SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 35
อาณาจักรโปรติสตา
เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์ชนิดยูแคริโอต มีทั้งชนิดเซลล์เดียว
และหลายเซลล์ได้แก่ สัตว์เซลล์เดียว (protozoa) สาหร่ายต่างๆ
ได้แก่ สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีน้าตาล สาหร่ายสีแดง สาหร่าย
สีทอง เช่น ไดอะตอม
ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตในอำณำจักรโป
รติสตำ
1.ร่างกายประกอบด้วยโครงสร้างง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ส่วนมาก
ประกอบด้วยเซลล์เดียว (unicellular)บางชนิดมีหลายเซลล์รวมกัน
เป็นกลุ่มเรียกว่า โคโลนี (colony) หรือเป็นสายยาว (filament)แต่
ยังไม่ทาหน้าที่ ร่วมกัน เป็นเนื้อเยื่อ (tissue) หรืออวัยวะ (organ) แต่
ละเซลล์สามารถทาหน้าที่ของความเป็นสิ่งมีชีวิตได้ครบถ้วนอย่าง
อิสระ
2.ไม่มีระยะตัวอ่อน (Embryo) ซึ่งต่างจากพืชและสัตว์ที่มีระยะตัวอ่อน
ก่อนที่จะเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัย
3.การดารงชีพ มีทั้งชนิดที่เป็นผู้ผลิต (Autotroph)เพราะมีคลอโรฟิลล์
เป็นผู้บริโภค (Consumer) และ เป็น ผู้ย่อย สลายอินทรียสาร
(Decomposer)
4. โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก(Eucaryotic) ซึ่งมีเยื่อหุ้ม
นิวเคลียส ได้แก่ โพรโทซัว เห็ด รา ยีสต์ ราเมือก สาหร่ายต่าง ๆ
5. การเคลื่อนที่ บางชนิดเคลื่อนที่ได้โดยใช้ ซีเลีย (Cilia) แฟลกเจลลัม
(flagellum)หรือซูโดโปเดียม (Pseudopodium) บางชนิดเคลื่อนที่
ไม่ได้
6. การสืบพันธุ์ ทั้งแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) และแบบ
อาศัยเพศ (Sexual reproduction) แบบอาศัยเพศมีทั้งชนิดคอนจูเก
ชัน (Conjugation)ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปร่างและขนาด
เหมือนกัน มารวมกัน ดังเช่นที่พบในพารามีเซียม ราดา เป็นต้น และ
ชนิดปฏิสนธิ (fertilization) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ ที่มีรูปร่าง และ
ขนาด ต่างกันมารวมกัน ดังเช่นที่พบในสาหร่ายเป็นส่วนใหญ่ เป็นต้น
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบ่งเป็น 9 ไฟลัม คือ
1. ไฟลัมโพรโทซัว (PhylumProtazoa)
2. ไฟลัมคลอโรไฟตา (Phylum Chlorophyta)
3. ไฟลัมคริสโซไฟตา (PhylumChrysophyta)
4. ไฟลัมยูกลีโนไฟตา (PhylumEuglenophyta)
5. ไฟลัมเฟโอไฟตา (Phylum Phaeophyta)
6. ไฟลัมไพรโรไฟตา (Phylum Pyrrophyta)
7. ไฟลัมโรโดไฟตา (Phylum Rhodophyta)
8. ไฟลัมยูไมโคไฟตา (PhylumEumycophyta)
9. ไฟลัมมิกโซไมโคไฟตา (Phylum Myxomycophyta)
ไฟลัมโปรโตซัว (Phylum Protozoa)
ลักษณะสาคัญ
1. อยู่กันอย่างโดดเดี่ยว (solitary) บางกลุ่มรวมกลุ่มหรือ
โคโลนี (colony)
2. ขนาดเล็ก
3. สมมาตร (symmetry) ของร่างกายแบบต่างๆ
4. ไม่มีเนื้อเยื่อ ไม่มีอวัยวะ มีนิวเคลียสหนึ่งหรือหลายนิวเคลียส
5. การดารงชีวิตโดยอิสระ (free-living) ภาวะพึ่งพากัน
(mutaution)ภาวะอิงอาศัย (commensation)
หรือภาวะปรสิต (parasitem)
6. เคลื่อนที่โดยใช้
- เท้าเทียม (psedopodia) เช่น อะมีบา
- ซิเลีย (cilia) เช่น พารามีเซียม
- แฟลกเจลลา (flagella) เช่น ยูกลีนา
- ไม่มีอวัยวะในการเคลื่อนที่ เช่น พลาสโมเดียม
7.บางชนิดมีโครงร่างค้าจุนร่างกาย
8.การกินอาหาร (nutrition) มีทุกรูปแบบ
8.1autotrophic
8.2 heterotrophic
9. อาศัยอยู่ในน้า ในดิน บนบก ดารงชีวิตอิสระหรือแบบซิมไบโอซิส
(symbioosis)
10. การสืบพันธุ์ (reproduction)
10.1 ไม่อาศัยเพศ ได้แก่ binary fission หรือ budding
10.2 อาศัยเพศ ได้แก่ conjugation หรือ syngamy เป็นการรวมตัวกันเป็นไซ
โกต
รูปร่างลักษณะโครงสร้างของเซลล์
- เซลล์ของโปรโตซัวมีลักษณะคล้ายกับเซลล์ของยูคาริโอต คือ
ด้านนนอกของเซลล์ห่อหุ้มด้วยเยื่อหุ้มเซลล์
- ในไซโตพลาซึม แบ่งออกเป็น 2บริเวณ คือ
1. สารพวกคอลลอยด์
2. ของเหลวมีแกรนูล
- ภายในไซโตพลาซึมประกอบด้วยออร์แกแนล์ต่างๆ
- นิวเคลียสมีหนึ่งหรือหลายนิวเคลียส เช่น พารามีเซียม มี
นิวเคลียส 2 ชนิด คือ
1. ควบคุมเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ (Micronucleus)
2. ควบคุมเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม (Macronucleus)
ไฟลัมคลอโรไฟตา (Phylum Chlorophyta)
ได้แก่สาหร่ายสีเขียว ( greenalgae) มีทั้วหมดประมาณ
17,500 สปีชีส์ พบอยู่ในน้าจืดมากกว่าในน้าเค็ม พบในดินที่
เปียกชื้น แม่น้าลาคลอง ทะเลสาบ และในทะเล แหล่งที่พบ พบ
ทั่วไปตามน้าจืด และในทะเล เช่น อะเซตาบูลาเรีย (มีมาก
เกิดปรากฎการณ์ เรียกว่า วอเตอร์บลูม
ลักษณะ
1.จานวนเซลล์มีทั้งพวกเซลล์เดี่ยวหรือหลายเซลล์ต่อกันเป็นสายยาว หรือรวมกันเป็นกลุ่ม มีทั้งเคลื่อนที่ได้ และ
เคลื่อนที่ไม่ได้
- พวกเซลล์เดียวที่เคลื่อนที่ได้ โดยมีแฟลกเจลลัมใช้โบกพัด จานวน 2-4เส้น
เช่น แคลมมิโดโมแนส ( Chlamydomonas)
- พวกเซลล์เดียวที่เคลื่อนที่ไม่ได้ โดยไม่มีแฟลกเจลลัม เช่น คลอเรลลา(Chlorella)คลอโรคอคคัม
(Chlorococcoum)
- พวกหลายเซลล์ต่อกันเป็นสายยาว เช่น ยูโลทริกซ์ (Ulothrix)อีโดโกเนียม (Oedogonium) สไปโรไจรา หรือเทา
น้า (Spirogyra)
- พวกหลายเซลล์เป็นกลุ่ม (Clolnial forms)เช่น วอลวอกซ์ (Volvox)เพดิแอสดรัม(Pediastrum)ซีนเตสมัน
(Scenedesmus)
2.รงควัตถุที่พบจะเป็นเช่นเดียยวกับที่พบในพืชชั้นสูง คือ มีคลอโรฟิลล์ เอ,คลอโรฟิลล์ บี,คาโรทีน และแซนโท
