกิจกรรมชุมนุม และการเข้ าร่วมกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ เป็ นต้ น กระทรวงศึกษาธิการ ( 2539 : 4 ) ได้แบ่งประเภทของการบ้านไว้ดงนี้ ั 1. ประเภทเสริ มความรู ้ เช่น การศึกษาค้นคว้า การศึกษานอกสถานที่ การทารายงาน และ การทาแบบฝึ กหัด เป็ นต้น 2. ประเภทเสริ มการปฏิบติ เช่น การทาชิ้นงาน การฝึ กงาน การจัดนิทรรศการ และการ ั จัดป้ ายนิเทศ เป็ นต้น 3. ประเภทให้ประโยชน์สาธารณะ เช่น การช่วยงานโรงเรี ยน การเข้าร่ วมกิจกรรมชุมชน และการเข้าร่ วมกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ เป็ นต้น ซัลลิแวน และซี คิวรา ( Sullivan and sequeira ) ได้เสนอรู ปแบบการบ้านไว้ 4 ประเภท ดังนี้ Sullivan and sequeira. 1996. Homework tips for Teacher. [ 5 กุมภาพันธ์ 2545 ] 1. ประเภทแบบฝึ กหัด ( Practice ) เป็ นการท าซ้ า และเป็ นการฝึ กฝนซึ่ งจะเป็ นการ เสริ มแรงให้กบการเรี ยนรู ้ต่อเนื้อหาวิชา ตลอดจนเป็ นการเพิมความเร็ วและความเชี่ ยวชาญของทักษะ ั ่ เฉพาะด้าน 2. ประเภทเตรี ยมความพร้อม ( Preparation ) มีผลการเรี ยนรู้ของการทางานและกระตุน ้ ให้นกเรี ยนรวบรวมข้อมูลของบทเรี ยน ซึ่งเขาจาเป็ นจะต้องเตรี ยมพร้อมในชั้นเรี ยนต่อไป ั 3. ประเภทเสริ มบทเรี ยน ( Extension ) อนุญาตให้นกเรี ยนได้ขยายความรู ้ที่มีต่อเนื้ อหา ั หรื อประยุกต์ทกษะการเรี ยนในการทางานใหม่ ั 4. งานประดิษฐ์ ( Creative ) อนุญาตใหันกเรี ยนรวมกลุ่มเพื่อสร้างความคิดดั้งเดิมหรื อคิด ั งานใหม่
  • 12. ลักษณะของการบ้ าน การบ้านเป็ นส่ วนหนึ่ งของกิ จกรรมการเรี ย นการสอน ซึ่ งจะมี อิท ธิ พ ลต่อการเรี ยนรู ้ และ ทัศนคติ ของผูเ้ รี ย นเป็ นอย่างยิ่ง ดังนั้น จึ ง เป็ นหน้าที่ ข องครู ในการจัดการบ้า นที่ ดีใ ห้แก่ นักเรี ย น กระทรวงศึกษาธิการ ( 2539 : 5 – 6 ) ได้กล่าวถึงคุณลักษณะที่ดีของการบ้านไว้ดงนี้ ั 1. ตรงตามหลักการ จุดหมาย และจุดประสงค์ของหลักสู ตร 2. สัมพันธ์และสอดคล้องกับจุดประสงค์รายวิชา และแผนการเรี ยนการสอน 3. ชัดเจน ไม่มากและยากเกินไป สอดคล้องกับสภาพชีวิตและความเป็ นอยูของนักเรี ยน ่ 4. ยัวยุและท้าทายความถนัด ความสามารถ และความสนใจของนักเรี ยน ่ 5. ส่ งเสริ มและพัฒนาการ ด้านความรู ้ ทักษะ และประสบการณ์ของนักเรี ยน 6. ใช้เวลาพอเหมาะกับวัยและความสามารถของนักเรี ยน หลักการสาคัญในการมอบหมายการบ้ าน ฟิ ลิป และแดเนียล ( Philip and Daniel, 1972 : 55 - 57 ) ได้เสนอหลักการมอบหมายกา ร้านไว้ดงนี้ ั 1. ควรให้การบ้านเป็ นประจา ไม่ใช่ให้บางครั้งบางคราว และควรกาหนดส่ งตามเวลา 2. ควรให้เหมาะสมกับความแตกต่างระหว่างบุคคลวัตถุประสงค์ของหลักสู ตรและ จุดมุ่งหมายของครู นักเรี ยนเก่งควรให้การบ้านประเภทศึกษาสารานุกรม แล้วนามาสนทนาใน ห้องเรี ยน นักเรี ยนอ่อนควรให้การบ้านที่เป็ นการฝึ กฝนและเพิมพูนเนื้อหาความรู ้ในบทเรี ยน ่ 3. ควรให้การบ้านที่ส่งเสริ มสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบ้านกับโรงเรี ยน 4. ไม่ควรเป็ นงานซับซ้อนหรื อเป็ นงานที่ครู ยดเยียดให้นกเรี ยน เพราะอาจจะทาในสิ่ งที่ตน ั ั ไม่เข้าใจ ซึ่ งมีผลเสี ยอย่างมากสาหรับนักเรี ยนที่อ่อน อ้อม ประนอม ( 2529 อ้างถึงใน สุ ขดี ตั้งทรงสวัสดิ์ , 2533 : 13 ) ได้เสนอหลักการใน การมอบหมายการบ้านดังนี้ 1. ครู ให้การบ้านเมื่อนักเรี ยนเข้าใจบทเรี ยนดีแล้ว 2. แบบฝึ กหัดที่ให้การบ้านนั้น ควรมีความยากง่ายเหมาะสมกับความสามารถของนักเรี ยน และเหมาะสมกับเวลาที่ทา 3. การบ้านต้องให้สม่าเสมอและติดตามผอย่างใกล้ชิด 4. ครู ควรมีสมุดบันทึกการบ้านเป็ นการตระเตรี ยมบทเรี ยนที่จะให้การบ้านที่เหมาะสมยิงขึ้น ่ หลักในการให้การบ้านได้ประมวลจากแนวคิดของนักการศึกษาหลายท่านที่มีความ สอดคล้องกัน กรทรวงศึกษาธิ การ ( 2539 : 6 ) สรุ ปได้ดงนี้ ั
  • 13. 1. ต้องจัดให้สัมพันธ์สอดคล้องกับราบวิชา กลุ่มวิชา และแผนการเรี ยนการสอน 2. ต้องเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้ศึกษาค้นคว้าและแสวงหาความรู้ดวยตนเอง ั ้ 3. ต้องจัดให้สอดคล้องกับความแตกต่างของนักเรี ยนแต่ละคน มีความยากง่ายและปริ มาณ พอเหมาะกับความสามารถและเวลาของนักเรี ยน 4. ต้องไม่เพิ่มภาระให้ผปกครองมากเกินไป ู้ 5. ต้องเป็ นการสร้างความร่ วมมือและความเข้าใจอันดีระหว่างโรงเรี ยนกับบ้าน 6. ต้องสอดคล้องกับสภาพการดาเนินชีวิตของนักเรี ยนและชุมชน 7. ควรสอนความสามารถเบื้องต้นที่เด็กจาเป็ นต้องใช้ในการทาการบ้าน เพราะเมื่อนักเรี ยน ทาการบ้านถูกจะก่อให้เกิดความชื่นชมตนเอง ครู จึงควรให้การบ้านที่ช่วยให้กาลังใจแก่นกเรี ยน ั มากกว่าเป็ นการฉุ ดรั้งให้เกิดความล้มเหลวในการเรี ยน 8. ควรให้อย่างสม่าเสมอ ให้แต่นอยๆ และบ่อยๆ อย่างต่อเนื่อง การทาทุกครั้งให้เด็ก ้ ประสบความสาเร็ จเสมอ คือทาแล้วได้เครื่ องหมายถูกมากกว่าผิด เพราะถือว่าการฝึ กฝนในปริ มาณที่ ั พอดีกบเวลาก่อให้เกิดผลดี การฝึ กมากเกินไปจะให้ผลเสี ยมากกว่า เพราะจะทาให้นกเรี ยนเบื่อหน่าย ั หลีกเลี่ยง หรื อทาแบบขอไปที 9. ให้การบ้านหลายๆ แบบ เพราะคนเราชอบความแปลกใหม่ จึงไม่ควรให้การบ้าน ลักษณะเดียวกันตลอดปี 10. เมื่อให้การบ้านแล้วครู ตองกาหนดวันส่ ง พร้อมทั้งจะต้องตรวจการบ้านและติดตามผล ้ อย่างใกล้ชิดว่านักเรี ยนยังบกพร่ องในเรื่ องใด ตรงไหนควรช่วยเหลือเป็ นรายบุคคลหรื อช่วยเป็ นกลุ่ม ประโยชน์ ของการบ้ าน การบ้านมีประโยชน์หลายประการดังนี้คือ ( กระทรวงศึกษาธิ การ , 2539 : 9 ) ก. ต่อนักเรี ยน 1. ได้พฒนาแนวคิดอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ ั 2. ได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ซึ่งเป็ นปั จจัยสาคัญที่ช่วยให้เด็กเชื่ อมันในความสามารถของ ่ ตนเอง ปลูกนิสัยให้รักเด็กและพยายามค้นคว้าหาความรู ้ และความก้าวหน้ามาสู่ ตนเอง 3. ได้สารวจและพัฒนาตนเองในด้านความรู้ ความถนัด ความสามารถ และความสนใจ ั 4. ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ ซึ่ งเป็ นการสร้างนิสัยที่ดีให้กบนักเรี ยน 5. ปลูกฝังความมีระเบียบ ความรับผิดชอบและความเสี ยสละ รู ้จกแบ่งเวลาเพื่อพัฒนา ั ่ ตนเอง รู ้วาเวลาไหนควรทาอะไร ลาดับกิจกรรมก่อนหลัง วางแผนงานเป็ นไปในแต่ละวัน ข. ต่อผูปกครอง ้ 1. ลดความวิตกกังวลในเรื่ องความประพฤติของบุตรหลาน 2. ทราบพัฒนาการและข้อบกพร่ องทางการเรี ยนของบุตรหลาน
  • 14. 3. เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผูปกครอง ครู และนักเรี ยน ้ ค. ต่อครู ผสอนู้ 1. ช่วยเสริ มให้แผนการสอนของครู เป็ นระบบและครบถ้วน 2. เป็ นเครื่ องมือช่วยจาแนกความแตกต่างของนักเรี ยนเพื่อกาหนดวิธีสอนให้เหมาะสมกับ นักเรี ยน 3. ทราบผลการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนได้อย่างต่อเนื่ อง ข้ อควรคานึงในการมอบหมายการบ้ าน กระทรวงศึกษาธิการ ( 2539 : 13 ) ได้กล่าวว่า ในการมอบหมายการบ้าน อาจจะประสบ ปั ญหาต่างๆ เช่น ขาดการประสานงานระหว่างครู การบ้านยาก มากหรื อน้อยเกินไป นักเรี ยนเกิด ความวิตกกังวล เบื่อหน่ายการเรี ยนและหนีเรี ยน ทาให้ผปกครองเดือดร้อน และขาดแหล่งศึกษา ู้ ค้นคว้า เป็ นต้น เพื่อไม่ให้เกิดปั ญหาดังกล่าว ในการมอบหมายการบ้าน โรงเรี ยนและครู ควร คานึงถึงแนวปฏิบติดงต่อไปนี้ ั ั 1. ควรหลีกเลี่ยงการใช้การบ้านเป็ นเครื่ องมือแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน 2. ควรกาหนดปริ มาณ ความยากง่ายให้พอเหมาะกับสภาพและพ้นฐานของนักเรี ยนโดย ไม่จาเป็ นต้องให้เท่ากันทุกคนและต้องชัดเจน 3. ควรหลีกเลี่ยงการใช้การบ้านเป็ นเครื่ องมือในการแก้ปัญหากาสอนไม่จบหลักสู ตร 4. ควรอานวยความสะดวกและเตรี ยมการล่วงหน้าสาหรับการบ้านที่ตองใช้วสดุอุปกรณ์ ้ ั 5. ควรจูงใจให้นกเรี ยนเห็นประโยชน์และคุณค่าของกาบ้าน ั 6. ควรสร้างเสริ มการบ้านให้มีลกษณะยัวยุ และท้าท้ายความถนัดความสามารถและความ ั ่ สนใจของนักเรี ยน 7. ควรมอบหมายการบ้านหลายรู ปแบบและไม่ซ้ าซาก 8. ควรเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้มีส่วนร่ วมในการทาการบ้าน ั 9. ควรหลีกเลี่ยงการใช้การบ้านเป็ นเครื่ องมือในการลงโทษนักเรี ยน ทัศนีย ์ ศุภเมธี ( 2532 : 113 ) กล่าวว่า การให้แบบฝึ กหัดหอการให้ทาการบ้านเป็ น กิจกรรมการเรี ยนรู ้ดวยตนเองของนักเรี ยน ผลงานจากาทาแบบฝึ กหัดจะบอกให้ครู ทราบว่านักเรี ยน ้ เข้าใจบทเรี ยนที่เยนไปหรื อไม่ ถ้านักเรี ยนทาแบบฝึ กหัดหรื อการบ้านไม่ค่อยได้ ก็แสดงให้เห็นว่า ครู ตองสอนซ่อมเสริ มหรื ออาจจะต้องทบทวนบทเรี ยนใหม่ ้ ข้ อเสนอแนะในการให้ ทาแบบฝึ กหัดหรือการให้ ทาการบ้ าน 1. ควรจะให้ทนทีหลังจากสอนจบบทเรี ยน ั 2. ควรให้ในปริ มาณพอสมควรและเหมาะสมกับความสามารถของนักเรี ยน 3. ครู ควรจะร่ วมมือกับผูปกรองในการเอาใจใส่ ดูแลการทาการบ้านของนักเรี ยน ้