ฟิลล์รงควัตถุทั้งหมดนี้จะประกอบกันด้วยอัตราส่วนที่เหมือนกับพวกพืชชั้นสูงจึงทาให้มีสีเขียวสด รงควัตถุทั้งหมด
นี้จะรวมกันอยู่ในเม็ดสี หรือพลาสติด(Plastid) ที่เรียกว่า คลอโรพลาสต์ โดยอาจจะมี 1 อัน หรือมากกว่า 1 อัน
คลอโรพลาสต์ของสาหร่ายสีเขียวมีรูปร่างหลายแบบ เช่น
- รูปร่างเป็นเม็ด ๆ พบใน ไบรออปซิส(Bryopsis)
- รูปร่างเป็นเกลียว พบใน สไปโรไจรา (Spirogyra)
- รูปร่างเป็นคล้ายร่างแห พบใน อีโดโกเนียม (Oedogonium)
- รูปร่างเป็นแผ่น พบใน ยูโลทริกซ์ (Ulothrix)
- รูปร่างเป็นรูปดาว พบใน ซิกนีมา (Zygnema)
3. โครงสร้างของผนังเซลล์ ประกอบด้วย เซลลูโลส (Cellulose) บางชนิดมีเปกติน
(Pectin) เคลือบอยู่ภายนอกบาง ๆ บางชนิดมีแคลเซียมคาร์บอเนต (Calcium
Carbonate)
4. อาหารที่เก็บไว้ก็คือ ไพรีนอยด์ (Pyrenoids) อยู่ในเม็ดคลอโรพลาสต์ เข้าใจว่าไพรี
นอยด์เป็นโครงสร้างที่มีโปรตีนเป็นแกนกลาง และมีแผ่นแป้ งหุ้มล้อมรอบอยู่
5. การสืบพันธุ์
-แบบไม่อาศัยเพศ โดยการแบ่งเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน ในพวกเซลล์เดียว หรือหักสาย
(Fragmentation) หรือสร้างสปอร์
-แบบอาศัยเพศ โดยคอนจูเกชัน (Conjugation) หรือการปฏิสนธิ (Fertilization)
6. แหล่งที่อยู่ สาหร่ายสีเขียวพบในน้าจืดเป็นส่วนใหญ่ ในน้าเค็มก็มีบ้างตามที่ชื้น
แฉะทั่วไป เปลือกไม้ ใบไม้ ก้อนหินเปียก ๆ และบนหิมะก็มี บางชนิดอยู่ในภาวะ
พึ่งพากับรา เกิดเป็นไลเคน บางชนิดก็เป็นปรสิตของพืชชั้นสูง
ความสาคัญ เป็นสารอาหาร เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และวิตามินสูง
ไฟลัมคริสโซไฟตา (Phylum Chrysophyta)
ได้แก่พวกสาหร่ายสีน้าตาลแกมเหลือง หรือสาหร่ายสีทอง
แหล่งที่พบ พบได้ทั่วไปทั้งในน้าจืด น้าเค็ม
ลักษณะ
1.สาหร่ายสีน้าตาลแกมทอง ( goldenbrownalgae) มีประมาณ 16,600สปีชีส เป็นผู้ผลิตที่มีมากที่สุดในทะเล
2.รงควัตถุที่พบในเซลล์มีรงควัตถุสีเขียว คือ คลอโรฟิลล์ เอ และคลอโรฟิลล์ ซี และมีรงควัตถุสีน้าตาล คือ ฟิว
โคแซนทิน (Fucoxanthin)ซึ่งมีมากที่สุดถึง 75% ของรงควัตถุทั้งหมด และลูเทอริน (Luthein)ปริมาณมากกว่า
คลอโรฟิลล์จึงทาให้มีสีน้าตาลแกมทอง
3.มีทั้งพวกเซลล์เดียวและหลายเซลล์อยู่กันเป็นสายหรือรวมเป็นกลุ่ม
4.ผนังเซลล์มีสารพวกซิลิกา (Sillica) สะสมอยู่ประมาณ 95% ทาให้มีลวดลายสวยงามมาก ผนังเซลล์ที่มีซิลิกา
เรียก ฟรุสตุล(Frustule) ฟรุสตุลประกอบด้วย ฝา 2 ฝา ครอบกันอยู่สนิทแน่น แต่ละฝาเรียกทีกา (Theca) ฝาบน
เรียก อีพิทีกา (Epitheca)มีขนาดใหญ่กว่าครอบอยู่บนฝาล่างซึ่งมีขนาดเล็กกว่าเล็กน้อย เรียก โฮโปทีกา
(Hypotheca)
5.อาหารสารองภายในเซลล์คือ หยดน้ามัน (Oil droplet)และเม็ดเล็ก ๆ ของสารประกอบคาร์โบโฮเดรตชนิด
พิเศษ เรียกว่า ลิวโคซิน(Leucosin)หรือ คริโซลามินารีน(Chrysolaminarin)
6.การสืบพันธุ์มีทั้งแบบไม่อาศัยเพศโดยการแบ่งเซลล์ออกเป็น 2ส่วน ซึ่งเป็นการเพิ่มจานวนที่พบเสมอ ๆ ส่วนอีก
แบบหนึ่งเป็นแบบอาศัยเพศ
ความสาคัญ มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ เช่น ไดอะตอมมีสารพวกซิลิกา
ไฟลัมยูกลีโนไฟตา (Phylum Euglenophyta)
สาหร่ายในดิวิชันนี้เรียกว่า ยูกลีนอยด์ (euglenoid)ซึ่ง
จัดเป็นโปรโตซัวในคลาสแฟลก เจลลาตาด้วย
แหล่งที่พบ ในน้าจืด ในดินชื้นแฉะ
ลักษณะ
1 มีคลอโรฟิลล์เป็นชนิด เอ และ บี คาโรทีน แซนโทฟิลล์
2 อาหารสะสมเป็นแป้ ง เรียกว่า พาราไมลัม (Paramylum)
3 ไม่มีผนังเซลล์ มีแต่เยื่อเซลล์เหนียวๆ เรียกว่า Pellicleทาหน้าที่เป็น
ขอบเขตของเซลล์
4 เป็นเซลล์เดียวมีแฟลกเจลลา 1-3 เส้นอยู่ทางด้านหน้า
5 ตัวอย่างของสาหร่ายดิวิชันนี้ได้แก่ ยูกลีนา (Euglena) และฟาคัส
(Phacus)
ความสาคัญ
มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ เช่น ไดอะตอมมีสารพวกซิลิกา
ไฟลัมเฟโอไฟตา (Phylum Phaeophyta)
ได้แก่พวก สาหร่ายสีน้าตาล
แหล่งที่พบ ในน้าเค็ม
ลักษณะ
1. สาหร่ายในไฟลัมพีโอไฟตา เรียกโดยทั่วไปว่าสาหร่ายสีน้าตาล (Brown algae)
ทั้งนี้เพราะมีรงควัตถุที่ทาให้เกิดสีน้าตาล คือ ฟิวโคแซนทีน (Fucoxanthin) อยู่
มากกว่าคลอโรฟิลล์ เอ และคลอโรฟิลล์ ซี สาหร่ายสีน้าตาลมีมากในทะเลตามแถบ
ชายฝั่งที่มีอากาศเย็น มีเพียง 35 จีนัสที่พบในน้าจืด สาหร่ายสีน้าตาลมักเรียกชื่อ
ทั่วไปว่า sea weed เพราะเป็นวัชพืชทะเล
2. ผนังเซลล์เป็นสารพวกเซลลูโลสและกรดอัลจินิก (alginicacid)ซึ่งสามารถสกัด
สารอัลจิน (algin) มาใช้ประโยชน์ได้
3. รูปร่างและขนาดแตกต่างกันไป มีตั้งแต่ขนาดเล็กต้องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ จนถึง
ขนาดใหญ่มองเห็นด้วยตาเปล่า บางชนิดมีรูปร่างเป็นสายยาวแตกกิ่งก้าน เช่น
Ectocarpus บางชนิดมีรูปร่างเป็นแผ่นแผ่แบนหรือคล้ายใบไม้โบกไหวอยู่ในน้า เช่น
Laminariaบางชนิดคล้ายต้นปาล์มขนาดเล็กเรียกว่า Sea palm บางชนิดคล้าย
ต้นไม้เล็ก ๆ เช่น Sargassum หรือสาหร่ายนุ่น หรือรูปร่างคล้ายพัด เช่น Padina
4.สาหร่ายสีน้าตาลมีหลายเซลล์ พวกที่มีขนาดใหญ่มากเรียกว่า เคลป์ (Kelp)
ซึ่งอาจมีความยาว 60-70เมตร เช่น Macrocystis ,Nereocystisพวกที่มี
ขนาดใหญ่มักมีลักษณะเหมือนพืชชั้นสูงประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้
4.1โฮลด์ฟาสต์(Haldfast)คือส่วนที่ทาหน้าที่เป็นราก สาหรับยึดเกาะแต่
ไม่ได้ดูดแร่ธาตุเหมือนพืชชั้นสูง โฮลด์ฟาสต์ของพวกนี้สามารถแตกแขนง
ได้มาก และยึดเกาะได้แข็งแรง
4.2สไตป์ (Stipe) หรือคอลลอยด์ (Colloid) คือส่วนที่อยู่ถัดจากรากขึ้นมา
ทาหน้าที่คล้ายลาต้น
4.3เบลด (Blade)หรือลามินา (Lamina)หรือฟิลลอยด์ (Phylloid) คือ
ส่วนที่ทาหน้าที่เป็นใบ บางชนิดมีถุงลม (air bladderหรือ Pneumatocyst)
อยู่ที่โคนใบเพื่อช่วยพยุงให้ลอยตัวอยู่ได้ในน้า จากลักษณะดังกล่าวจึงถือกัน
ว่าสาหร่ายสีน้าตาลมีวิวัฒนาการสูงสุดในบรรดาสาหร่ายด้วยกัน (ยกเว้น
สาหร่ายไฟ)
5. ส่วนประกอบของผนังเซลล์ เซลล์ของสาหร่ายสีน้าตาลประกอบด้วย
5.1 ผนังเซลล์ มี 2 ชั้น ชั้นในเป็นพวกเซลลูโลส ชั้นนอกเป็นสารเมือก กรดอัลจินิกซึ่ง
จะอยู่ที่ผนังเซลล์และช่องว่างระหว่างเซลล์ โดยมีประมาณถึง 24% ของน้าหนักแห้ง
กรดอัลจินิกนี้เมื่อสกัดออกมาจะอยู่ในรูปของเกลืออัลจิเนต สาหรับใช้ใน
อุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยมีคุณสมบัติเป็นตัวทาให้เกิดอิมัลชัน ( Emulsifying agent)
และเป็นตัวคงรูป (Stabillzing agent)
5.2 คลอโรพลาสต์ มีเพียง 1 อัน หรือมีจานวนมากในแต่ละเซลล์ขึ้นอยู่กับชนิด คลอ
โรพลาสต์ จะมีลักษณะกลมแบน (Platelike)หรือเป็นแฉกรูปดาว ไพรีนอยด์เกิด
เดี่ยว ๆ เป็นแบบมีก้านติดอยู่ข้าง ๆ คลอโรพลาสต์ โดยมีผนังคลอโรพลาสต์หุ้มรวม
ไว้
5.3 นิวเคลียสมีเพียง 1 อัน ในแต่ละเซลล์
5.4 อาหารสะสมมี 3 ชนิด ได้แก่
1. โพลีแซกคาไรด์ที่ละลายน้า ได้แก่ ลามินาริน (Laminarin) หรือลามินาเรน
(Laminaran) มีปริมาณตั้งแต่ 2-34 % ของน้าหนักแห้ง
2. แมนนิตอล (Mannitol) พบเฉพาะในสาหร่ายสีน้าตาลเท่านั้น
3. น้าตาลจาพวกซูโครส (Sucrose) และกลีเซอรอล (Glycerol)
6. การสืบพันธุ์ สาหร่ายสีน้าตาลมีการสืบพันธุ์ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่
อาศัยเพศ โดยมีวงชีวิตแบบสลับ (Alternation of generation)คล้าย
กับพืช
ความสาคัญ
1. Laminaraใช้ทาปุ๋ ยโปตัสเซียม
2. Laminaraและ Kelp สกัดได้จากสารแอลจิน (algin) ทาไอศกรีม
พลาสติก สบู่
ไฟลัมไพรโรไฟตา (Phylum Pyrrophyta)
สมาชิกในไฟลัมนี้นิยมเรียกว่า ไดโนแพลเจลเลต
(Dinoflagellates)เพราะมีแฟลกเจลลา 2 เส้น ยาวไม่เท่ากัน
เส้นหนึ่งอยู่ในร่องตามขวางของเซลล์ อีกเส้นหนึ่งอยู่ในร่อง
ตามยาวของเซลล์ บางชนิด แฟลกเจลลัมอยู่ด้านหน้าทั้ง 2 เส้น
แต่อย่างไรก็ตามสมาชิกที่มีหลายเซลล์อยู่เป็นกลุ่มและเป็นสาย
ไม่เคลื่อนที่ก็มีเหมือนกัน และมีมากกว่า 1,000 ชนิด ที่สีปรากฏ
ค่อนไปทางสีแดงเปลวไฟ ดังนั้นบางท่านจึงเรียกว่า สาหร่ายสี
เปลวไฟ (Fire algae)
แหล่งที่พบ ในน้าเสีย
ลักษณะ
1. รงควัตถุภายในเซลล์มีคลอโรฟิลล์ เอ และคลอโรฟิลล์ ซี แคโรทีนแซนโธฟิลล์ หลายชนิด ที่
สาคัญคือ เพอริดินัม (Peridinum) และไดโนแซนธิน(Dinoxanthin)
2. อาหารสะสม คือ แป้ ง (Starch) ซึ่งสะสมไว้ในหรือนอกคลอโรพลาสต์ นอกจากนั้นอาจมีหยด
น้ามัน
3. บางชนิดไม่มีผนังเซลล์ห่อหุ้ม เซลล์จะเปล่าเปลือย เช่น ยิมโนดิเนียม (Gymnodinium)
4. พบมากในทะเล บางพวกเรืองแสงได้ในที่มืด (Bioluminescence) ที่เราเรียกว่า พรายน้า
บางชนิดพบในน้าจืดและน้ากร่อย
5. การสืบพันธุ์โดยมากเป็นแบบไม่อาศัยเพศโดยการแบ่งเซลล์และมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
บ้าง
ความสาคัญ Dinoflagellate ในทะเลมาก เรียกว่า น้าพิษสีแดงหรือขี้ปลาวาฬ (Red tide) ขี้
ปลาวาฬ (Red tide ) มีอันตรายกับสิ่งมีชีวิต
ไฟลัมโรโดไฟตา (Phylum Rhodophyta)
ได้แก่พวก สาหร่ายสีแดง
แหล่งที่พบ ส่วนใหญ่พบในทะเล
ลักษณะ
1. สาหร่ายในไฟลัมนี้เรียกว่า สาหร่ายสีแดง (red algae) มีอยู่
ประมาณ 3,900 สปีซีส์ รงควัตถุภายในพลาสติดที่มีปริมาณมากนั้นมีสี
แดง คือ คลอโรฟิลล์ ดี และไฟโคอิริทริท (Phycoerythrin) บางครั้ง
สาหร่ายสีแดงอาจปรากฏเป็นสีน้าเงินเพราะมีรงควัตถุพวกไฟโคไซยา
นิน (Phycocyanin) รวมอยู่ในพลาสติดด้วย อย่างไรก็ตามสาหร่ายสี
แดงก็มี คลอโรฟิลด์ เอ ซึ่งเป็นรงควัตถุหลักในการสังเคราะห์แสง และที่
น่าสนใจอีกอย่างก็คือสาหร่ายแดงมีรงควัตถุแบคทิริโอคลอโรฟิลล์ เอ
เหมือนดังที่พบในแบคทีเรียที่สังเคราะห์แสงด้วย
2.ส่วนประกอบของเซลล์
2.1ผนังเซลล์ ประกอบด้วยผนังเซลล์ชั้นใน เป็นพวกสารเซลลูโลส และผนัง
เซลล์ชั้นนอกเป็นสารเมือกพวกซัลเฟตเตต แกแลกแตน (Sulfated
galactan)ได้แก่ วุ้น (Agar)พอร์ไฟแรน(Porphyran) เฟอร์เซลเลอแรน
(Furcelleran) และคาร์ราจีแนน(Carrageenan)
2.2คลอโรพลาสต์มี 2 แบบ คือบางพวกมีลักษณะเป็นแฉกรูปดาว และมี
ไพรีนอยด์ตรงกลาง บางพวกมีลักษณะกลมแบน
2.3อาหารสะสมเป็นแป้ งมีชื่อเฉพาะว่า ฟลอริเดียนสตาซ (Floridean
starch) อยู่ในไซโทพลาสซึม นอกจากแป้ งแล้วยังสะสมไว้ในรูปของน้าตาล
ฟลอริโดไซด์ (Floridoside)ซึ่งทาหน้าที่เหมือนน้าตาลซูโครสในสาหร่ายสี
เขียวและพืชชั้นสูง
2.4สาหร่ายสีแดงเป็นสาหร่ายพวกเดียวที่ทุกระยะไม่มีแฟลกเจลลัมในการ
เคลื่อนที่
2.5ภายในเซลล์มีทั้งชนิดที่มีนิวเคลียสเดียว และหลายนิวเคลียส
2.6ส่วนใหญ่อยู่ในทะเลมีบางชนิดเท่านั้นที่อยู่ในน้าจืด
2.7ตัวอย่างของสาหร่ายในไฟลัมนี้ได้แก่
-พอร์ไฟรา (Porphyra) เมื่อตากแห้งแล้วใช้ใส่แกงจืดที่เรียกกันว่า จีฉ่าย
กราซิลาเรีย(Gracilaria) นามาสกัดสารคาร์แรกจิแนน(carrageenan)ใช้
ในการทาวุ้น (agar) ซึ่งมีความสาคัญในการทาอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ ทา
เครื่องสาอาง ทายาขัดรองเท้า ครีมโกนหนวด เคลือบเส้นใย ใช้ทาแคปซูลยา