  • 15. 4. การให้การบ้านหรื อแบบฝึ กหัดแต่ละครั้งครู ตองแน่ใจว่านักเรี ยนเข้าใจคาสั่งในงานที่ ้ ได้รับมอบหมาย 5. ให้นกเรี ยนเข้าใจจุดหมายและปะโยชน์ของการทาแบบฝึ กหัดและการบ้าน ั 6. การให้การบ้านของครู ไม่ควรเน้นที่งานหนังสื ออย่างเดียว ครู ควรให้การบ้านที่นกเรี ยน ั จะลงปฏิบติดวยตนเองด้วย เช่น ให้ตดเล็บให้ส้ ันทุกวันศุกร์ ปลูกต้นไม้กระถาง ให้ใส่ ปุ๋ยต้นไม้ ั ้ ั 7 วันต่อครั้ง คูเปอร์ ( Cooper ) ได้ศึกษาถึงข้อควรคานึงในการให้การบ้านดังนี้ Cooper.1999. Homewort : Time To Turn It In ? ( ออนไลน์ ) สบค้นได้จาก : www.bigchalk.com [ 21 มีนาคม 2545 ] 1. ไม่ควรให้การบ้านเป็ นการลงโทษ ่ 2. หลีกเลี่ยงการบ้านที่เป็ นงานซึ่งเด็กสามารถทาได้ดีอยูแล้ว 3. การให้การบ้านควรจะมีปริ มาณไม่มาก และไม่ยากเกินไป และควรเป็ นการบ้านที่ น่าสนใจซึ่ งเด็กสามารถจะทาได้ดวยตนเอง ้ 4. ควรจะให้การบ้านที่เหมาะสมกับระดับการศึกษาของเด็ก งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง พรรณี ชุตวฒนธาดา ( 2544 : บทคัดย่อ ) (ออนไลน์) สืบค้ นได้ จาก ิั http://www.wt.ac.th/~pannees/rsrch1.html ได้ ทาการศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานตามกาหนดของ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5/5 ในโรงเรี ยนมัธยมศึกษา ตัวอย่างประชากรประกอบด้ วย ครูประจา ้ ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5/5 โรงเรี ยนมหาวชิราวุธ ปี การศึกษา 2544 และนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที่ ้ ้ 5/5 โรงเรี ยนมหาวชิราวุธ ปี การศึกษา 2544 เครื่ องมือที่ใช้ ประกอบด้ วย แบบสอบถาม แบบ สัม ภาษณ์ แบบบันทึกข้ อมูลเกี่ ยวกับสมุดจดการบ้ านและสมุดการทาการบ้ านของนักเรี ยนชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/5 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ คาร้ อยละ วิเคราะห์เนื ้อหา ผลการวิจยพบว่า ่ ั 1. ครูควรกาหนดวันที่แน่นอนเกี่ยวกับวันที่ใช้ แบบเรี ยนและให้ นกเรี ยนขอยืมแบบเรี ยนเพื่อ ั ใช้ ในคาบเรี ยนจากศูนย์ภาษา 2. ควรมีการจักกลุมให้ นกเรี ยนที่ไม่สงงานกระจายไปอยูในกลุมเพื่อนที่ตงใจเรี ยนและมีผล ่ ั ่ ่ ่ ั้ การเรี ยนดีเพื่อช่วยเหลือกัน 3. ทาเอกสารเสริมการสอนเสริมบทเรี ยนให้ นกเรี ยนสามารถนาไปทบทวนนอกเวลาเรี ยนได้ ั 4. เพิ่มคะแนนกลุมที่สามารถช่วยให้ นกเรี ยนที่มีปัญหาการไม่สงงานได้ ตามกาหนดทุกครัง ่ ั ่ ้ 5. สอนเสริมนักเรี ยนที่ไม่สงงานทังหมดนอกเวลาเรี ยน ่ ้