ทายา และใช้เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เห็ดรา และราเมือก
-กราซิลาเรีย(Gracilaria) นาสารสกัดสารคาร์แรกจิแนน(Carrageenan)
ใช้ในการทาวุ้น (agar)ซึ่งมีความสาคัญในการทาอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ ทา
เครื่องสาอาง ทายาขัดรองเท้า ครีมโกนหนวด เคลือบเส้นใย ใช้ทาแคปซูลยา
ทายา และใช้เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ความสาคัญ
1. Porphyra (จีฉ่าย)ใส่แกงจืด
2.Gracilaria ต้นเครามังกร หรือสาหร่ายวุ้น สกัดได้วุ้น
ไฟลัมยูไมโคไฟตา(Phylum Eumycophyta)
สมาชิกในไฟลัมนี้เรียก ราแท้ (True fungi)ตัวอย่างได้แก่ เห็ด รา
แหล่งที่พบ ส่วนใหญ่พบในทะเล
ลักษณะ
1.โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก(Eucariyotic cell)ส่วนมากมี
หลายเซลล์ ยกเว้น ยีสต์ซึ่งมีเซลล์เดียว
2.ไม่มีคลอโรฟิลล์ จึงไม่สามารถสร้างอาหารได้ ต้องใช้อาหารจากสิ่งมีชีวิต
ชนิดอื่น
3.ผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลลูโลส ไคติน (chitin)และลิกนิน
4. ร่างกายประกอบด้วยกลุ่มของเส้นใย เส้นใยแต่ละเส้นเรียกว่า ไฮฟา
(Hypha) เส้นใยเหล่านี้มักรวมกันเป็นกระจุกเรียกว่า ไมซีเลียม
(Mycelium)ในเห็ดเส้นใยมาอัดกันอยู่แน่นเป็นโครงสร้างสาหรับสร้าง
สปอร์ คือ ฟรุดติง บอดี (Fruitingbody) ที่เรียกกันว่าดอกเห็ดนั่นเอง
ยกเว้นในยีสต์ที่มีเพียงไฮพาเพียงอันเดียว เพราะมีเซลล์เดียว ไฮพาทาหน้าที่
หลั่งน้าย่อย ย่อยซากสิ่งมีชีวิต และสามารถสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศได้อีก
ด้วย เส้นใยของราแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
4.1 เส้นใยมีผนังกั้น (septate hypha) คือ เส้นใยที่มีผนังกั้นทาให้มองดูเป็นห้องที่มีไซโตปลา
สซึมและนิวเคลียส
4.2 เส้นใยที่ไม่มีผนังกั้น (nonseptate hypha) คือ เส้นใย ที่ไม่มีผนังกั้นทาให้มองดูทะลุ
ตลอดเส้นใย ประกอบด้วยไซโตปลาสซึมและนิวเคลียสหลายนิวเคลียสกระจายอยู่ตลอด
เส้นใย
5. การดารงชีพเป็นผู้ย่อยอินทรียสารโดยการหลังน้าย่อยออกมาย่อยอาหารแล้วจึงดูด
อาหารโมเลกุลเล็กกลังเข้าสู่เซลล์ ไมซีเลียมอาจปรากฏเป็นกระจุกอยู่บนผิวหรือภายใต้ผิว
ของก้อนอาหาร เห็ดราบางชนิดที่เป็นปรสิตจะมีเส้นใยพิเศษ เรียกว่า ฮอสทอเรียม
(Houstorium) แทงเข้าไปดูดอาหารจากเซลล์ของโฮสต์โดยตรง
6. รามีทั้งการสืบพันธุ์แบบอาศัย เพศและแบบไม่อาศัยเพศ แบบไม่อาศัยเพศโดยการ
แบ่งตัว (fission) การแตกหน่อ (budding) การหักหรือขาดออกของสาย (fragmentation)
และการสร้างสปอร์ (spore formation) สาหรับแบบอาศัยเพศโดยการเทียบสาย
(conjugation) แล้วมีการเคลื่อนตัวของไซโตปลาสซึม และนิวเคลียสเข้าผสมกัน เห็ดราเป็น
ผู้ย่อยอินทรียสารที่สาคัญมาก แต่ก็มีบางชนิดที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่มนุษย์ เช่น ทาให้
อาหารบูดเสีย ทาให้เกิดโรคแก่สัตว์และพืช ทาให้บ้านเรือน เสื้อผ้า และเครื่องใช้เสียหาย
เป็นต้น
ไฟลัมมิกโซไมโคไฟตา (PhylumMyxomycophyta)
เป็นโปรตีสต์ที่มีช่วงชีวิตที่มีลักษณะคล้ายสัตว์และช่วงชีวิตที่มี
ลักษณะคล้ายพืช ได้แก่ ราเมือก (Slime mold) เป็นต้น
แหล่งที่พบ ส่วนใหญ่พบในทะเล
ลักษณะ
1. มีเซลล์เป็นแบบยูคาริโอต ไม่มีผนังเซลล์ไม่มีคลอโรฟิลล์ประกอบด้วยกลุ่มของ
โปรโตปลาสซึมที่แผ่กระจายมีลักษณะเป็นเมือก
2. การสืบพันธุ์มีวงชีวิตที่มีลักษณะคล้ายสัตว์สลับกับวงชีวิตคล้ายพืช คือ ในภาวะ
ปกติของชีวิต มีลักษณะเป็นกลุ่มของโปรโตปลาสซึม แผ่กระจายคล้ายแผ่นวุ้น เซลล์
แต่ละเซลล์ไม่มีผนังกั้น จึงทาให้นิวเคลียสกระจายอยู่ทั่วไปในเซลล์ มองดูคล้าย
ร่างแหเรียกว่า พลาสโมเดียม ( Plasmodium )สามารถเคลื่อนที่และกินอาหารได้
แบบอะมีบา ( Amoeboid movement ) พอถึงระยะที่มีการสืบพันธุ์ ราเมือกจะ
สร้างอับสปอร์ ( Sporangium ) ซึ่งภายในมีสปอร์ที่มีผนังเซลล์เป็นสารพวก
เซลลูโลสเช่นเดียวกับพืช
3. ราเมือกดารงชีวิตแบบภาวะมีการย่อยสลาย ( saprophytism ) แต่มีบางชนิด
เช่น พลาสโมดิโอฟอรา ( plasmodiophora )ทาให้เกิดโรครากโป่งในกะหล่าปลี
และผักอื่นๆ
วงชีพของราเมือก
ในระยะที่เรามักเห็นราเมือกได้ชัด คือ ภาวะปกติของราเมือกจะมีลักษณะ
คล้ายแผ่นวุ้นขนาดใหญ่ประกอบด้วยเซลล์จานวนมาก รวมกันโดยไม่มีผนัง
กั้นเซลล์ จึงเห็นเป็นแผ่นมีนิวเคลียสจานวนมาก มองดูคล้ายกับมีร่างแหอยู่
ในแผ่นวุ้น ราเมือกอาจมีสีส้ม เหลือง ขาว หรือ ใส แผ่นวุ้นนี้เคลื่อนที่ได้
คล้ายอะมีบาเรียกระยะนี้ว่า พลาสโมเดียม ต่อมาถึงระยะที่มีการสืบพันธุ์ รา
เมือกจะหยุดเคลื่อนที่และเริ่มสร้างอับสปอร์ ระยะนี้เรียก ฟรุตติ้ง บอดี (
Fruitingbody) เมื่อสปอร์แก่ อับสปอร์แตกออก สปอร์ตกลงงอกเป็นเซลล์
เล็กๆ เคลื่อนที่ได้ต่อมาเกิดการรวมตัวของเซลล์เล็กๆนี้เข้าด้วยกัน เป็นไซ
โกต ซึ่งจะเจริญเติบโตเป็นแผ่นวุ้นเคลื่อนที่หากินต่อไป ดังนั้น วงชีวิตของรา
เมือกจึงเป็นแบบสลับ ( alternationofgeneration)
แหล่งอ้างอิง
http://vichakarn.triamudom.ac.th/comtech/studentprojec
t/final54/823/taxonomy2.html
จัดทาโดย
นาย ชิษณุพงศ์ คาเสาร์ เลขที่ 22
นางสาว จิรกานต์ ศรีวิยศ เลขที่ 23
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอYaovaree Nornakhum
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตPinutchaya Nakchumroon
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 

Was ist angesagt? (20)

Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 

Andere mochten auch

อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมSumalee Khvamsuk
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1kruking2
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาbenzikq
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราพัน พัน
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 

Andere mochten auch (19)

อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
Plantae kingdom
Plantae kingdomPlantae kingdom
Plantae kingdom
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
Kingdom Protista
Kingdom ProtistaKingdom Protista
Kingdom Protista
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 

Ähnlich wie อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom

อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceteeraya
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชPandora Fern
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์Chidchanok Puy
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 

Ähnlich wie อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom (20)

อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
 
4
44
4
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
Fungi kindom
Fungi kindomFungi kindom
Fungi kindom
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืช
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์เรื่อง เซลล์
เรื่อง เซลล์
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
Animalia kingdom
Animalia kingdomAnimalia kingdom
Animalia kingdom
 
Kingdom fungi 3
Kingdom fungi 3Kingdom fungi 3
Kingdom fungi 3
 
Animalia
AnimaliaAnimalia
Animalia
 

Mehr von Pl'nice Destiny

Mehr von Pl'nice Destiny (13)

Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Monera kingdom
Monera kingdomMonera kingdom
Monera kingdom
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
สร้างบล็อก
สร้างบล็อกสร้างบล็อก
สร้างบล็อก
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
การงงาน
การงงานการงงาน
การงงาน
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
Onet5602
Onet5602Onet5602
Onet5602
 