  • 16. การแก้ ปัญหาการไม่ส่งงานตามกาหนดของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที่ 2/8 (ออนไลน์) ้ สื บ ค้ น ได้ จ าก http://skl.kbcomshop.com/sk013/teacher%20work.htm ได้ ท าการศึก ษาการ แก้ ปัญหาการไม่ส่งงานตามกาหนดของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที่ 2/8 โรงเรี ยนสันติราษฎร์ ้ วิทยาลัย ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2548 เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจยประกอบด้ วย แบบบันทึก ั จานวนครังของการส่งงานของนักเรี ยน แบบสอบถามเรื่ องการเรี ยกเก็บงานทุกครังท้ ายชัวโมงกับ ้ ้ ่ การส่งงานของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที่ 2/8 โดยเป็ นแบบสอบถามที่ผ้ วิจยเรี ยบเรี ยงด้ วยตนเอง ้ ู ั จากปั จจัยต่างที่ต้องการทราบความคิดเห็นของนักเรี ยน ผลการวิจยพบว่ามีอตราการส่งงานมากขึ ้น ั ั ธาริ ณี จิระวัฒนะ ( 2531 : ง) ได้ ศกษาพฤติกรรมการเรี ยนการสอนวิทยาศาสตร์ ที่มีส่วน ึ ส่ง เสริ ม ผลส าเร็ จ ในการเรี ยนวิ ทยาศาสตร์ ตามการรั บรู้ ของนักเรี ยนที่ มีผ ลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ยน วิทยาศาสตร์ สง ตัวอย่างประชากรที่ใช้ ในการวิจยเป็ นนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที่ 6 แผนการเรี ยน ู ั ้ คณิ ตศาสตร์ – วิ ทยาศาสตร์ ที่ มีผ ลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิ ทยาศาสตร์ จ านวน 283 คน ผลการวิจยพบว่า พฤติกรรมของนักเรี ยนที่มีส่วนส่งเสริ มการเรี ยนในระดับสูงมากที่สด คือ การให้ ั ุ เนื ้อหาที่ชดเจน การเฉลยข้ อสอบเพื่อให้ นกเรี ยนรู้ ข้อบกพร่ องของตนเองทุกครัง การให้ การบ้ าน ั ั ้ แบบฝึ กหัด และแบบทดสอบเสมอ ครู มีความรู้ สึกที่ดีต่อนักเรี ยนเสมอ ครู เข้ าใจความรู้ สึกและ ปั ญหาของนักเรี ยน การสร้ างบรรยากาศที่ดีในชันเรี ยน ครู มีอารมณ์มนคงเสมอ แก้ ปัญหาโดยใช้ ้ ั่ เหตุผลเสมอ ใจกว้ างและโอบอ้ อมอารี จากผลการวิจยพอสรุปได้ วา ั ่ 1. พฤติกรรมในการเรี ยน มีความสัมพันธ์กบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ั 2. พฤติกรรมในการเรี ยน เป็ นตัวแปรหนึงที่สามารถใช้ ทานายผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ่ 3. นักเรี ยนมี ผ ลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสูง มี พ ฤติกรรมในการเรี ยนดี กว่านักเรี ยนที่ มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนต่า 4. เมื่อนักเรี ยนได้ ปรับปรุ งแก้ ไข พฤติกรรมในการเรี ยนให้ ดีขึ ้นแล้ วจะทาให้ นกเรี ยนมี ั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนที่ดีขึ ้นด้ วย