ชิษณุพงศ์ คำเสาร์
ชิษณุพงศ์ คำเสาร์ชิษณุพงศ์ คำเสาร์
ชิษณุพงศ์ คำเสาร์
 

อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom

  • 1.
  • 2. อาณาจักรโปรติสตา เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์ชนิดยูแคริโอต มีทั้งชนิดเซลล์เดียว และหลายเซลล์ได้แก่ สัตว์เซลล์เดียว (protozoa) สาหร่ายต่างๆ ได้แก่ สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีน้าตาล สาหร่ายสีแดง สาหร่าย สีทอง เช่น ไดอะตอม
  • 3. ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตในอำณำจักรโป รติสตำ 1.ร่างกายประกอบด้วยโครงสร้างง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ส่วนมาก ประกอบด้วยเซลล์เดียว (unicellular)บางชนิดมีหลายเซลล์รวมกัน เป็นกลุ่มเรียกว่า โคโลนี (colony) หรือเป็นสายยาว (filament)แต่ ยังไม่ทาหน้าที่ ร่วมกัน เป็นเนื้อเยื่อ (tissue) หรืออวัยวะ (organ) แต่ ละเซลล์สามารถทาหน้าที่ของความเป็นสิ่งมีชีวิตได้ครบถ้วนอย่าง อิสระ 2.ไม่มีระยะตัวอ่อน (Embryo) ซึ่งต่างจากพืชและสัตว์ที่มีระยะตัวอ่อน ก่อนที่จะเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัย 3.การดารงชีพ มีทั้งชนิดที่เป็นผู้ผลิต (Autotroph)เพราะมีคลอโรฟิลล์ เป็นผู้บริโภค (Consumer) และ เป็น ผู้ย่อย สลายอินทรียสาร (Decomposer)
  • 4. 4. โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก(Eucaryotic) ซึ่งมีเยื่อหุ้ม นิวเคลียส ได้แก่ โพรโทซัว เห็ด รา ยีสต์ ราเมือก สาหร่ายต่าง ๆ 5. การเคลื่อนที่ บางชนิดเคลื่อนที่ได้โดยใช้ ซีเลีย (Cilia) แฟลกเจลลัม (flagellum)หรือซูโดโปเดียม (Pseudopodium) บางชนิดเคลื่อนที่ ไม่ได้ 6. การสืบพันธุ์ ทั้งแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) และแบบ อาศัยเพศ (Sexual reproduction) แบบอาศัยเพศมีทั้งชนิดคอนจูเก ชัน (Conjugation)ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปร่างและขนาด เหมือนกัน มารวมกัน ดังเช่นที่พบในพารามีเซียม ราดา เป็นต้น และ ชนิดปฏิสนธิ (fertilization) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ ที่มีรูปร่าง และ ขนาด ต่างกันมารวมกัน ดังเช่นที่พบในสาหร่ายเป็นส่วนใหญ่ เป็นต้น
  • 5. สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบ่งเป็น 9 ไฟลัม คือ 1. ไฟลัมโพรโทซัว (PhylumProtazoa) 2. ไฟลัมคลอโรไฟตา (Phylum Chlorophyta) 3. ไฟลัมคริสโซไฟตา (PhylumChrysophyta) 4. ไฟลัมยูกลีโนไฟตา (PhylumEuglenophyta) 5. ไฟลัมเฟโอไฟตา (Phylum Phaeophyta) 6. ไฟลัมไพรโรไฟตา (Phylum Pyrrophyta) 7. ไฟลัมโรโดไฟตา (Phylum Rhodophyta) 8. ไฟลัมยูไมโคไฟตา (PhylumEumycophyta) 9. ไฟลัมมิกโซไมโคไฟตา (Phylum Myxomycophyta)
  • 6. ไฟลัมโปรโตซัว (Phylum Protozoa) ลักษณะสาคัญ 1. อยู่กันอย่างโดดเดี่ยว (solitary) บางกลุ่มรวมกลุ่มหรือ โคโลนี (colony) 2. ขนาดเล็ก 3. สมมาตร (symmetry) ของร่างกายแบบต่างๆ 4. ไม่มีเนื้อเยื่อ ไม่มีอวัยวะ มีนิวเคลียสหนึ่งหรือหลายนิวเคลียส 5. การดารงชีวิตโดยอิสระ (free-living) ภาวะพึ่งพากัน (mutaution)ภาวะอิงอาศัย (commensation) หรือภาวะปรสิต (parasitem)
  • 7. 6. เคลื่อนที่โดยใช้ - เท้าเทียม (psedopodia) เช่น อะมีบา - ซิเลีย (cilia) เช่น พารามีเซียม - แฟลกเจลลา (flagella) เช่น ยูกลีนา - ไม่มีอวัยวะในการเคลื่อนที่ เช่น พลาสโมเดียม 7.บางชนิดมีโครงร่างค้าจุนร่างกาย 8.การกินอาหาร (nutrition) มีทุกรูปแบบ 8.1autotrophic 8.2 heterotrophic 9. อาศัยอยู่ในน้า ในดิน บนบก ดารงชีวิตอิสระหรือแบบซิมไบโอซิส (symbioosis) 10. การสืบพันธุ์ (reproduction) 10.1 ไม่อาศัยเพศ ได้แก่ binary fission หรือ budding 10.2 อาศัยเพศ ได้แก่ conjugation หรือ syngamy เป็นการรวมตัวกันเป็นไซ โกต
  • 8. รูปร่างลักษณะโครงสร้างของเซลล์ - เซลล์ของโปรโตซัวมีลักษณะคล้ายกับเซลล์ของยูคาริโอต คือ ด้านนนอกของเซลล์ห่อหุ้มด้วยเยื่อหุ้มเซลล์ - ในไซโตพลาซึม แบ่งออกเป็น 2บริเวณ คือ 1. สารพวกคอลลอยด์ 2. ของเหลวมีแกรนูล - ภายในไซโตพลาซึมประกอบด้วยออร์แกแนล์ต่างๆ - นิวเคลียสมีหนึ่งหรือหลายนิวเคลียส เช่น พารามีเซียม มี นิวเคลียส 2 ชนิด คือ 1. ควบคุมเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ (Micronucleus) 2. ควบคุมเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม (Macronucleus)
  • 9. ไฟลัมคลอโรไฟตา (Phylum Chlorophyta) ได้แก่สาหร่ายสีเขียว ( greenalgae) มีทั้วหมดประมาณ 17,500 สปีชีส์ พบอยู่ในน้าจืดมากกว่าในน้าเค็ม พบในดินที่ เปียกชื้น แม่น้าลาคลอง ทะเลสาบ และในทะเล แหล่งที่พบ พบ ทั่วไปตามน้าจืด และในทะเล เช่น อะเซตาบูลาเรีย (มีมาก เกิดปรากฎการณ์ เรียกว่า วอเตอร์บลูม
  • 10. ลักษณะ 1.จานวนเซลล์มีทั้งพวกเซลล์เดี่ยวหรือหลายเซลล์ต่อกันเป็นสายยาว หรือรวมกันเป็นกลุ่ม มีทั้งเคลื่อนที่ได้ และ เคลื่อนที่ไม่ได้ - พวกเซลล์เดียวที่เคลื่อนที่ได้ โดยมีแฟลกเจลลัมใช้โบกพัด จานวน 2-4เส้น เช่น แคลมมิโดโมแนส ( Chlamydomonas) - พวกเซลล์เดียวที่เคลื่อนที่ไม่ได้ โดยไม่มีแฟลกเจลลัม เช่น คลอเรลลา(Chlorella)คลอโรคอคคัม (Chlorococcoum) - พวกหลายเซลล์ต่อกันเป็นสายยาว เช่น ยูโลทริกซ์ (Ulothrix)อีโดโกเนียม (Oedogonium) สไปโรไจรา หรือเทา น้า (Spirogyra) - พวกหลายเซลล์เป็นกลุ่ม (Clolnial forms)เช่น วอลวอกซ์ (Volvox)เพดิแอสดรัม(Pediastrum)ซีนเตสมัน (Scenedesmus) 2.รงควัตถุที่พบจะเป็นเช่นเดียยวกับที่พบในพืชชั้นสูง คือ มีคลอโรฟิลล์ เอ,คลอโรฟิลล์ บี,คาโรทีน และแซนโท ฟิลล์รงควัตถุทั้งหมดนี้จะประกอบกันด้วยอัตราส่วนที่เหมือนกับพวกพืชชั้นสูงจึงทาให้มีสีเขียวสด รงควัตถุทั้งหมด นี้จะรวมกันอยู่ในเม็ดสี หรือพลาสติด(Plastid) ที่เรียกว่า คลอโรพลาสต์ โดยอาจจะมี 1 อัน หรือมากกว่า 1 อัน คลอโรพลาสต์ของสาหร่ายสีเขียวมีรูปร่างหลายแบบ เช่น - รูปร่างเป็นเม็ด ๆ พบใน ไบรออปซิส(Bryopsis) - รูปร่างเป็นเกลียว พบใน สไปโรไจรา (Spirogyra) - รูปร่างเป็นคล้ายร่างแห พบใน อีโดโกเนียม (Oedogonium) - รูปร่างเป็นแผ่น พบใน ยูโลทริกซ์ (Ulothrix) - รูปร่างเป็นรูปดาว พบใน ซิกนีมา (Zygnema)
  • 11. 3. โครงสร้างของผนังเซลล์ ประกอบด้วย เซลลูโลส (Cellulose) บางชนิดมีเปกติน (Pectin) เคลือบอยู่ภายนอกบาง ๆ บางชนิดมีแคลเซียมคาร์บอเนต (Calcium Carbonate) 4. อาหารที่เก็บไว้ก็คือ ไพรีนอยด์ (Pyrenoids) อยู่ในเม็ดคลอโรพลาสต์ เข้าใจว่าไพรี นอยด์เป็นโครงสร้างที่มีโปรตีนเป็นแกนกลาง และมีแผ่นแป้ งหุ้มล้อมรอบอยู่ 5. การสืบพันธุ์ -แบบไม่อาศัยเพศ โดยการแบ่งเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน ในพวกเซลล์เดียว หรือหักสาย (Fragmentation) หรือสร้างสปอร์ -แบบอาศัยเพศ โดยคอนจูเกชัน (Conjugation) หรือการปฏิสนธิ (Fertilization) 6. แหล่งที่อยู่ สาหร่ายสีเขียวพบในน้าจืดเป็นส่วนใหญ่ ในน้าเค็มก็มีบ้างตามที่ชื้น แฉะทั่วไป เปลือกไม้ ใบไม้ ก้อนหินเปียก ๆ และบนหิมะก็มี บางชนิดอยู่ในภาวะ พึ่งพากับรา เกิดเป็นไลเคน บางชนิดก็เป็นปรสิตของพืชชั้นสูง ความสาคัญ เป็นสารอาหาร เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และวิตามินสูง
  • 12. ไฟลัมคริสโซไฟตา (Phylum Chrysophyta) ได้แก่พวกสาหร่ายสีน้าตาลแกมเหลือง หรือสาหร่ายสีทอง แหล่งที่พบ พบได้ทั่วไปทั้งในน้าจืด น้าเค็ม
  • 13. ลักษณะ 1.สาหร่ายสีน้าตาลแกมทอง ( goldenbrownalgae) มีประมาณ 16,600สปีชีส เป็นผู้ผลิตที่มีมากที่สุดในทะเล 2.รงควัตถุที่พบในเซลล์มีรงควัตถุสีเขียว คือ คลอโรฟิลล์ เอ และคลอโรฟิลล์ ซี และมีรงควัตถุสีน้าตาล คือ ฟิว โคแซนทิน (Fucoxanthin)ซึ่งมีมากที่สุดถึง 75% ของรงควัตถุทั้งหมด และลูเทอริน (Luthein)ปริมาณมากกว่า คลอโรฟิลล์จึงทาให้มีสีน้าตาลแกมทอง 3.มีทั้งพวกเซลล์เดียวและหลายเซลล์อยู่กันเป็นสายหรือรวมเป็นกลุ่ม 4.ผนังเซลล์มีสารพวกซิลิกา (Sillica) สะสมอยู่ประมาณ 95% ทาให้มีลวดลายสวยงามมาก ผนังเซลล์ที่มีซิลิกา เรียก ฟรุสตุล(Frustule) ฟรุสตุลประกอบด้วย ฝา 2 ฝา ครอบกันอยู่สนิทแน่น แต่ละฝาเรียกทีกา (Theca) ฝาบน เรียก อีพิทีกา (Epitheca)มีขนาดใหญ่กว่าครอบอยู่บนฝาล่างซึ่งมีขนาดเล็กกว่าเล็กน้อย เรียก โฮโปทีกา (Hypotheca) 5.อาหารสารองภายในเซลล์คือ หยดน้ามัน (Oil droplet)และเม็ดเล็ก ๆ ของสารประกอบคาร์โบโฮเดรตชนิด พิเศษ เรียกว่า ลิวโคซิน(Leucosin)หรือ คริโซลามินารีน(Chrysolaminarin) 6.การสืบพันธุ์มีทั้งแบบไม่อาศัยเพศโดยการแบ่งเซลล์ออกเป็น 2ส่วน ซึ่งเป็นการเพิ่มจานวนที่พบเสมอ ๆ ส่วนอีก แบบหนึ่งเป็นแบบอาศัยเพศ ความสาคัญ มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ เช่น ไดอะตอมมีสารพวกซิลิกา
  • 14. ไฟลัมยูกลีโนไฟตา (Phylum Euglenophyta) สาหร่ายในดิวิชันนี้เรียกว่า ยูกลีนอยด์ (euglenoid)ซึ่ง จัดเป็นโปรโตซัวในคลาสแฟลก เจลลาตาด้วย แหล่งที่พบ ในน้าจืด ในดินชื้นแฉะ
  • 15. ลักษณะ 1 มีคลอโรฟิลล์เป็นชนิด เอ และ บี คาโรทีน แซนโทฟิลล์ 2 อาหารสะสมเป็นแป้ ง เรียกว่า พาราไมลัม (Paramylum) 3 ไม่มีผนังเซลล์ มีแต่เยื่อเซลล์เหนียวๆ เรียกว่า Pellicleทาหน้าที่เป็น ขอบเขตของเซลล์ 4 เป็นเซลล์เดียวมีแฟลกเจลลา 1-3 เส้นอยู่ทางด้านหน้า 5 ตัวอย่างของสาหร่ายดิวิชันนี้ได้แก่ ยูกลีนา (Euglena) และฟาคัส (Phacus) ความสาคัญ มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ เช่น ไดอะตอมมีสารพวกซิลิกา
  • 16. ไฟลัมเฟโอไฟตา (Phylum Phaeophyta) ได้แก่พวก สาหร่ายสีน้าตาล แหล่งที่พบ ในน้าเค็ม
  • 17. ลักษณะ 1. สาหร่ายในไฟลัมพีโอไฟตา เรียกโดยทั่วไปว่าสาหร่ายสีน้าตาล (Brown algae) ทั้งนี้เพราะมีรงควัตถุที่ทาให้เกิดสีน้าตาล คือ ฟิวโคแซนทีน (Fucoxanthin) อยู่ มากกว่าคลอโรฟิลล์ เอ และคลอโรฟิลล์ ซี สาหร่ายสีน้าตาลมีมากในทะเลตามแถบ ชายฝั่งที่มีอากาศเย็น มีเพียง 35 จีนัสที่พบในน้าจืด สาหร่ายสีน้าตาลมักเรียกชื่อ ทั่วไปว่า sea weed เพราะเป็นวัชพืชทะเล 2. ผนังเซลล์เป็นสารพวกเซลลูโลสและกรดอัลจินิก (alginicacid)ซึ่งสามารถสกัด สารอัลจิน (algin) มาใช้ประโยชน์ได้ 3. รูปร่างและขนาดแตกต่างกันไป มีตั้งแต่ขนาดเล็กต้องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ จนถึง ขนาดใหญ่มองเห็นด้วยตาเปล่า บางชนิดมีรูปร่างเป็นสายยาวแตกกิ่งก้าน เช่น Ectocarpus บางชนิดมีรูปร่างเป็นแผ่นแผ่แบนหรือคล้ายใบไม้โบกไหวอยู่ในน้า เช่น Laminariaบางชนิดคล้ายต้นปาล์มขนาดเล็กเรียกว่า Sea palm บางชนิดคล้าย ต้นไม้เล็ก ๆ เช่น Sargassum หรือสาหร่ายนุ่น หรือรูปร่างคล้ายพัด เช่น Padina
  • 18. 4.สาหร่ายสีน้าตาลมีหลายเซลล์ พวกที่มีขนาดใหญ่มากเรียกว่า เคลป์ (Kelp) ซึ่งอาจมีความยาว 60-70เมตร เช่น Macrocystis ,Nereocystisพวกที่มี ขนาดใหญ่มักมีลักษณะเหมือนพืชชั้นสูงประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ 4.1โฮลด์ฟาสต์(Haldfast)คือส่วนที่ทาหน้าที่เป็นราก สาหรับยึดเกาะแต่ ไม่ได้ดูดแร่ธาตุเหมือนพืชชั้นสูง โฮลด์ฟาสต์ของพวกนี้สามารถแตกแขนง ได้มาก และยึดเกาะได้แข็งแรง 4.2สไตป์ (Stipe) หรือคอลลอยด์ (Colloid) คือส่วนที่อยู่ถัดจากรากขึ้นมา ทาหน้าที่คล้ายลาต้น 4.3เบลด (Blade)หรือลามินา (Lamina)หรือฟิลลอยด์ (Phylloid) คือ ส่วนที่ทาหน้าที่เป็นใบ บางชนิดมีถุงลม (air bladderหรือ Pneumatocyst) อยู่ที่โคนใบเพื่อช่วยพยุงให้ลอยตัวอยู่ได้ในน้า จากลักษณะดังกล่าวจึงถือกัน ว่าสาหร่ายสีน้าตาลมีวิวัฒนาการสูงสุดในบรรดาสาหร่ายด้วยกัน (ยกเว้น สาหร่ายไฟ)
  • 19. 5. ส่วนประกอบของผนังเซลล์ เซลล์ของสาหร่ายสีน้าตาลประกอบด้วย 5.1 ผนังเซลล์ มี 2 ชั้น ชั้นในเป็นพวกเซลลูโลส ชั้นนอกเป็นสารเมือก กรดอัลจินิกซึ่ง จะอยู่ที่ผนังเซลล์และช่องว่างระหว่างเซลล์ โดยมีประมาณถึง 24% ของน้าหนักแห้ง กรดอัลจินิกนี้เมื่อสกัดออกมาจะอยู่ในรูปของเกลืออัลจิเนต สาหรับใช้ใน อุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยมีคุณสมบัติเป็นตัวทาให้เกิดอิมัลชัน ( Emulsifying agent) และเป็นตัวคงรูป (Stabillzing agent) 5.2 คลอโรพลาสต์ มีเพียง 1 อัน หรือมีจานวนมากในแต่ละเซลล์ขึ้นอยู่กับชนิด คลอ โรพลาสต์ จะมีลักษณะกลมแบน (Platelike)หรือเป็นแฉกรูปดาว ไพรีนอยด์เกิด เดี่ยว ๆ เป็นแบบมีก้านติดอยู่ข้าง ๆ คลอโรพลาสต์ โดยมีผนังคลอโรพลาสต์หุ้มรวม ไว้ 5.3 นิวเคลียสมีเพียง 1 อัน ในแต่ละเซลล์ 5.4 อาหารสะสมมี 3 ชนิด ได้แก่ 1. โพลีแซกคาไรด์ที่ละลายน้า ได้แก่ ลามินาริน (Laminarin) หรือลามินาเรน (Laminaran) มีปริมาณตั้งแต่ 2-34 % ของน้าหนักแห้ง 2. แมนนิตอล (Mannitol) พบเฉพาะในสาหร่ายสีน้าตาลเท่านั้น 3. น้าตาลจาพวกซูโครส (Sucrose) และกลีเซอรอล (Glycerol)
  • 20. 6. การสืบพันธุ์ สาหร่ายสีน้าตาลมีการสืบพันธุ์ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่ อาศัยเพศ โดยมีวงชีวิตแบบสลับ (Alternation of generation)คล้าย กับพืช ความสาคัญ 1. Laminaraใช้ทาปุ๋ ยโปตัสเซียม 2. Laminaraและ Kelp สกัดได้จากสารแอลจิน (algin) ทาไอศกรีม พลาสติก สบู่
  • 21. ไฟลัมไพรโรไฟตา (Phylum Pyrrophyta) สมาชิกในไฟลัมนี้นิยมเรียกว่า ไดโนแพลเจลเลต (Dinoflagellates)เพราะมีแฟลกเจลลา 2 เส้น ยาวไม่เท่ากัน เส้นหนึ่งอยู่ในร่องตามขวางของเซลล์ อีกเส้นหนึ่งอยู่ในร่อง ตามยาวของเซลล์ บางชนิด แฟลกเจลลัมอยู่ด้านหน้าทั้ง 2 เส้น แต่อย่างไรก็ตามสมาชิกที่มีหลายเซลล์อยู่เป็นกลุ่มและเป็นสาย ไม่เคลื่อนที่ก็มีเหมือนกัน และมีมากกว่า 1,000 ชนิด ที่สีปรากฏ ค่อนไปทางสีแดงเปลวไฟ ดังนั้นบางท่านจึงเรียกว่า สาหร่ายสี เปลวไฟ (Fire algae) แหล่งที่พบ ในน้าเสีย
  • 22. ลักษณะ 1. รงควัตถุภายในเซลล์มีคลอโรฟิลล์ เอ และคลอโรฟิลล์ ซี แคโรทีนแซนโธฟิลล์ หลายชนิด ที่ สาคัญคือ เพอริดินัม (Peridinum) และไดโนแซนธิน(Dinoxanthin) 2. อาหารสะสม คือ แป้ ง (Starch) ซึ่งสะสมไว้ในหรือนอกคลอโรพลาสต์ นอกจากนั้นอาจมีหยด น้ามัน 3. บางชนิดไม่มีผนังเซลล์ห่อหุ้ม เซลล์จะเปล่าเปลือย เช่น ยิมโนดิเนียม (Gymnodinium) 4. พบมากในทะเล บางพวกเรืองแสงได้ในที่มืด (Bioluminescence) ที่เราเรียกว่า พรายน้า บางชนิดพบในน้าจืดและน้ากร่อย 5. การสืบพันธุ์โดยมากเป็นแบบไม่อาศัยเพศโดยการแบ่งเซลล์และมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ บ้าง ความสาคัญ Dinoflagellate ในทะเลมาก เรียกว่า น้าพิษสีแดงหรือขี้ปลาวาฬ (Red tide) ขี้ ปลาวาฬ (Red tide ) มีอันตรายกับสิ่งมีชีวิต