  • 17. บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจย ั การวิจยครั้งนี้เป็ นการวิจยศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนดของนักเรี ยน ั ั ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิต จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้ แบบสอบถามเพื่อหาสาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด ผูวจยได้วางแผนการดาเนินการ ้ิั ศึกษา สร้างแบบสอบถาม โดยใช้ขอความที่คาดว่าจะเป็ นสาเหตุของการมาส่ งงาน / การบ้านตาม ้ กาหนด และได้ดาเนินการซึ่ งมีรายละเอียดเป็ นขั้นตอนดังนี้ ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้ เป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ ั โรงเรี ยนบาลีสาธิ ต จังหวัดเชี ยงใหม่ จานวน 29 คน เครื่องมือทีใช้ ในการวิจัย ่ 1. แบบสอบถาม ขั้นตอนการดาเนินการ ในการดาเนินการศึกษาวิจยครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพื่อ ั ั 1.ขั้นวิเคราะห์ ( Analysis) 1.1 วิเคราะห์ ข้อมูลพืนฐานของผู้เรี ยน การวิเคราะห์ผเู ้ รี ยนได้กาหนดไว้ดงนี้ ้ ั ประชากร คือ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ4/2 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2553 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิ ต จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 29 คน 1.2 วิเคราะห์ สาเหตุของการไม่ ส่งงาน / การบ้ าน ของนักเรียน โดยการหาค่าร้อยละ 2. ขั้นออกแบบ (Design) ผูวจยดาเนินการสร้างแบบสอบถามเพื่อวัดพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด ้ิั โดยมีลาดับขั้นตอนการสร้างดังนี้ ศึกษาเทคนิคการสร้างแบบสอบถามจากเอกสารต่างๆ สร้างแบบสอบถามเพื่อวัดพฤติกรรมของนักเรี ยนเพื่อหาสาเหตุในการไม่ส่งงาน/การบ้าน ตามกาหนดของนักเรี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 15 ข้อ โดยให้นกเรี ยนใส่ หมายเลข ั ลาดับสาเหตุของการไม่ส่งงานจากลาดับมากที่สุด ( 1 ) ไปจนถึงลาดับน้อยที่สุด ( 15 ) 3. ขั้นดาเนินการ ในการวิจยครั้งนี้ ผูวจยได้มีการดาเนินการดังนี้ ั ้ิั 3.1 นาแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนดของนักเรี ยน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2553 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิต
  • 18. จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 29 คน เพื่อหาสาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด และทาการ บันทึกคะแนน 3.2 ดาเนินการหาค่าร้อยละของแต่ละข้อสาเหตุ 4. ขั้นวิเคราะห์ ข้อมูล 4.1 วิเคราะห์ ข้อมูล - วิเคราะห์ผลจากคะแนนที่ได้จากการทาแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรม 4.2 สถิติทใช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ี่ 4.2.1 การหาค่าร้อยละ ค่าร้อยละ = X x 100 N เมื่อ X = คะแนนที่ได้ N = จานวนนักเรี ยนทั้งหมด
  • 19. บทที่ 4 ผลการวิจยั จากการศึกษาวิจยในชั้นเรี ยนครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน/ ั ั การบ้าน ตามกาหนดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิต จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อนาผลการวิจยมาเก็บเป็ นข้อมูลเพื่อหาสาเหตุ และนาไปแก้ไขปั ญหาในการเรี ยน ั การสอนและเพื่อให้นกเรี ยนเห็นความสาคัญของการส่ งงานและการบ้าน โดยใช้แบบสอบถามเพื่อ ั ศึกษาพฤติกรรมจานวน 15 ข้อ โดยกลุ่มตัวอย่างซึ่ งเป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2553 โรงเรี ยนบาลีสาธิ ต จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 29 คน โดย สามารถวิเคราะห์ผลได้ดงนี้ ั ผลการประเมินแบบสอบถามของนักเรี ยนในเรื่ องการไม่ส่งงาน/การบ้านตามกาหนด เกี่ยวกับการหาสาเหตุท่ีไม่ส่งงาน การบ้านของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิกส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิ ต จังหวัดเชี ยงใหม่ ตาราง 1 ผลการประเมินแบบสอบถามของนักเรี ยนถึงสาเหตุที่ผเู ้ รี ยนไม่ส่งงาน / การบ้าน ตามกาหนด สาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้าน ร้อยละ 1. การบ้านมากเกินไป 41.37 2. แบบฝึ กหัดยาก ทาไม่ได้ 41.37 3. ไม่น่าสนใจ 6.89 4. ให้เวลาน้อยเกินไป 34.48 5. ครู อธิบายเร็ วจนเกินไป 41.37 6. ไม่เข้าใจคาสั่ง 17.24 7. สมุดหาย 27.59 8. เบื่อหน่ายไม่อยากทา 25.42 9. ช่วยเหลืองานวัด 24.13 10. ไม่มีหนังสื ออ่านเสริ ม 27.59 11. ลืมทา 13.79 12. ช่วยเหลืองานวัด 24.13 13. เตรี ยมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น 31.03 14. ติดเกมส์ 24.13 15. ทากิจกรรมของโรงเรี ยน 25.42
  • 20. จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่าการตอบแบบสอบถามของนักเรี ยนในเรื่ องสาเหตุของการไม่ ส่ งงาน / การบ้านตามกาหนด โดยทาการเรี ยงลาดับจากสาเหตุที่นกเรี ยนที่นกเรี ยนคิดว่าเป็ นสาเหตุท่ี ั ั สาคัญที่สุดจนถึงสาเหตุที่นอยที่สุด ตามลาดับ 1-15 ดังต่อไปนี้ ้ แบบฝึ กหัดยากทาไม่ได้ ่ อยูในลาดับที่ 1 คิดเป็ นร้อยละ 41.37 (12 คน ) ครู อธิ บายเร็ วเกินไป ่ อยูในลาดับที่ 1 คิดเป็ นร้อยละ 41.37 (12 คน ) เวลาน้อย ่ อยูในลาดับที่ 2 คิดเป็ นร้อยละ 34.48 ( 10 คน ) ่ เตรี ยมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น อยูในลาดับที่ 3 คิดเป็ นร้อยละ 31.03 ( 9 คน ) ไม่มีหนังสื ออ่านเสริ ม ่ อยูในลาดับที่ 4 คิดเป็ นร้อยละ 27.59 ( 8 คน ) สมุดหาย ่ อยูในลาดับที่ 4 คิดเป็ นร้อยละ 27.59 ( 8 คน ) เบื่อหน่าย ไม่อยากทา ่ อยูในลาดับที่ 5 คิดเป็ นร้อยละ 25.42 ( 5 คน ) ทากิกรรมของโรงเรี ยน ่ อยูในลาดับที่ 5 คิดเป็ นร้อยละ 25.42 ( 5 คน ) ติดเกมส์ ่ อยูในลาดับที่ 6 คิดเป็ นร้อยละ 24.13 ( 7 คน ) การบ้านมากเกินไป ่ อยูในลาดับที่ 6 คิดเป็ นร้อยละ 24.13 ( 7 คน ) ช่วยเหลืองานวัด ่ อยูในลาดับที่ 6 คิดเป็ นร้อยละ 24.13 ( 7 คน ) ไม่เข้าใจคาสั่ง ่ อยูในลาดับที่ 7 คิดเป็ นร้อยละ 17.24 ( 5 คน ) ลืมทา ่ อยูในลาดับที่ 8 คิดเป็ นร้อยละ 13.79 (4 คน ) ไม่ค่อยมีคนให้คาปรึ กษา ่ อยูในลาดับที่ 9 คิดเป็ นร้อยละ 10.34 (3 คน ) ไม่น่าสนใจ ่ อยูในลาดับที่ 10 คิดเป็ นร้อยละ 6.89 ( 2 คน )
  • 21. บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ สรุ ปผลการศึกษาวิจัย จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตาม กาหนดของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 2 วิชาฟิ สิกส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิต จังหวัด เชียงใหม่ แสดงให้เห็นว่า สาเหตุของการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด ลาดับที่ 1 คือ แบบฝึ กหัด ยากทาไม่ได้ คิดเป็ นร้อยละ 41.37 และ ครู อธิ บายเร็ วเกินไป คิดเป็ นร้อยละ 41.37 ลาดับที่ 2 คือ เวลาน้อย คิดเป็ นร้อยละ 34.48 ลาดับที่ 3 คือ เตรี ยมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น คิดเป็ นร้อยละ 31.03 โดยคิดจากนักเรี ยน 29 คน อภิปรายผลการศึกษาวิจัย จากการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนดของ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลีสาธิ ต จังหวัดเชียงใหม่ ในครั้งนี้ สามารถอภิปรายผลได้ดงนี้ พบว่าแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ั 4/1 และ 4/2 ในเรื่ องการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด ได้ทาให้ทราบถึงสาเหตุที่สาคัญมากที่สุด จนถึงสาเหตุที่นอยที่สุด ในการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด คือ 1. แบบฝึ กหัดยากทาไม่ได้ ครู ้ อธิ บายเร็ วเกินไป 2.เวลาน้อย 3.เตรี ยมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น 4.ไม่มีหนังสื ออ่านเสริ ม สมุดหาย 5.เบื่อหน่าย ไม่อยากทา ทากิกรรมของโรงเรี ยน 6.ติดเกมส์ การบ้านมากเกินไป ช่วยเหลืองานวัด7.ไม่ เข้าใจคาสั่ง 8.ลืมทา 9.ไม่ค่อยมีคนให้คาปรึ กษา 10.ไม่น่าสนใจ ข้ อเสนอแนะ 1. ในการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนด อาจจัดทากับนักเรี ยนทั้งระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เพื่อเป็ นการศึกษาในภาพรวม เพราะการวิจย ั ครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างเป็ นเพียงนักเรี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษา 4/1 และ 4/2 วิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนบาลี สาธิ ต จังหวัดเชียงใหม่ เท่านั้น ซึ่ งอาจจะได้ผลการวิจยที่แตกต่างกันก็ได้ ั 2. ในการวิจยครั้งต่อไปอาจเจาะจงทาการวิจยกลุ่มนักเรี ยนในระดับชั้นอื่นๆ ต่อไป และ ั ั อาจแยกหัวข้อเป็ นรายวิชาต่างๆ เพื่อให้ได้ขอมูลที่ละเอียดขึ้น ซึ่ งจะได้นาผลการทดลองที่ได้ไปแก้ไข ้ ปั ญหาในการไม่ส่งงาน / การบ้านตามกาหนดของนักเรี ยนต่อไป