  • 23. ไฟลัมโรโดไฟตา (Phylum Rhodophyta) ได้แก่พวก สาหร่ายสีแดง แหล่งที่พบ ส่วนใหญ่พบในทะเล
  • 24. ลักษณะ 1. สาหร่ายในไฟลัมนี้เรียกว่า สาหร่ายสีแดง (red algae) มีอยู่ ประมาณ 3,900 สปีซีส์ รงควัตถุภายในพลาสติดที่มีปริมาณมากนั้นมีสี แดง คือ คลอโรฟิลล์ ดี และไฟโคอิริทริท (Phycoerythrin) บางครั้ง สาหร่ายสีแดงอาจปรากฏเป็นสีน้าเงินเพราะมีรงควัตถุพวกไฟโคไซยา นิน (Phycocyanin) รวมอยู่ในพลาสติดด้วย อย่างไรก็ตามสาหร่ายสี แดงก็มี คลอโรฟิลด์ เอ ซึ่งเป็นรงควัตถุหลักในการสังเคราะห์แสง และที่ น่าสนใจอีกอย่างก็คือสาหร่ายแดงมีรงควัตถุแบคทิริโอคลอโรฟิลล์ เอ เหมือนดังที่พบในแบคทีเรียที่สังเคราะห์แสงด้วย
  • 25. 2.ส่วนประกอบของเซลล์ 2.1ผนังเซลล์ ประกอบด้วยผนังเซลล์ชั้นใน เป็นพวกสารเซลลูโลส และผนัง เซลล์ชั้นนอกเป็นสารเมือกพวกซัลเฟตเตต แกแลกแตน (Sulfated galactan)ได้แก่ วุ้น (Agar)พอร์ไฟแรน(Porphyran) เฟอร์เซลเลอแรน (Furcelleran) และคาร์ราจีแนน(Carrageenan) 2.2คลอโรพลาสต์มี 2 แบบ คือบางพวกมีลักษณะเป็นแฉกรูปดาว และมี ไพรีนอยด์ตรงกลาง บางพวกมีลักษณะกลมแบน 2.3อาหารสะสมเป็นแป้ งมีชื่อเฉพาะว่า ฟลอริเดียนสตาซ (Floridean starch) อยู่ในไซโทพลาสซึม นอกจากแป้ งแล้วยังสะสมไว้ในรูปของน้าตาล ฟลอริโดไซด์ (Floridoside)ซึ่งทาหน้าที่เหมือนน้าตาลซูโครสในสาหร่ายสี เขียวและพืชชั้นสูง 2.4สาหร่ายสีแดงเป็นสาหร่ายพวกเดียวที่ทุกระยะไม่มีแฟลกเจลลัมในการ เคลื่อนที่
  • 26. 2.5ภายในเซลล์มีทั้งชนิดที่มีนิวเคลียสเดียว และหลายนิวเคลียส 2.6ส่วนใหญ่อยู่ในทะเลมีบางชนิดเท่านั้นที่อยู่ในน้าจืด 2.7ตัวอย่างของสาหร่ายในไฟลัมนี้ได้แก่ -พอร์ไฟรา (Porphyra) เมื่อตากแห้งแล้วใช้ใส่แกงจืดที่เรียกกันว่า จีฉ่าย กราซิลาเรีย(Gracilaria) นามาสกัดสารคาร์แรกจิแนน(carrageenan)ใช้ ในการทาวุ้น (agar) ซึ่งมีความสาคัญในการทาอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ ทา เครื่องสาอาง ทายาขัดรองเท้า ครีมโกนหนวด เคลือบเส้นใย ใช้ทาแคปซูลยา ทายา และใช้เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เห็ดรา และราเมือก -กราซิลาเรีย(Gracilaria) นาสารสกัดสารคาร์แรกจิแนน(Carrageenan) ใช้ในการทาวุ้น (agar)ซึ่งมีความสาคัญในการทาอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ ทา เครื่องสาอาง ทายาขัดรองเท้า ครีมโกนหนวด เคลือบเส้นใย ใช้ทาแคปซูลยา ทายา และใช้เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
  • 27. ความสาคัญ 1. Porphyra (จีฉ่าย)ใส่แกงจืด 2.Gracilaria ต้นเครามังกร หรือสาหร่ายวุ้น สกัดได้วุ้น
  • 28. ไฟลัมยูไมโคไฟตา(Phylum Eumycophyta) สมาชิกในไฟลัมนี้เรียก ราแท้ (True fungi)ตัวอย่างได้แก่ เห็ด รา แหล่งที่พบ ส่วนใหญ่พบในทะเล
  • 29. ลักษณะ 1.โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก(Eucariyotic cell)ส่วนมากมี หลายเซลล์ ยกเว้น ยีสต์ซึ่งมีเซลล์เดียว 2.ไม่มีคลอโรฟิลล์ จึงไม่สามารถสร้างอาหารได้ ต้องใช้อาหารจากสิ่งมีชีวิต ชนิดอื่น 3.ผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลลูโลส ไคติน (chitin)และลิกนิน 4. ร่างกายประกอบด้วยกลุ่มของเส้นใย เส้นใยแต่ละเส้นเรียกว่า ไฮฟา (Hypha) เส้นใยเหล่านี้มักรวมกันเป็นกระจุกเรียกว่า ไมซีเลียม (Mycelium)ในเห็ดเส้นใยมาอัดกันอยู่แน่นเป็นโครงสร้างสาหรับสร้าง สปอร์ คือ ฟรุดติง บอดี (Fruitingbody) ที่เรียกกันว่าดอกเห็ดนั่นเอง ยกเว้นในยีสต์ที่มีเพียงไฮพาเพียงอันเดียว เพราะมีเซลล์เดียว ไฮพาทาหน้าที่ หลั่งน้าย่อย ย่อยซากสิ่งมีชีวิต และสามารถสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศได้อีก ด้วย เส้นใยของราแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
  • 30. 4.1 เส้นใยมีผนังกั้น (septate hypha) คือ เส้นใยที่มีผนังกั้นทาให้มองดูเป็นห้องที่มีไซโตปลา สซึมและนิวเคลียส 4.2 เส้นใยที่ไม่มีผนังกั้น (nonseptate hypha) คือ เส้นใย ที่ไม่มีผนังกั้นทาให้มองดูทะลุ ตลอดเส้นใย ประกอบด้วยไซโตปลาสซึมและนิวเคลียสหลายนิวเคลียสกระจายอยู่ตลอด เส้นใย 5. การดารงชีพเป็นผู้ย่อยอินทรียสารโดยการหลังน้าย่อยออกมาย่อยอาหารแล้วจึงดูด อาหารโมเลกุลเล็กกลังเข้าสู่เซลล์ ไมซีเลียมอาจปรากฏเป็นกระจุกอยู่บนผิวหรือภายใต้ผิว ของก้อนอาหาร เห็ดราบางชนิดที่เป็นปรสิตจะมีเส้นใยพิเศษ เรียกว่า ฮอสทอเรียม (Houstorium) แทงเข้าไปดูดอาหารจากเซลล์ของโฮสต์โดยตรง 6. รามีทั้งการสืบพันธุ์แบบอาศัย เพศและแบบไม่อาศัยเพศ แบบไม่อาศัยเพศโดยการ แบ่งตัว (fission) การแตกหน่อ (budding) การหักหรือขาดออกของสาย (fragmentation) และการสร้างสปอร์ (spore formation) สาหรับแบบอาศัยเพศโดยการเทียบสาย (conjugation) แล้วมีการเคลื่อนตัวของไซโตปลาสซึม และนิวเคลียสเข้าผสมกัน เห็ดราเป็น ผู้ย่อยอินทรียสารที่สาคัญมาก แต่ก็มีบางชนิดที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่มนุษย์ เช่น ทาให้ อาหารบูดเสีย ทาให้เกิดโรคแก่สัตว์และพืช ทาให้บ้านเรือน เสื้อผ้า และเครื่องใช้เสียหาย เป็นต้น
  • 32. ลักษณะ 1. มีเซลล์เป็นแบบยูคาริโอต ไม่มีผนังเซลล์ไม่มีคลอโรฟิลล์ประกอบด้วยกลุ่มของ โปรโตปลาสซึมที่แผ่กระจายมีลักษณะเป็นเมือก 2. การสืบพันธุ์มีวงชีวิตที่มีลักษณะคล้ายสัตว์สลับกับวงชีวิตคล้ายพืช คือ ในภาวะ ปกติของชีวิต มีลักษณะเป็นกลุ่มของโปรโตปลาสซึม แผ่กระจายคล้ายแผ่นวุ้น เซลล์ แต่ละเซลล์ไม่มีผนังกั้น จึงทาให้นิวเคลียสกระจายอยู่ทั่วไปในเซลล์ มองดูคล้าย ร่างแหเรียกว่า พลาสโมเดียม ( Plasmodium )สามารถเคลื่อนที่และกินอาหารได้ แบบอะมีบา ( Amoeboid movement ) พอถึงระยะที่มีการสืบพันธุ์ ราเมือกจะ สร้างอับสปอร์ ( Sporangium ) ซึ่งภายในมีสปอร์ที่มีผนังเซลล์เป็นสารพวก เซลลูโลสเช่นเดียวกับพืช 3. ราเมือกดารงชีวิตแบบภาวะมีการย่อยสลาย ( saprophytism ) แต่มีบางชนิด เช่น พลาสโมดิโอฟอรา ( plasmodiophora )ทาให้เกิดโรครากโป่งในกะหล่าปลี และผักอื่นๆ
  • 33. วงชีพของราเมือก ในระยะที่เรามักเห็นราเมือกได้ชัด คือ ภาวะปกติของราเมือกจะมีลักษณะ คล้ายแผ่นวุ้นขนาดใหญ่ประกอบด้วยเซลล์จานวนมาก รวมกันโดยไม่มีผนัง กั้นเซลล์ จึงเห็นเป็นแผ่นมีนิวเคลียสจานวนมาก มองดูคล้ายกับมีร่างแหอยู่ ในแผ่นวุ้น ราเมือกอาจมีสีส้ม เหลือง ขาว หรือ ใส แผ่นวุ้นนี้เคลื่อนที่ได้ คล้ายอะมีบาเรียกระยะนี้ว่า พลาสโมเดียม ต่อมาถึงระยะที่มีการสืบพันธุ์ รา เมือกจะหยุดเคลื่อนที่และเริ่มสร้างอับสปอร์ ระยะนี้เรียก ฟรุตติ้ง บอดี ( Fruitingbody) เมื่อสปอร์แก่ อับสปอร์แตกออก สปอร์ตกลงงอกเป็นเซลล์ เล็กๆ เคลื่อนที่ได้ต่อมาเกิดการรวมตัวของเซลล์เล็กๆนี้เข้าด้วยกัน เป็นไซ โกต ซึ่งจะเจริญเติบโตเป็นแผ่นวุ้นเคลื่อนที่หากินต่อไป ดังนั้น วงชีวิตของรา เมือกจึงเป็นแบบสลับ ( alternationofgeneration)
  • 35. จัดทาโดย นาย ชิษณุพงศ์ คาเสาร์ เลขที่ 22 นางสาว จิรกานต์ ศรีวิยศ เลขที่ 23 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย