SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 30
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 3
                                                          อนุกรมอนันต
       อนุกรมอนันต (Infinite series) เปนผลบวกที่มีจํานวนพจนนับไมถวน อนุกรมอนันตมี
การประยุกตใชในสาขาวิศวกรรมศาสตร วิทยาศาสตร และในหลายสาขาวิชาของคณิตศาสตร


        ผลบวกที่มีพจนเปนจํานวนมากนับไมถวนนั้นมีตัวอยางของผลบวกที่คุนเคยกันมากเกิดขึ้น
                                                   1
จากการแทนจํานวนจริงดวยทศนิยม เชน เมื่อเขียน            ในรูปทศนิยม จะได
                                                   3
          1
            = 0.33333... นั้นหมายถึง
          3
          1
            = 0.3 + 0.03 + 0.003 + 0.0003 + 0.00003 + ...
          3
        แสดงวาการแทน 1 ดวยทศนิยม อาจจะพิจารณาเปนผลบวกของจํานวนจริงหลายจํานวน
                       3
นับไมถวนได

ผลบวกของอนุกรมอนันต

นิยาม 1 อนุกรมอนันต คือ นิพจน (expression) ที่อยูในรูปของ

                             u1 + u2 + u3 + K + uk + K

หรือเขียนในรูปสัญลักษณผลรวมไดเปน
                                                           ∞
                             u1 + u2 + u3 + K + uk + K = ∑ uk
                                                          k =1


         เรียกจํานวน u1 , u 2 , u3 , ... วา พจนของอนุกรม และจะเรียก “อนุกรมอนันต’’ เพียงสั้น ๆ
วา “อนุกรม”

                 ∞
                        1          1 1 1       1
เชน             ∑k
                 k =1
                            = 1+    + + + ... + + ...
                                   2 3 4       k




                        โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
2

                      ∞
                               1          1             1     1     1               1
                      ∑ k (k + 1) = 1 ⋅ 2 + 2 ⋅ 3 + 3 ⋅ 4 + 4 ⋅ 5 + ... + k (k + 1) + ...
                      k =1




             อนุกรมและลําดับมีความเกี่ยวพันกันอยางมากดังตอไปนี้
กําหนดให
                                    S1 = u1
                                    S 2 = u1 + u 2
                                    S3 = u1 + u2 + u3

                                         M
                                                                         n
                                    S n = u1 + u 2 + u 3 + ... + u n = ∑ u k
                                                                        k =1


                                                                                    ∞
            นั่นคือ    Sn     เปนผลบวกของ              n   พจนแรกของอนุกรม ∑ uk เรียกวา ผลบวกยอยที่
                                                                                   k =1
                                             ∞
n ( n th partial   sum) ของอนุกรม ∑ u ซึ่งจะเห็นวาจากผลบวกยอยตาง ๆ นี้ สามารถนํามาสราง
                                                    k
                                             k =1

เปนลําดับไดดังนี้

                {Sn } = S1 , S 2 , S 3 ,..., S n ,... เรียกวา ลําดับของผลบวกยอย นั่นเอง

          จากตัวอยางผลบวกของ 0.3 + 0.03 + 0.003 + 0.0003 + 0.00003 + ... นั้น เราไม
สามารถบวกจํานวนเลขหลายจํานวนนับไมถวนเขาดวยกันไดดงนั้นจึงตองนิยามผลบวกของ
                                                     ั
อนุกรมและคํานวณคาโดยวิธลิมต
                        ี ิ

            เพื่อขยายผลจากแนวคิดพื้นฐานพิจารณาทศนิยม 0.33333... ซึ่งสามารถเขียนเปน
อนุกรมไดดังนี้

                      0.3 + 0.03 + 0.003 + 0.0003 + 0.00003 + ...


                       3   3   3   3   3
หรือ                     + 2 + 3 + 4 + 5 +K
                      10 10   10 10   10


                                1                                              1
เนื่องจาก   0.33333K =              ดังนั้นผลบวกของอนุกรมควรจะเปน                 ดวย
                                3                                              3

                       3   3   3   3   3      1
นั่นคือ                  + 2 + 3 + 4 + 5 +K =
                      10 10   10 10   10      3


                             โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
3


         การหาผลบวกของอนุกรมทําไดโดยการพิจารณาลําดับของผลบวก ดังนี้
                                  3
                          S1 =      = 0.3
                                 10

                                  3   3
                          S2 =      + 2 = 0.33
                                 10 10

                                  3   3   3
                          S3 =      + 2 + 3 = 0.333
                                 10 10 10

                                  3   3   3   3
                          S4 =      + 2 + 3 + 4 = 0.3333
                                 10 10 10 10

                                  3   3   3   3   3
                          S5 =      + 2 + 3 + 4 + 5 = 0.33333
                                 10 10   10 10   10

                                                 M

          สําหรับ S1 , S 2 , S 3 , S 4 , S 5 K สามารถใชเปนการประมาณผลบวกของอนุกรมได ใน
ลําดับของผลบวกดังกลาว หากมีการใชพจนของอนุกรมมากขึ้น ๆ และการประมาณคาก็จะดีขึ้น
                                             1
ตามลําดับ และลิมิตของลําดับควรจะเปน                 นั่นเอง
                                             3

          เพื่อใหเห็นวาลิมิตเปน   1
                                         จริงนั้น จะตองคํานวณลิมิตของพจนทั่วไป (S n ) ในลําดับที่ใช
                                     3
ประมาณคา ในที่นี้พจนทั่วไปคือ

                                                                            .......... (1)
                         3   3   3   3   3    3
                 Sn =      + 2 + 3 + 4 + 5 K+ n
                        10 10   10 10   10   10


จากนั้นทําการหา lim S n จะไดวา
                n→∞




                              ⎡3   3  3   3   3     3 ⎤
                lim S n = lim ⎢ + 2 + 3 + 4 + 5 K + n ⎥
                n→∞
                              ⎣
                          n →∞ 10 10 10 10   10    10 ⎦


            จะเห็นไดวา การหาลิมิตคอนขางยุงยากเพราะทั้งพจนสุดทายและจํานวนพจนเปลี่ยน
ตามคา n จึงตองพยายามเขียนลิมิตใหอยูในรูปที่จํานวนพจนไมแปรคาได ถาหากสามารถทําได ใน
ที่น้อาจทําไดดังนี้
     ี




                     โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
4


                                                                     .......... (1)
                                3   3   3   3   3    3
จาก                     Sn =      + 2 + 3 + 4 + 5 K+ n
                               10 10   10 10   10   10

สมการ (1) × 10

                                                                                 .......... (2 )
                    1       3   3   3   3   3     3    3
                      S n = 2 + 3 + 4 + 5 + 6 K + n + n +1
                   10      10  10 10   10 10     10  10


แลวนํา (1) − (2) ได
                    1       3   3
            Sn −      S n = − n+1
                   10      10 10

                    9       3     3
                      Sn =    −
                   10      10 10 ⋅ 10 n


                    9       3⎛   1 ⎞
                      S n = ⎜1 − n ⎟
                   10      10 ⎝ 10 ⎠


                                3 10 ⎛   1 ⎞
                        Sn =      ⋅ ⎜1 − n ⎟
                               10 9 ⎝ 10 ⎠


                             1⎛    1 ⎞
นั่นคือ                 S n = ⎜1 − n ⎟
                             3 ⎝ 10 ⎠

                                1⎛   1 ⎞
และไดวา        lim S n = lim ⎜1 − n ⎟
                 n→∞       n →∞ 3
                                  ⎝ 10 ⎠

                           =
                               1
                                 (1 − 0)
                               3

                               1
                           =
                               3

ซึ่งอาจจะแทนดวยการเขียน
                        1    3   3   3   3   3       3
                          =    + 2 + 3 + 4 + 5 + K + n + ...
                        3   10 10   10 10   10      10




                         โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
5

                                                                             ∞
          จากตัวอยางที่กลาวขางตน จะนิยามแนวคิดของผลบวกของอนุกรม ∑              uk ไดดังนี้
                                                                            k =1
                                                               ∞
          จาก S n เปนผลบวกของ n พจนแรกของอนุกรม ∑ uk นั้น ในขณะที่ n มีคาเพิ่มขึ้น
                                                            k =1

ผลบวกยอย S n = u1 + u 2 + ... + u n จะรวมพจนของอนุกรมมากขึ้น ๆ ดังนั้นถา S n มีคาเขาใกล
ลิมตคาหนึ่งขณะที่ n → ∞ แลวคาลิมิตนั้นจะเปนผลบวกของทุกพจนในอนุกรมนั้น เขียนเปน
   ิ
นิยามดังนี้

การลูเขาของอนุกรม
                                                            ∞
นิยาม 2 ให {Sn } เปนลําดับของผลบวกยอยของอนุกรม ∑ uk ถาลําดับ {Sn } ลูเขาสูลิมิต S
                                                           k =1

หรือ lim S n = S แลวจะเรียกอนุกรมนี้วา อนุกรมลูเขา และเรียก S วา ผลบวกของอนุกรม เขียน
     n →∞
                ∞
แทนดวย S = ∑ uk
               k =1


                                                           ∞
นิยาม 3 ให {Sn } เปนลําดับของผลบวกยอยของอนุกรม ∑ uk ถาลําดับของผลบวกยอยลูออกหรือ
                                                           k =1

lim S n
n→∞
          หาคาไมไดแลว จะเรียกอนุกรมนี้วา อนุกรมลูออก และจะไมมีผลบวก

ตัวอยาง 1 จงพิจารณาวา อนุกรม 1 − 1 + 1 − 1 + 1 − 1 + K ลูเขาหรือลูออก ถาลูเขาจงหาผลบวก

วิธีทํา อนุกรมนี้มีพจนเปนคาบวกและลบสลับกันไป โดยมีคาของผลบวกยอยดังนี้

                          S1 = 1

                          S2 = 1 − 1 = 0

                          S3 = 1 − 1 + 1 = 1

                          S4 = 1 − 1 + 1 − 1 = 0

                          S5 = 1 − 1 + 1 − 1 + 1 = 1   …

        ดั้งนั้นทําใหมีลําดับของผลบวกยอยดังนี้ 1, 0, 1, 0, 1, 0,K ซึ่งพจนในลําดับนี้มีคาสลับกัน
ระหวาง 1 และ 0 ไมมคาลูเขาสูคาใดคาหนึ่ง จึงไมมีลิมิต
                       ี

       นั่นคือลําดับของผลบวกยอยนี้เปนลําดับลูออก โดยนิยามจึงไดวาอนุกรมที่กําหนดเปน
                                                                   
อนุกรมลูออกเชนเดียวกันและไมมีผลบวก


                      โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
6


อนุกรมเรขาคณิต (Geometric Series)

นิยาม 4 อนุกรมเรขาคณิต คืออนุกรมที่สามารถเขียนใหอยูในรูปดังนี้

                   a + ar + ar 2 + ar 3 + K + ar k −1 + K   , (a ≠ 0)

            สังเกตไดวาแตละพจนไดจากการคูณพจนกอนหนาดวยโดยคาคงตัว r และเรียกตัวคูณ
r   วา อัตราสวนรวม (Common Ratio) ของอนุกรมนั้น

ตัวอยางของอนุกรมเรขาคณิต

1 + 2 + 4 + 8 + K + 2k −1 + K                               : a = 1, r = 2

 3   3   3        3                                                 3      1
   + 2 + 3 + K + k −1 + K                                   :a =      ,r=
10 10 10        10                                                 10     10


1 1 1 1                1                                           1     1
 − + − + K + (−1) k −1 k + K                                :a =     ,r=
2 4 8 16              2                                            2     2


1+1+1+1+K+1+K                                               : a = 1, r = 1


1 − 1 + 1 − 1 + K + (−1) k +1 + K                           : a = 1, r = −1


         การลูเขาของอนุกรมเรขาคณิตกลาวไวในทฤษฎีบทตอไปนี้

ทฤษฎี 1 อนุกรมเรขาคณิต a + ar + ar 2 + K + ar k −1 + K , (a ≠ 0)

         จะลูเขา ถา   r < 1 และลูออก ถา r ≥ 1

        ถาอนุกรมเรขาคณิตนี้ลูเขาแลวจะมีผลบวกเปน
                                              a
         a + ar + ar 2 + K + ar k −1 + K =
                                             1− r




                         โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
7


พิสจน จะแยกพิจารณาเปน 2 กรณี คือ
   ู                                        r = 1 และ r ≠ 1 ดังนี้


กรณีที่ 1   r = 1 พิจารณาแยกเปน

            1.1   r =1   และ 1.2   r = −1


1.1         ถา r = 1 แลวอนุกรมอยูในรูป

             a + a + a +K+ a +K


            ผลบวกยอยที่ n คือ        S n = na

                                          ⎧+ ∞ , a ∈ R +
                                          ⎪
            และลิมิต lim S n   = lim na = ⎨
                     n→∞         n →∞     ⎪− ∞ , a ∈ R −
                                          ⎩

            แสดงวาอนุกรมลูออก

1.2         ถา r = −1 แลวอนุกรมอยูในรูป

             a − a + a − a +K


             ลําดับของผลบวกยอย คือ       a , 0 , a , 0 , a , 0 , ...   จึงเปนลําดับลูออก

กรณีที่ 2    r ≠1

            ลําดับผลบวกยอยที่ n คือ

                      S n = a + ar + ar 2 + K + ar n −1                                       .......... (1)

คูณทั้งสองขางของ (1) ดวย r ได

                    r S n = ar + ar 2 + K + ar n −1 + ar n                                    .......... (2 )


นํา (1) − (2) ได

              S n − rS n = a − ar n




                         โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
8


              (1 − r )S n   = a − ar n


เนื่องจาก r ≠ 1 ได
                       a − ar n
                  Sn =
                        1− r


                            a (1 − r n )
                  Sn =
                               1− r


                                 a (1 − r n )
              lim S n = lim
              n→∞           n →∞    1− r


        ถา   r <1     แลว      lim r n = 0
                                 n→∞
                                                  ได {S n } ลูเขา

                                  a
        และได      lim S n =
                    n→∞          1− r


        ถา   r > 1 แลว r > 1         หรือ     r < −1


                  กรณี r > 1 ,      lim r n = ∞
                                    n→∞




                  กรณี r < - 1 , คาของ r n จะแกวงระหวางคาบวกและคาลบและมีขนาดเพิ่มขึ้น

              ดังนั้น {S n } ลูออก ถา         r >1




                       โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
9

                          7 7         7
ตัวอยาง 1 อนุกรม    7+    + 2 + K + k −1 + K
                          4 4       4

                                             7
                                        a        1
       เปนอนุกรมเรขาคณิต มี      a=7,r= 2 = 4 =
                                        a1   7 4



                          1 1
       เนื่องจาก    r =    = <1
                          4 4



       ดังนั้นอนุกรมนี้ลูเขา


                        a         7           7   28
       มีผลบวกเปน          =             =     =
                       1− r           1       3   3
                                 1−
                                      4       4

                                                       k −1
                       3 3    3     ⎛ 1⎞
ตัวอยาง 2 อนุกรม   3 − + 2 − 3 +K+ ⎜− ⎟                      ⋅3 +K
                       4 4   4      ⎝ 4⎠

                                                3
                                                       −
                                          a          1
       เปนอนุกรมเรขาคณิต มี      a=3, r = 2 = 4 = −
                                          a1   3     4



                            1 1
       เนื่องจาก    r =−     = <1
                            4 4



       ดังนั้นอนุกรมนี้ลูเขา


                        a            3     3   12
       มีผลบวกเปน          =            =   =
                       1− r         ⎛ 1⎞ 5      5
                                 1− ⎜− ⎟
                                    ⎝ 4⎠   4




                      โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
10


ตัวอยาง 3 จงหาจํานวนตรรกยะที่แทนโดยทศนิยมซ้ํา 0.7777…

วิธีทํา เขียนทศนิยมซ้ําที่กําหนดใหอยูในรูปผลบวกอนุกรมอนันตดังนี้

        0.7777... = 0.7 + 0.07 + 0.007 + 0.0007 + ...


                           7   7   7   7                                                 7      1
                      =      + 2 + 3 + 4 + ...          ( เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี a =      ,r=    )
                          10 10 10 10                                                   10     10

                         7
                      = 10
                           1
                       1−
                          10

                       7
                    = 10
                       9
                      10

                          7
                  =
                          9


ตัวอยาง 4 จงพิจารณาวาอนุกรมเรขาคณิตตอไปนี้ลูเขาหรือไม และถาลูเขาจงหาผลรวมของอนุกรม
ดวย
              2

1. 1 − 2 + ⎛ 2 ⎞ − K
           ⎜ ⎟
       3 ⎝3⎠

วิธีทํา เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี a = 1 , r = − 2
                                                    3


                              2 2
        เนื่องจาก     r =−     = <1       ดังนั้นอนุกรมนี้ลูเขา
                              3 3

                          2
         2 ⎛2⎞        a                       1
       1− + ⎜ ⎟ −K =      =
         3 ⎝3⎠       1− r                    ⎛ 2⎞
                                          1− ⎜− ⎟
                                             ⎝ 3⎠

                                          1 3
                                      =     =
                                          5 5
                                          3


                          โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
11


2. 1 + π + ⎛ π ⎞
                             2

           ⎜ ⎟                   +K
            4        ⎝4⎠

วิธีทํา เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี a = 1, r = π
                                                                    4

                                        π       π
                เนื่องจาก         r =       =       < 1 ดังนั้นอนุกรมนี้ลูเขา
                                        4       4

                     ⎛π ⎞π
                                   2
                               a    1       1    4
                1+ + ⎜ ⎟ +K =     =     =     =
                  4 ⎝4⎠       1− r 1− π   4 −π 4 −π
                                      4     4

     ∞               k
          ⎛4⎞
3.   ∑⎜ 5 ⎟
     k =2 ⎝ ⎠


                ∞            k          2            3         4
                     ⎛4⎞  ⎛4⎞ ⎛4⎞ ⎛4⎞
วิธีทํา         ∑ ⎜ 5 ⎟ = ⎜ 5 ⎟ + ⎜ 5 ⎠ + ⎜ 5 ⎟ + ...
                k =2 ⎝ ⎠  ⎝ ⎠ ⎝
                                      ⎟
                                          ⎝ ⎠
                                                                2
                                                      ⎛4⎞  16     4
                เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี             a=⎜ ⎟ = , r =
                                                      ⎝5⎠  25     5

                                        4 4
                เนื่องจาก         r =    = <1            ดังนั้นอนุกรมนี้ลูเขา
                                        5 5

                                  16    16
                 ∞           k
                     ⎛4⎞    a                16      16
                ∑ ⎜ 5 ⎟ = 1 − r = 254 = 25 = 25 • 5 = 5
                k =2 ⎝ ⎠
                                         1
                                 1−
                                    5    5
      ∞
4. ∑ (ln 3)k
     k =1


                ∞
วิธีทํา ∑ (ln 3)k                = ln 3 + (ln 3) + (ln 3) + ...
                                                    2           3

                k =1




                เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี a = ln 3 , r = (ln 3)
                                                                                3
                                                                                    = ln 3
                                                                         ln 3

                เนื่องจาก         r = ln 3 = ln 3 = log e 3 > 1


            ดังนั้นเปนอนุกรมเรขาคณิตที่ลูออก



                                  โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
12

     ∞
5. ∑ (sin 5)k
     k =1


            ∞
วิธีทํา ∑ (sin 5)k          = sin 5 + (sin 5) + (sin 5) + ...
                                             2          3

            k =1




            เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี a = sin 5 , r = (sin 5)
                                                                     2
                                                                         = sin 5
                                                             sin 5

            เนื่องจาก       r = sin 5 = sin 5 < 1   ( เนื่องจาก − 1 ≤ sin θ ≤ 1 )

            ดังนั้นอนุกรมนี้ลูเขา
             ∞

            ∑ (sin 5)
                                   a     sin 5
                             =        =
                        k

            k =1                 1 − r 1 − sin 5


ตัวอยาง 5 จงหาจํานวนตรรกยะที่แทนโดยทศนิยมซ้ําตอไปนี้

1.   0.7888...

วิธีทํา     0.7888... = 0.7 + 0.08 + 0.008 + 0.0008 + ...

                             7   8   8   8
                        =      + 2 + 3 + 4 + ...
                            10 10 10 10

                             7 ⎛ 8    8   8      ⎞                       ⎛    8      1⎞
                        =     + ⎜ 2 + 3 + 4 + ...⎟                       ⎜a = 2 ,r = ⎟
                            10 ⎝ 10 10 10        ⎠                       ⎝   10     10 ⎠

                            ⎛ 8 ⎞
                          7 ⎜ 10 2 ⎟
                        = +⎜        ⎟
                         10 ⎜ 1 − 1 ⎟
                            ⎜       ⎟
                            ⎝ 10 ⎠


                             7 ⎛ 8 10 ⎞
                        =     +⎜     • ⎟
                            10 ⎝ 10 2 9 ⎠


                             7 8
                        =     +
                            10 90


                            63 + 8 71
                        =         =
                             90     90


                             โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
13


2.   0.784784...


วิธีทํา   0.784784784... = 0.784 + 0.000784 + 0.000000784 + ...

                              784 784 784           ⎛   784     1 ⎞
                          =      +   +    + ...     ⎜a = 3 ,r = 3 ⎟
                              103 106 109           ⎝   10     10 ⎠

                            784
                               3
                          = 10
                               1
                           1− 3
                             10

                            784
                               3
                          = 10
                            999
                            103

                           784 103
                          = 3•
                           10 999

                              784
                          =
                              999


ตัวอยาง 6 โยนลูกปงปองจากที่สูงระยะ a เมตร ลงบนพื้นที่เรียบ แตละครั้งที่ลูกปงปองกระทบ
พื้น เมื่อตกลงมาเปนระยะทาง h เมตร จะกระดอนกลับขึ้นไปเปนระยะ rh เมตร (0 < r < 1)
จงหาระยะทางที่ลูกปงปองเคลื่อนที่ทั้งหมดจนกวาจะหยุดนิ่ง

วิธีทํา พิจารณาจากรูปไดดังนี้

                   • A0




                          A1        A2       A3         A4 K




                      โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
14


จาก   A0   ถึง    A1   เคลื่อนที่ไดระยะทาง                  a        เมตร

จาก   A1   ถึง    A2   เคลื่อนที่ไดระยะทาง    ar + ar = 2ar          เมตร

จาก   A2   ถึง    A3   เคลื่อนที่ไดระยะทาง    ar 2 + ar 2 = 2ar 2    เมตร

จาก   A3   ถึง    A4   เคลื่อนที่ไดระยะทาง    ar 3 + ar 3 = 2ar 3    เมตร

มีลักษณะเชนนี้ไปเรื่อย ๆ จะไดระยะทางที่เคลื่อนที่ทั้งหมด

                   S = a + 2ar + 2ar 2 + 2ar 3 + ...

                       = a + (2ar + 2ar 2 + 2ar 3 + ...)

                       = a + 2ar (1 + r + r 2 + ...)

                                 ⎛ 1 ⎞
                       = a + 2ar ⎜     ⎟       (a = 1, r   = r < 1)
                                 ⎝1− r ⎠

                              2ar
                       = a+
                              1− r


                                  2
           เชน    a = 10 , r =        จะได
                                  3

                                         2(10 )
                                           2
           ระยะทางทั้งหมด       = 10 +     3
                                          2
                                       1−
                                          3

                                       40
                                = 10 + 3
                                       1
                                        3

                                         40
                                = 10 +      •3
                                         3


                                = 50




                           โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
15


ตัวอยาง 7 กําหนดใหรปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่ n + 1 เกิดจากการลากเสนตรงตอจุดกึ่งกลางทั้ง
                     ู
สามของรูปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่ n ถากระบวนการสรางรูปสามเหลี่ยมดานเทานี้ไมสิ้นสุด และ
ผลบวกของเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่ 1 เทากับ a หนวย จงหาผลบวกของเสน
รอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทาเหลานี้

วิธีทํา พิจารณาจากรูปไดดังนี้




        เสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่ 1 เทากับ a หนวย
                                                             a
        เสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่ 2 เทากับ       หนวย
                                                             2

                                                             a
        เสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่ 3 เทากับ       หนวย
                                                             4

                                                             a
        เสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่ 4 เทากับ       หนวย
                                                             8
                                 M

                                                  a a a
        ผลบวกของเสนรอบรูปทั้งหมดเทากับ     a+    + + + ...
                                                  2 4 8

                                                  a
                                            =
                                                      1
                                                1−
                                                      2

                                           = 2a      หนวย




                     โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
16

                                      ∞
                                               1        1   1   1
ตัวอยาง 8 จงพิจารณาวาอนุกรม ∑                      =    +   +    +K
                                      k =1 k (k + 1)   1.2 2.3 3.4

ลูเขาหรือลูออก ถาลูเขาจงหาผลบวก

วิธีทํา ผลบวกยอยที่ n ของอนุกรมนี้ คือ
                     n
                           1        1   1   1         1
          Sn = ∑                 =    +   +    +K+
                  k =1 k (k + 1)   1.2 2.3 3.4     n(n + 1)


          พิจารณาการลูเขาหรือลูออก โดยการหา lim S n
                                               n →∞



          พิจารณาเขียน S n ใหมในรูปที่ไมมีการขยายพจน เพื่อสะดวกในการหา lim S n
                                                                          n→∞



          ในกรณีนี้สามารถทําไดโดยใชวิธของการแยกเศษสวนยอยไดผลดังนี้
                                        ี
                                    1     1   1
                                         = −
                                 n(n + 1) n n + 1


                  ⎛ 1⎞ ⎛1 1⎞ ⎛1 1⎞             ⎛1    1 ⎞
ดังนั้น     S n = ⎜1 − ⎟ + ⎜ − ⎟ + ⎜ − ⎟ + K + ⎜ −     ⎟
                  ⎝ 2⎠ ⎝ 2 3⎠ ⎝3 4⎠            ⎝ n n +1⎠

                              ⎛ 1 1⎞ ⎛ 1 1⎞       ⎛ 1 1⎞    1
                         = 1+ ⎜− + ⎟ + ⎜− + ⎟ +K+ ⎜− + ⎟ −
                              ⎝ 2 2⎠ ⎝ 3 3⎠       ⎝ n n ⎠ n +1

                                 1
                         =1−
                               n +1

                         ⎛   1 ⎞
และ       lim S n = lim⎜1 −     ⎟ =1
          n →∞      n →∞
                         ⎝ n + 1⎠
              ∞
                          1
ดังนั้น       ∑ k (k + 1) = 1
              k =1




                           โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
17


ตัวอยาง 9 จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้ลูเขาหรือลูออก ถาลูเขาจงหาผลบวก
     ∞
               1
1. ∑
   k =1 (4k − 3)(4k + 1)



                   n
                               1
วิธีทํา    Sn = ∑
                  k =1 (4 k − 3)(4k + 1)




                  1   1   1              1
             =      +   +     +K+
                 1.5 5.9 9.13     (4n − 3)(4n + 1)

                   1         1⎛ 1         1 ⎞
   จาก                      = ⎜        −       ⎟          (โดยการแยกเศษสวนยอย) จะได
            (4n − 3)(4n + 1) 4 ⎝ 4n − 3 4n + 1 ⎠


                  1⎛ 1⎞ 1⎛1 1⎞         1⎛ 1          1 ⎞
          Sn =     ⎜1 − ⎟ + ⎜ − ⎟ + K + ⎜        −        ⎟
                  4⎝ 5⎠ 4⎝5 9⎠         4 ⎝ 4n − 3 4 n + 1 ⎠


                 1 ⎡⎛ 1 ⎞ ⎛ 1 1 ⎞                ⎛ 1          1 ⎞⎤
            =      ⎢⎜1 − 5 ⎟ + ⎜ 5 − 9 ⎟ + ... + ⎜ 4n − 3 − 4n + 1 ⎟⎥
                 4 ⎣⎝      ⎠ ⎝         ⎠         ⎝                 ⎠⎦


                 1 ⎡ ⎛ 1 1⎞ ⎛ 1 1⎞                        ⎛     1        1 ⎞        1 ⎤
            =      ⎢1 + ⎜ − 5 + 5 ⎟ + ⎜ − 9 + 9 ⎟ + ... + ⎜ − 4n − 3 + 4n − 3 ⎟ − 4n + 1⎥
                 4⎣ ⎝             ⎠ ⎝           ⎠         ⎝                   ⎠         ⎦


                 1⎛     1 ⎞
            =      ⎜1 −     ⎟
                 4 ⎝ 4n + 1 ⎠


และ lim S n = lim 1 ⎛1 −
                    ⎜
                                  1 ⎞ 1
                                       ⎟ = (1 − 0 ) =
                                                      1
    n →∞      n →∞      4⎝      4n + 1 ⎠ 4            4

             ∞
                    1           1
ดังนั้น ∑                     =
        k =1 (4k − 3)(4k + 1)   4




                           โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
18


2. ∑ 22k + 1 2
     ∞


   k =1 k (k + 1)



                     n
                           2k + 1
วิธีทํา    Sn = ∑
                         k (k + 1)
                          2          2
                  k =1




                   1       5     7       2n + 1
            =           + 2 2 + 2 2 +K+ 2
                 1 •2    2 •3 3 •4     n (n + 1)
                 2    2                         2




                1        1   1
   จาก                 = 2−                      (โดยการแยกเศษสวนยอย) จะได
            n (n + 1)   n (n + 1)2
             2       2




                ⎛ 1⎞ ⎛1 1⎞ ⎛1 1 ⎞          ⎛ 1      1                    ⎞
          S n = ⎜1 − ⎟ + ⎜ − ⎟ + ⎜ − ⎟ K + ⎜ 2 −
                                           ⎜n
                                                                         ⎟
                                                                         ⎟
                ⎝ 4 ⎠ ⎝ 4 9 ⎠ ⎝ 9 16 ⎠     ⎝     (n + 1)2                ⎠


                 ⎛ 1 1⎞ ⎛ 1 1⎞       ⎛ 1    1 ⎞   1
            = 1+ ⎜− + ⎟ + ⎜− + ⎟ +K+ ⎜− 2 + 2 ⎟ −
                 ⎝ 4 4⎠ ⎝ 9 9⎠       ⎝ n   n ⎠ (n + 1)2


                        1
            =1−
                     (n + 1)2

                           ⎛             ⎞
                                         1
และ lim S n = lim ⎜1 −
              n→∞ ⎜
                                         ⎟ = 1− 0 = 1
    n→∞
                           ⎝     (n + 1) ⎟
                                         ⎠
                                             2




ดังนั้น ∑ 22k + 1 2
             ∞
                                 =1
        k =1 k (k + 1)




                               โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
19

     ∞
3. ∑ ln k
       k +1
    k =1


                     n
                               k
วิธีทํา    S n = ∑ ln
                    k =1     k +1

                  1    2    3           n
              = ln + ln + ln + K + ln
                  2    3    4         n +1

                                           = ln n − ln (n + 1)
                                        n
   จากกฎลอการิทึม                ln                              จะได
                                      n +1

          S n = (ln1 − ln 2 ) + (ln 2 − ln 3) + (ln 3 − ln 4 )K + (ln n − ln (n + 1))

             = ln 1 − ln (n + 1)

             = 0 − ln(n + 1)

            = − ln (n + 1)

และ lim S n = lim (− ln(n + 1)) = − ∞
    n→∞       n→∞


              ∞
ดังนั้น ∑ ln k เปนอนุกรมลูออก
            k +1
             k =1


     ∞
            1     1
4. ∑           −
    k =1     k   k +1
                         n
                             1     1
วิธีทํา     Sn = ∑              −
                      k =1    k   k +1

                    ⎛    1 ⎞ ⎛ 1   1 ⎞ ⎛ 1   1 ⎞    ⎛ 1    1 ⎞
                  = ⎜1 −   ⎟+⎜   −   ⎟+⎜   −   ⎟K + ⎜   −      ⎟
                    ⎝     2⎠ ⎝ 2    3⎠ ⎝ 3    4⎠    ⎝ n   n +1 ⎠

                    ⎛ 1    1 ⎞ ⎛ 1      1 ⎞     ⎛ 1    1 ⎞   1
               = 1+ ⎜−   +   ⎟ + ⎜−
                                 ⎜    +   ⎟ +K+ ⎜−
                                          ⎟     ⎜    +   ⎟−
                                                         ⎟
                    ⎝  2    2⎠ ⎝    3    3⎠     ⎝  n    n⎠  n +1

                              1
                  = 1−
                             n +1

และ lim S n = lim⎛1 −
                   ⎜
              n → ∞⎜
                                       1   ⎞
                                           ⎟ = 1− 0 = 1
                                           ⎟
    n→∞
                             ⎝        n +1 ⎠
              ∞
                     1     1
ดังนั้น ∑               −      =1
             k =1     k   k +1


                                 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
20


ตัวอยาง 10 จงหาคา x ที่ทําใหอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมที่ลูเขา
      ∞
1. ∑ (− 1)k x 2 k
     k =0


              ∞
วิธีทํา ∑ (− 1)k x 2 k             =1 − x 2 + x 4 − x 6 + ...
             k =0



             a = 1 , r = −x2           เปนอนุกรมเรขาคณิต

          อนุกรมลูเขาเมื่อ          r <1    นั่นคือ
                               − x 2 <1

                                    x2 < 1

                              x2 −1 < 0

                    (x − 1)(x + 1) < 0
จะได                         −1 < x < 1

          ⎛ x −1⎞
      ∞                  k

2.   ∑ 3⎜ 2 ⎟
     k =0 ⎝     ⎠

                  ⎛ x −1 ⎞      ⎛ x −1⎞
              ∞             ∞  k                     k

วิธีทํา      ∑ 3⎜ 2 ⎟ = 3∑ ⎜ 2 ⎟
             k =0 ⎝      ⎠ k =0 ⎝     ⎠

                                      ⎡ ⎛ x − 1 ⎞ ⎛ x − 1 ⎞2     ⎤
                                   = 3⎢1 + ⎜    ⎟+⎜       ⎟ + ...⎥
                                      ⎢ ⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠
                                      ⎣                          ⎥
                                                                 ⎦

                               x −1
             a =1 , r =                  เปนอนุกรมเรขาคณิต
                                 2

            อนุกรมลูเขาเมื่อ        r <1    นั่นคือ
                             x −1
                                  <1
                               2
                             x −1
                        −1 <      <1
                               2
                         − 2 < x −1 < 2

จะได                        −1 < x < 3


                                   โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
21

     ∞
3. ∑ sin n x
    k =0


             ∞
วิธีทํา ∑ sin n x         = 1 + sin x + sin 2 x + sin 3 x + ...
            k =0



             a = 1 , r = sin x     เปนอนุกรมเรขาคณิต

            อนุกรมลูเขาเมื่อ   r <1     นั่นคือ

                            sin x <1

                         − 1 < sin x < 1


           ถา     sin x =1 จะได sin x = ±1

                                      π
           จะได       x = (2r + 1)       เมื่อ r เปนจํานวนเต็ม
                                      2

                                                π
           จะไดคําตอบคือ        x ≠ (2r + 1)
                                                2
     ∞
4. ∑ (ln x )n
    k =0


             ∞
วิธีทํา ∑ (ln x )n = 1 + ln x + (ln x )2 + (ln x )3 + ...
            k =0



             a = 1 , r = ln x     เปนอนุกรมเรขาคณิต

            อนุกรมลูเขาเมื่อ   r <1     นั่นคือ

                              ln x <1

ดังนั้น                  − 1 < ln x < 1

จะได                     − 1 < log e x < 1

                          e −1 < x < e

                            1
                              <x<e
                            e




                           โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
22


5. ∑ (− 1)
    ∞                                 k
                      ⎛     1 ⎞
                  k

                      ⎜           ⎟
   k =02              ⎝ 3 + sin x ⎠

           ∞
                 (− 1)k ⎛     1 ⎞
                                           k
                                              ⎛ 1 ⎞⎛     1 ⎞ 1⎛                ⎞
                                                                                     2

                                    ⎟ = (1) + ⎜ − ⎟⎜
                                       1                                 1
วิธีทํา ∑               ⎜                                      ⎟+ ⎜            ⎟ + ...
          k =0        2 ⎝ 3 + sin x ⎠  2      ⎝ 2 ⎠⎝ 3 + sin x ⎠ 2 ⎝ 3 + sin x ⎠


                                                1⎡                               ⎤
                                                                            2
                                                        1     ⎛     1     ⎞
                                               = ⎢1 −        +⎜           ⎟ + ...⎥
                                                2 ⎢ 3 + sin x ⎝ 3 + sin x ⎠
                                                  ⎣                              ⎥
                                                                                 ⎦

                                     1
            a =1 , r = −                          เปนอนุกรมเรขาคณิต
                                 3 + sin x


           อนุกรมลูเขาเมื่อ             r <1   นั่นคือ

                                  1
                          −             <1
                              3 + sin x

                                  1
                                        <1
                              3 + sin x

                                  1
                       −1 <             <1
                              3 + sin x


จะได             − 3 − sin x < 1 < 3 + sin x               (3 + sin x > 0)

        − 3 − sin x < 1          และ        1 < 3 + sin x

            − sin x < 4          และ        − 2 < sin x

                 sin x > −4      และ       sin x > −2


                            sin x > −2


เนื่องจาก              − 1 ≤ sin x ≤ 1


คําตอบคือ               −∞< x<∞




                               โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
23


ตัวอยาง 11 จงหาคา x ที่ทําใหอนุกรม

          1 + 2 x + x 2 + 2 x 3 + x 4 + 2 x 5 + x 6 + 2 x 7 + x8 + ...

เปนอนุกรมที่ลูเขาพรอมกับหาผลรวมดวย

วิธีทํา

1 + 2 x + x 2 + 2 x 3 + x 4 + 2 x 5 + x 6 + 2 x 7 + x8 + ...


                       (                             ) (
                   = 1 + x 2 + x 4 + x 6 + x8 + ... + 2 x + 2 x 3 + 2 x 5 + 2 x 7 + ...)

                       (                             )         (
                   = 1 + x 2 + x 4 + x 6 + x8 + ... + 2 x 1 + x 2 + x 4 + x 6 + ...)

                       (                             )
                    = 1 + x 2 + x 4 + x 6 + x8 + ... (1 + 2 x )     (เปนอนุกรมเรขาคณิต)

                    ⎛ 1 ⎞
                   =⎜    2 ⎟
                             (1 + 2 x )
                    ⎝1− x ⎠


                       1 + 2x
                   =
                       1 − x2


เปนอนุกรมลูเขาเมื่อ          x2 < 1


                               x2 < 1


                            x 2 − 1< 0


                   (x − 1)(x + 1)< 0

จะได                      −1 < x < 1


                                   1 + 2x
และผลรวมของอนุกรมนี้คือ
                                   1 − x2




                           โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
24


อนุกรมฮารมอนิก (Harmonic Series)

              ในบรรดาอนุกรมที่ลูออกทั้งหมด มีอนุกรมที่สําคัญที่สดอนุกรมหนึ่ง คือ อนุกรมฮารมอ
                                                                 ุ
นิก
                      ∞
                             1     1    1   1   1
                     ∑ k = 1+ 2 + 3 + 4 + 5 +K
                      k =1



          อนุกรมนี้เกิดขึ้นในเรื่องที่เกี่ยวกับเสียงสอดแทรกที่เกิดจากการสั่นของเสนลวดในเครื่อง
ดนตรี เราทราบวาอนุกรมนี้ลออกโดยการตรวจสอบผลบวกยอย ดังนี้
                            ู

                        S1 = 1


                                   1
                        S2 = 1 +
                                   2

                                  1 1
                      S3 = 1 +     +
                                  2 3

                                 1 1 1
                    S4 = 1 +      + +
                                 2 3 4


ผลบวกยอยเหลานี้สรางลําดับเพิ่ม

                       S1 < S 2 < S3 K < S n <


โดยทฤษฎีบทสามารถพิสูจนไดวาลําดับนี้ลูออก โดยจะแสดงใหเห็นวาไมมีคาคงที่ M ที่มีคา
มากกวาหรือเทากับทุกผลบวกยอย

               พิจารณาผลบวกยอยบางจํานวน คือ S2 , S4 , S8 , S16 , S32 ,K ซึ่งเปนผลบวกยอยใน
รูป S2   n   ผลบวกยอยเหลานี้สอดคลองอสมการ

                                 1 1 1 2
                     S2 = 1 +     > + =
                                 2 2 2 2

                                   1 1        1 1        1 3
                     S4 = S2 +      + > S2 + ( + ) = S2 + >
                                   3 4        4 4        2 2




                             โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
25


                                1 1 1 1        1 1 1 1        1 4
                   S8 = S 4 +    + + + > S4 + ( + + + ) = S4 + >
                                5 6 7 8        8 8 8 8        2 2

                             1 1 1 1      1        1     1       1 5
                   S16 = S8 + + + + + K + > S8 + ( + K + ) = S8 + >                         M
                             9 10 11 12  16       16    16       2 2
                                                      ← 8 พจน →

                           n +1
                   S2n >
                             2

                                                                     n +1
          ถา M เปนคาคงตัวใด ๆ เราสามารถหาจํานวนเต็มบวก n โดยที่        >M   แตสําหรับ
                                                                       2
n   คานี้ เรามี

                                    n +1
                            S2n >        >M
                                      2


         ดังนั้นจึงไมมีคาคงตัว M คาใดที่มากกวาหรือเทาหรับผลบวกยอยของอนุกรมฮารมอนิก
จึงพิสูจนไดวาอนุกรมฮารมอนิกนี้ลูออก




                       โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
26


                                                       แบบฝกหัด

1. ในแตละขอยอย จงหารูปแบบที่ไมมีการขยายพจนของผลบวกยอย S n และจงหาวาอนุกรมที่
กําหนดลูเขาหรือไม ถาลูเขาจงหาผลบวก
                    ∞                                                     ∞
                               2                                                    1
             ก. ∑                                                   ข. ∑
                                                                         k =1 (k + 1)(k + 2 )
                               k −1
                 k =1      5

                    ∞          k −1                                      ∞
                                                                              7
             ค. ∑ 2                                                 ง. ∑        k
                 k =1          4                                         k =1 4


                  ∞                                                       ∞
                             4                                                       1
             จ. ∑                                                   ฉ. ∑
                 k =1 (4k − 3)(4 k + 1)                                  k =1 (4k − 3)(4k + 1)




จากขอ 2 – 20 จงหาวาอนุกรมลูเขาหรือลูออก ถาลูเขาจงหาผลบวก
     ∞                                                                   ∞              k −1
          1                                                                   ⎛ 3⎞
2.   ∑ 5k
     k =1
                                                                    3.   ∑⎜− 4 ⎟
                                                                         k =1 ⎝  ⎠

     ∞          k +2                                                     ∞          k −1
          ⎛2⎞
4.   ∑⎜ 3 ⎟                                                         5. ∑ (− 1)             ⋅
                                                                                                 7
     k =1 ⎝ ⎠                                                            k =1                  6 k −1

      ∞                                                                  ∞              k +1

                                                                    7. ∑ ⎛ − 3 ⎞
              k −1
6. ∑ 4                                                                   ⎜     ⎟
     k =1                                                                k =1    ⎝ 4⎠
     ∞                                                                   ∞
8. ∑ ⎛
     ⎜
              1
                  −
                      1 ⎞
                        ⎟                                           9. ∑            1
     k =1 ⎝ k + 3   k +4⎠                                                k =1 (k + 2 )(k + 3)



         ∞                                                                   ∞
10. ∑ ⎛
      ⎜
             1     1 ⎞
                 − k +1 ⎟                                           11. ∑          1
      k =1 ⎝ 2    2 ⎠                                                     k =1 9k + 3k − 2
               k                                                                    2



         ∞
             1                                                               ∞
                                                                                4 k +2
12. ∑                                                               13. ∑
      k =2 k − 1                                                          k =1 7 − 1
            2                                                                    k



         ∞          k −1                                                     ∞             k

14. ∑ ⎛ e ⎞
      ⎜ ⎟                                                           15. ∑ ⎛ − 1 ⎞
                                                                          ⎜     ⎟
      k =1   ⎝π ⎠                                                         k =1   ⎝ 2⎠
         ∞                                                                   ∞
16. ∑        5
                                                                    17. ∑ (− 1)k ⋅             5
      k =1 k − 2                                                          k =1                 4k




                                      โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
27

       ∞                                                                   ∞
                                                                       19. ∑ ⎛         1 ⎞
                 k
                                                                                 5
18. ∑ 2 k                                                                    ⎜       − k⎟
                                                                          k =1 ⎝ 2    3 ⎠
                                                                                   k
      k =0   5
       ∞
                  4
20. ∑
      k =3 (4k − 3)(4 k + 1)




จากขอ 21 - 24 จงกระจายทศนิยมซ้ําในรูปเศษสวน

21. 0.4444K                                                            22. 5.373737 K

23. 0.782178217821K                                                    24. 0.234234234 K

25. ปลอยลูกบอลจากที่สูง 4 เมตร แตละครั้งที่ลูกบอลกระทบพื้น ลูกบอลจะกระดอนขึ้นตามแนวดิ่ง
มีความสูงเปน 3 เทาของความสูงกอนหนานั้น                     จงหาระยะทางรวมที่ลูกบอลเคลื่อนไปไดสมมติ
                       4
ลูกบอลกระดอนแบบไมหยุด
                             ∞
26.          จงแสดงวา ∑ ln⎛1 − 22 ⎞ = − ln 2
                           ⎜       ⎟
                           ⎝ k ⎠
                            k =2


                             ∞
                                   k +1 − k
27.          จงแสดงวา ∑                        =1
                            k =1       k2 + k

                             1   1   1      1
28.          จงแสดงวา         +   +    +K=
                            1.3 3.5 5.7     2

29.          จงใชอนุกรมเรขาคณิตแสดงวา

                      ∞     k

             ก. ∑ (− 1)         xk =
                                        1
                                                     ถา − 1 < x < 1
                     k =0              1+ x
                      ∞
             ข. ∑ (x − 3)k         =
                                        1
                                                     ถา 2 < x < 4
                     k =0              4− x
                      ∞
             ค. ∑ (− 1)k x 2 k     =
                                         1
                                                     ถา − 1 < x < 1
                     k =0              1+ x2




                            โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
28




จากขอ 30 – 31 จงหาคา x ทั้งหมดที่ทําใหอนุกรมลูเขา และจงหาผลบวก
      1     2   4   8 16
30.     2
          + 3 + 4 + 5 + 6 +K
      x    x   x   x   x

             1         1         1
31.   sin x − sin 2 x + sin 3 x − sin 4 x + K
             2         4         8

32. ถาดานหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึ่งยาว p หนวย ถาเชื่อมจุดกึ่งกลางของดานทั้งสี่ดวย
เสนตรงจะเกิดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปใหม และถาเชื่อมจุดกึ่งกลางของดานทั้งสี่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
รูปใหมน้นดวยเสนตรงอีกก็จะเกิดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปใหมอีก ทําเชนนี้ไปเรื่อย ๆ จงหาความยาว
          ั
ของเสนรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรสที่เกิดขึ้นทั้งหมด
                                     ั

33. รูปสามเหลี่ยมดานเทารูปหนึ่งยาวดานละ 1 นิ้ว ถาแบงครึ่งดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมดาน
เทารูปนี้แลวสรางรูปสามเหลี่ยมดานเทาอีกรูปหนึ่ง แลวแบงครึ่งดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมดาน
เทารูปที่สองวนี้แลวสรางรูปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่สาม ทําเชนนี้เรื่อย ๆ ไปไมสิ้นสุด จงหาความ
ยาวของเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทาทุกรูปที่สรางได

34. ภายในรูปครึ่งวงกลมมีรปสามเหลี่ยมหนาจั่วมุมฉากบรรจุอยู และภายในรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
                         ู
มุมฉาก จะมีรูปครึ่งวงกลมบรรจุอยูภายใน เปนเชนนี้ไปเรื่อย ๆ ไมส้นสุด ถากําหนดใหรัศมีของรูป
                                                                  ิ
ครึ่งวงกลมนอกรูปนอกสุดเทากับ 1 นิ้ว จงหาความยาวของสวนโคงทั้งหมด

35. แมลงตัวหนึ่งซึ่งมีขนาดเล็กมากอยูที่จุด (0,0) บนพิกัดระนาบ xy แลวเดินไปทางขวา 1 หนวย
ถึงจุด (1,0) แลวเดินเลี้ยวซายไป 0.5 หนวย ถึงจุด (1,0.5) และตอไปทุก ๆ ครั้งของการเดินทางจะ
เดินเลี้ยวซาย แลวเดินเปนระยะครึ่งเทาของการเดินทางครั้งกอนเสมอ ถาแมลงตัวนี้เดินไปเรื่อย ๆ
จะเดินเขาใกลจุดใด




                      โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
29


                                         คําตอบแบบฝกหัด

1. ก. ลูเขาสู 5                                         ข. ลูเขาสู 1
                  2                                                      2
                                                                         7
  ค. ลูออก                                                ง. ลูเขาสู
                                                                         3
  จ. ลูเขาสู1                                           ฉ. ลูเขาสู 1
                                                                         4

2. ลูเขาสู 1                                            3. ลูเขาสู 4
             4                                                             7

4. ลูเขาสู 8                                            5. ลูเขาสู 6
             9

6. ลูออก                                                  7. ลูออก

8. ลูเขาสู 1                                            9. ลูเขาสู   1
             4                                                             3

10. ลูเขาสู 1                                           11. ลูเขาสู 1
                 2                                                         6

12. ลูเขาสู 1                                           13. ลูเขาสู 448
                 4                                                             3

                      π
14. ลูเขาสู                                             15. ลูเขาสู − 1
                  π −e                                                         3

16. ลูออก                                                 17. ลูเขาสู 4

18. ลูเขาสู 5                                           19. ลูเขาสู 17
                 3                                                             2

                  1
20. ลูเขาสู
                  9

      4                                                           532
21.                                                        22.
      9                                                           99

      869                                                         234
23.                                                        24.
      1111                                                        999

25.   28




                          โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
30

                                                     1
30.   x < −2 ∪ x > 2     หรือ   x >2   มีผลบวก =
                                                   x −x
                                                    2



                                                    2 sin x
31.   −∞ < x < ∞                       มีผลบวก =
                                                   2 + sin x

      4 2p
32.              หนวย
          2 −1

33.   6   นิ้ว
          2π
34.              นิ้ว
          2 −1


35. (0.8 , 0.4)




                         โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามsawed kodnara
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตaoynattaya
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลpeesartwit
 

Was ist angesagt? (20)

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 
ใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูลใบงานสถิติและข้อมูล
ใบงานสถิติและข้อมูล
 

Ähnlich wie บทที่ 3 อนุกรมอนันต์ (20)

9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
Series
SeriesSeries
Series
 
Series
SeriesSeries
Series
 
Series
SeriesSeries
Series
 
Series
SeriesSeries
Series
 
งานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตงานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิต
 
Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
เมทริกซ์
เมทริกซ์เมทริกซ์
เมทริกซ์
 
เวกเตอร์
เวกเตอร์เวกเตอร์
เวกเตอร์
 
Math8
Math8Math8
Math8
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
4ชนิดของเซต
4ชนิดของเซต4ชนิดของเซต
4ชนิดของเซต
 
Math7
Math7Math7
Math7
 
Sequence and series 01
Sequence and series 01Sequence and series 01
Sequence and series 01
 
4339
43394339
4339
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 

บทที่ 3 อนุกรมอนันต์

  • 1. บทที่ 3 อนุกรมอนันต อนุกรมอนันต (Infinite series) เปนผลบวกที่มีจํานวนพจนนับไมถวน อนุกรมอนันตมี การประยุกตใชในสาขาวิศวกรรมศาสตร วิทยาศาสตร และในหลายสาขาวิชาของคณิตศาสตร ผลบวกที่มีพจนเปนจํานวนมากนับไมถวนนั้นมีตัวอยางของผลบวกที่คุนเคยกันมากเกิดขึ้น 1 จากการแทนจํานวนจริงดวยทศนิยม เชน เมื่อเขียน ในรูปทศนิยม จะได 3 1 = 0.33333... นั้นหมายถึง 3 1 = 0.3 + 0.03 + 0.003 + 0.0003 + 0.00003 + ... 3 แสดงวาการแทน 1 ดวยทศนิยม อาจจะพิจารณาเปนผลบวกของจํานวนจริงหลายจํานวน 3 นับไมถวนได ผลบวกของอนุกรมอนันต นิยาม 1 อนุกรมอนันต คือ นิพจน (expression) ที่อยูในรูปของ u1 + u2 + u3 + K + uk + K หรือเขียนในรูปสัญลักษณผลรวมไดเปน ∞ u1 + u2 + u3 + K + uk + K = ∑ uk k =1 เรียกจํานวน u1 , u 2 , u3 , ... วา พจนของอนุกรม และจะเรียก “อนุกรมอนันต’’ เพียงสั้น ๆ วา “อนุกรม” ∞ 1 1 1 1 1 เชน ∑k k =1 = 1+ + + + ... + + ... 2 3 4 k โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 2. 2 ∞ 1 1 1 1 1 1 ∑ k (k + 1) = 1 ⋅ 2 + 2 ⋅ 3 + 3 ⋅ 4 + 4 ⋅ 5 + ... + k (k + 1) + ... k =1 อนุกรมและลําดับมีความเกี่ยวพันกันอยางมากดังตอไปนี้ กําหนดให S1 = u1 S 2 = u1 + u 2 S3 = u1 + u2 + u3 M n S n = u1 + u 2 + u 3 + ... + u n = ∑ u k k =1 ∞ นั่นคือ Sn เปนผลบวกของ n พจนแรกของอนุกรม ∑ uk เรียกวา ผลบวกยอยที่ k =1 ∞ n ( n th partial sum) ของอนุกรม ∑ u ซึ่งจะเห็นวาจากผลบวกยอยตาง ๆ นี้ สามารถนํามาสราง k k =1 เปนลําดับไดดังนี้ {Sn } = S1 , S 2 , S 3 ,..., S n ,... เรียกวา ลําดับของผลบวกยอย นั่นเอง จากตัวอยางผลบวกของ 0.3 + 0.03 + 0.003 + 0.0003 + 0.00003 + ... นั้น เราไม สามารถบวกจํานวนเลขหลายจํานวนนับไมถวนเขาดวยกันไดดงนั้นจึงตองนิยามผลบวกของ ั อนุกรมและคํานวณคาโดยวิธลิมต ี ิ เพื่อขยายผลจากแนวคิดพื้นฐานพิจารณาทศนิยม 0.33333... ซึ่งสามารถเขียนเปน อนุกรมไดดังนี้ 0.3 + 0.03 + 0.003 + 0.0003 + 0.00003 + ... 3 3 3 3 3 หรือ + 2 + 3 + 4 + 5 +K 10 10 10 10 10 1 1 เนื่องจาก 0.33333K = ดังนั้นผลบวกของอนุกรมควรจะเปน ดวย 3 3 3 3 3 3 3 1 นั่นคือ + 2 + 3 + 4 + 5 +K = 10 10 10 10 10 3 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 3. 3 การหาผลบวกของอนุกรมทําไดโดยการพิจารณาลําดับของผลบวก ดังนี้ 3 S1 = = 0.3 10 3 3 S2 = + 2 = 0.33 10 10 3 3 3 S3 = + 2 + 3 = 0.333 10 10 10 3 3 3 3 S4 = + 2 + 3 + 4 = 0.3333 10 10 10 10 3 3 3 3 3 S5 = + 2 + 3 + 4 + 5 = 0.33333 10 10 10 10 10 M สําหรับ S1 , S 2 , S 3 , S 4 , S 5 K สามารถใชเปนการประมาณผลบวกของอนุกรมได ใน ลําดับของผลบวกดังกลาว หากมีการใชพจนของอนุกรมมากขึ้น ๆ และการประมาณคาก็จะดีขึ้น 1 ตามลําดับ และลิมิตของลําดับควรจะเปน นั่นเอง 3 เพื่อใหเห็นวาลิมิตเปน 1 จริงนั้น จะตองคํานวณลิมิตของพจนทั่วไป (S n ) ในลําดับที่ใช 3 ประมาณคา ในที่นี้พจนทั่วไปคือ .......... (1) 3 3 3 3 3 3 Sn = + 2 + 3 + 4 + 5 K+ n 10 10 10 10 10 10 จากนั้นทําการหา lim S n จะไดวา n→∞ ⎡3 3 3 3 3 3 ⎤ lim S n = lim ⎢ + 2 + 3 + 4 + 5 K + n ⎥ n→∞ ⎣ n →∞ 10 10 10 10 10 10 ⎦ จะเห็นไดวา การหาลิมิตคอนขางยุงยากเพราะทั้งพจนสุดทายและจํานวนพจนเปลี่ยน ตามคา n จึงตองพยายามเขียนลิมิตใหอยูในรูปที่จํานวนพจนไมแปรคาได ถาหากสามารถทําได ใน ที่น้อาจทําไดดังนี้ ี โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 4. 4 .......... (1) 3 3 3 3 3 3 จาก Sn = + 2 + 3 + 4 + 5 K+ n 10 10 10 10 10 10 สมการ (1) × 10 .......... (2 ) 1 3 3 3 3 3 3 3 S n = 2 + 3 + 4 + 5 + 6 K + n + n +1 10 10 10 10 10 10 10 10 แลวนํา (1) − (2) ได 1 3 3 Sn − S n = − n+1 10 10 10 9 3 3 Sn = − 10 10 10 ⋅ 10 n 9 3⎛ 1 ⎞ S n = ⎜1 − n ⎟ 10 10 ⎝ 10 ⎠ 3 10 ⎛ 1 ⎞ Sn = ⋅ ⎜1 − n ⎟ 10 9 ⎝ 10 ⎠ 1⎛ 1 ⎞ นั่นคือ S n = ⎜1 − n ⎟ 3 ⎝ 10 ⎠ 1⎛ 1 ⎞ และไดวา lim S n = lim ⎜1 − n ⎟ n→∞ n →∞ 3 ⎝ 10 ⎠ = 1 (1 − 0) 3 1 = 3 ซึ่งอาจจะแทนดวยการเขียน 1 3 3 3 3 3 3 = + 2 + 3 + 4 + 5 + K + n + ... 3 10 10 10 10 10 10 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 5. 5 ∞ จากตัวอยางที่กลาวขางตน จะนิยามแนวคิดของผลบวกของอนุกรม ∑ uk ไดดังนี้ k =1 ∞ จาก S n เปนผลบวกของ n พจนแรกของอนุกรม ∑ uk นั้น ในขณะที่ n มีคาเพิ่มขึ้น k =1 ผลบวกยอย S n = u1 + u 2 + ... + u n จะรวมพจนของอนุกรมมากขึ้น ๆ ดังนั้นถา S n มีคาเขาใกล ลิมตคาหนึ่งขณะที่ n → ∞ แลวคาลิมิตนั้นจะเปนผลบวกของทุกพจนในอนุกรมนั้น เขียนเปน ิ นิยามดังนี้ การลูเขาของอนุกรม ∞ นิยาม 2 ให {Sn } เปนลําดับของผลบวกยอยของอนุกรม ∑ uk ถาลําดับ {Sn } ลูเขาสูลิมิต S k =1 หรือ lim S n = S แลวจะเรียกอนุกรมนี้วา อนุกรมลูเขา และเรียก S วา ผลบวกของอนุกรม เขียน n →∞ ∞ แทนดวย S = ∑ uk k =1 ∞ นิยาม 3 ให {Sn } เปนลําดับของผลบวกยอยของอนุกรม ∑ uk ถาลําดับของผลบวกยอยลูออกหรือ k =1 lim S n n→∞ หาคาไมไดแลว จะเรียกอนุกรมนี้วา อนุกรมลูออก และจะไมมีผลบวก ตัวอยาง 1 จงพิจารณาวา อนุกรม 1 − 1 + 1 − 1 + 1 − 1 + K ลูเขาหรือลูออก ถาลูเขาจงหาผลบวก วิธีทํา อนุกรมนี้มีพจนเปนคาบวกและลบสลับกันไป โดยมีคาของผลบวกยอยดังนี้ S1 = 1 S2 = 1 − 1 = 0 S3 = 1 − 1 + 1 = 1 S4 = 1 − 1 + 1 − 1 = 0 S5 = 1 − 1 + 1 − 1 + 1 = 1 … ดั้งนั้นทําใหมีลําดับของผลบวกยอยดังนี้ 1, 0, 1, 0, 1, 0,K ซึ่งพจนในลําดับนี้มีคาสลับกัน ระหวาง 1 และ 0 ไมมคาลูเขาสูคาใดคาหนึ่ง จึงไมมีลิมิต ี นั่นคือลําดับของผลบวกยอยนี้เปนลําดับลูออก โดยนิยามจึงไดวาอนุกรมที่กําหนดเปน  อนุกรมลูออกเชนเดียวกันและไมมีผลบวก โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 6. 6 อนุกรมเรขาคณิต (Geometric Series) นิยาม 4 อนุกรมเรขาคณิต คืออนุกรมที่สามารถเขียนใหอยูในรูปดังนี้ a + ar + ar 2 + ar 3 + K + ar k −1 + K , (a ≠ 0) สังเกตไดวาแตละพจนไดจากการคูณพจนกอนหนาดวยโดยคาคงตัว r และเรียกตัวคูณ r วา อัตราสวนรวม (Common Ratio) ของอนุกรมนั้น ตัวอยางของอนุกรมเรขาคณิต 1 + 2 + 4 + 8 + K + 2k −1 + K : a = 1, r = 2 3 3 3 3 3 1 + 2 + 3 + K + k −1 + K :a = ,r= 10 10 10 10 10 10 1 1 1 1 1 1 1 − + − + K + (−1) k −1 k + K :a = ,r= 2 4 8 16 2 2 2 1+1+1+1+K+1+K : a = 1, r = 1 1 − 1 + 1 − 1 + K + (−1) k +1 + K : a = 1, r = −1 การลูเขาของอนุกรมเรขาคณิตกลาวไวในทฤษฎีบทตอไปนี้ ทฤษฎี 1 อนุกรมเรขาคณิต a + ar + ar 2 + K + ar k −1 + K , (a ≠ 0) จะลูเขา ถา r < 1 และลูออก ถา r ≥ 1 ถาอนุกรมเรขาคณิตนี้ลูเขาแลวจะมีผลบวกเปน a a + ar + ar 2 + K + ar k −1 + K = 1− r โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 7. 7 พิสจน จะแยกพิจารณาเปน 2 กรณี คือ ู r = 1 และ r ≠ 1 ดังนี้ กรณีที่ 1 r = 1 พิจารณาแยกเปน 1.1 r =1 และ 1.2 r = −1 1.1 ถา r = 1 แลวอนุกรมอยูในรูป a + a + a +K+ a +K ผลบวกยอยที่ n คือ S n = na ⎧+ ∞ , a ∈ R + ⎪ และลิมิต lim S n = lim na = ⎨ n→∞ n →∞ ⎪− ∞ , a ∈ R − ⎩ แสดงวาอนุกรมลูออก 1.2 ถา r = −1 แลวอนุกรมอยูในรูป a − a + a − a +K ลําดับของผลบวกยอย คือ a , 0 , a , 0 , a , 0 , ... จึงเปนลําดับลูออก กรณีที่ 2 r ≠1 ลําดับผลบวกยอยที่ n คือ S n = a + ar + ar 2 + K + ar n −1 .......... (1) คูณทั้งสองขางของ (1) ดวย r ได r S n = ar + ar 2 + K + ar n −1 + ar n .......... (2 ) นํา (1) − (2) ได S n − rS n = a − ar n โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 8. 8 (1 − r )S n = a − ar n เนื่องจาก r ≠ 1 ได a − ar n Sn = 1− r a (1 − r n ) Sn = 1− r a (1 − r n ) lim S n = lim n→∞ n →∞ 1− r ถา r <1 แลว lim r n = 0 n→∞ ได {S n } ลูเขา a และได lim S n = n→∞ 1− r ถา r > 1 แลว r > 1 หรือ r < −1 กรณี r > 1 , lim r n = ∞ n→∞ กรณี r < - 1 , คาของ r n จะแกวงระหวางคาบวกและคาลบและมีขนาดเพิ่มขึ้น ดังนั้น {S n } ลูออก ถา r >1 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 9. 9 7 7 7 ตัวอยาง 1 อนุกรม 7+ + 2 + K + k −1 + K 4 4 4 7 a 1 เปนอนุกรมเรขาคณิต มี a=7,r= 2 = 4 = a1 7 4 1 1 เนื่องจาก r = = <1 4 4 ดังนั้นอนุกรมนี้ลูเขา a 7 7 28 มีผลบวกเปน = = = 1− r 1 3 3 1− 4 4 k −1 3 3 3 ⎛ 1⎞ ตัวอยาง 2 อนุกรม 3 − + 2 − 3 +K+ ⎜− ⎟ ⋅3 +K 4 4 4 ⎝ 4⎠ 3 − a 1 เปนอนุกรมเรขาคณิต มี a=3, r = 2 = 4 = − a1 3 4 1 1 เนื่องจาก r =− = <1 4 4 ดังนั้นอนุกรมนี้ลูเขา a 3 3 12 มีผลบวกเปน = = = 1− r ⎛ 1⎞ 5 5 1− ⎜− ⎟ ⎝ 4⎠ 4 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 10. 10 ตัวอยาง 3 จงหาจํานวนตรรกยะที่แทนโดยทศนิยมซ้ํา 0.7777… วิธีทํา เขียนทศนิยมซ้ําที่กําหนดใหอยูในรูปผลบวกอนุกรมอนันตดังนี้ 0.7777... = 0.7 + 0.07 + 0.007 + 0.0007 + ... 7 7 7 7 7 1 = + 2 + 3 + 4 + ... ( เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี a = ,r= ) 10 10 10 10 10 10 7 = 10 1 1− 10 7 = 10 9 10 7 = 9 ตัวอยาง 4 จงพิจารณาวาอนุกรมเรขาคณิตตอไปนี้ลูเขาหรือไม และถาลูเขาจงหาผลรวมของอนุกรม ดวย 2 1. 1 − 2 + ⎛ 2 ⎞ − K ⎜ ⎟ 3 ⎝3⎠ วิธีทํา เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี a = 1 , r = − 2 3 2 2 เนื่องจาก r =− = <1 ดังนั้นอนุกรมนี้ลูเขา 3 3 2 2 ⎛2⎞ a 1 1− + ⎜ ⎟ −K = = 3 ⎝3⎠ 1− r ⎛ 2⎞ 1− ⎜− ⎟ ⎝ 3⎠ 1 3 = = 5 5 3 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 11. 11 2. 1 + π + ⎛ π ⎞ 2 ⎜ ⎟ +K 4 ⎝4⎠ วิธีทํา เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี a = 1, r = π 4 π π เนื่องจาก r = = < 1 ดังนั้นอนุกรมนี้ลูเขา 4 4 ⎛π ⎞π 2 a 1 1 4 1+ + ⎜ ⎟ +K = = = = 4 ⎝4⎠ 1− r 1− π 4 −π 4 −π 4 4 ∞ k ⎛4⎞ 3. ∑⎜ 5 ⎟ k =2 ⎝ ⎠ ∞ k 2 3 4 ⎛4⎞ ⎛4⎞ ⎛4⎞ ⎛4⎞ วิธีทํา ∑ ⎜ 5 ⎟ = ⎜ 5 ⎟ + ⎜ 5 ⎠ + ⎜ 5 ⎟ + ... k =2 ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎟ ⎝ ⎠ 2 ⎛4⎞ 16 4 เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี a=⎜ ⎟ = , r = ⎝5⎠ 25 5 4 4 เนื่องจาก r = = <1 ดังนั้นอนุกรมนี้ลูเขา 5 5 16 16 ∞ k ⎛4⎞ a 16 16 ∑ ⎜ 5 ⎟ = 1 − r = 254 = 25 = 25 • 5 = 5 k =2 ⎝ ⎠ 1 1− 5 5 ∞ 4. ∑ (ln 3)k k =1 ∞ วิธีทํา ∑ (ln 3)k = ln 3 + (ln 3) + (ln 3) + ... 2 3 k =1 เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี a = ln 3 , r = (ln 3) 3 = ln 3 ln 3 เนื่องจาก r = ln 3 = ln 3 = log e 3 > 1 ดังนั้นเปนอนุกรมเรขาคณิตที่ลูออก โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 12. 12 ∞ 5. ∑ (sin 5)k k =1 ∞ วิธีทํา ∑ (sin 5)k = sin 5 + (sin 5) + (sin 5) + ... 2 3 k =1 เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี a = sin 5 , r = (sin 5) 2 = sin 5 sin 5 เนื่องจาก r = sin 5 = sin 5 < 1 ( เนื่องจาก − 1 ≤ sin θ ≤ 1 ) ดังนั้นอนุกรมนี้ลูเขา ∞ ∑ (sin 5) a sin 5 = = k k =1 1 − r 1 − sin 5 ตัวอยาง 5 จงหาจํานวนตรรกยะที่แทนโดยทศนิยมซ้ําตอไปนี้ 1. 0.7888... วิธีทํา 0.7888... = 0.7 + 0.08 + 0.008 + 0.0008 + ... 7 8 8 8 = + 2 + 3 + 4 + ... 10 10 10 10 7 ⎛ 8 8 8 ⎞ ⎛ 8 1⎞ = + ⎜ 2 + 3 + 4 + ...⎟ ⎜a = 2 ,r = ⎟ 10 ⎝ 10 10 10 ⎠ ⎝ 10 10 ⎠ ⎛ 8 ⎞ 7 ⎜ 10 2 ⎟ = +⎜ ⎟ 10 ⎜ 1 − 1 ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ 10 ⎠ 7 ⎛ 8 10 ⎞ = +⎜ • ⎟ 10 ⎝ 10 2 9 ⎠ 7 8 = + 10 90 63 + 8 71 = = 90 90 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 13. 13 2. 0.784784... วิธีทํา 0.784784784... = 0.784 + 0.000784 + 0.000000784 + ... 784 784 784 ⎛ 784 1 ⎞ = + + + ... ⎜a = 3 ,r = 3 ⎟ 103 106 109 ⎝ 10 10 ⎠ 784 3 = 10 1 1− 3 10 784 3 = 10 999 103 784 103 = 3• 10 999 784 = 999 ตัวอยาง 6 โยนลูกปงปองจากที่สูงระยะ a เมตร ลงบนพื้นที่เรียบ แตละครั้งที่ลูกปงปองกระทบ พื้น เมื่อตกลงมาเปนระยะทาง h เมตร จะกระดอนกลับขึ้นไปเปนระยะ rh เมตร (0 < r < 1) จงหาระยะทางที่ลูกปงปองเคลื่อนที่ทั้งหมดจนกวาจะหยุดนิ่ง วิธีทํา พิจารณาจากรูปไดดังนี้ • A0 A1 A2 A3 A4 K โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 14. 14 จาก A0 ถึง A1 เคลื่อนที่ไดระยะทาง a เมตร จาก A1 ถึง A2 เคลื่อนที่ไดระยะทาง ar + ar = 2ar เมตร จาก A2 ถึง A3 เคลื่อนที่ไดระยะทาง ar 2 + ar 2 = 2ar 2 เมตร จาก A3 ถึง A4 เคลื่อนที่ไดระยะทาง ar 3 + ar 3 = 2ar 3 เมตร มีลักษณะเชนนี้ไปเรื่อย ๆ จะไดระยะทางที่เคลื่อนที่ทั้งหมด S = a + 2ar + 2ar 2 + 2ar 3 + ... = a + (2ar + 2ar 2 + 2ar 3 + ...) = a + 2ar (1 + r + r 2 + ...) ⎛ 1 ⎞ = a + 2ar ⎜ ⎟ (a = 1, r = r < 1) ⎝1− r ⎠ 2ar = a+ 1− r 2 เชน a = 10 , r = จะได 3 2(10 ) 2 ระยะทางทั้งหมด = 10 + 3 2 1− 3 40 = 10 + 3 1 3 40 = 10 + •3 3 = 50 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 15. 15 ตัวอยาง 7 กําหนดใหรปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่ n + 1 เกิดจากการลากเสนตรงตอจุดกึ่งกลางทั้ง ู สามของรูปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่ n ถากระบวนการสรางรูปสามเหลี่ยมดานเทานี้ไมสิ้นสุด และ ผลบวกของเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่ 1 เทากับ a หนวย จงหาผลบวกของเสน รอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทาเหลานี้ วิธีทํา พิจารณาจากรูปไดดังนี้ เสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่ 1 เทากับ a หนวย a เสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่ 2 เทากับ หนวย 2 a เสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่ 3 เทากับ หนวย 4 a เสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่ 4 เทากับ หนวย 8 M a a a ผลบวกของเสนรอบรูปทั้งหมดเทากับ a+ + + + ... 2 4 8 a = 1 1− 2 = 2a หนวย โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 16. 16 ∞ 1 1 1 1 ตัวอยาง 8 จงพิจารณาวาอนุกรม ∑ = + + +K k =1 k (k + 1) 1.2 2.3 3.4 ลูเขาหรือลูออก ถาลูเขาจงหาผลบวก วิธีทํา ผลบวกยอยที่ n ของอนุกรมนี้ คือ n 1 1 1 1 1 Sn = ∑ = + + +K+ k =1 k (k + 1) 1.2 2.3 3.4 n(n + 1) พิจารณาการลูเขาหรือลูออก โดยการหา lim S n n →∞ พิจารณาเขียน S n ใหมในรูปที่ไมมีการขยายพจน เพื่อสะดวกในการหา lim S n n→∞ ในกรณีนี้สามารถทําไดโดยใชวิธของการแยกเศษสวนยอยไดผลดังนี้ ี 1 1 1 = − n(n + 1) n n + 1 ⎛ 1⎞ ⎛1 1⎞ ⎛1 1⎞ ⎛1 1 ⎞ ดังนั้น S n = ⎜1 − ⎟ + ⎜ − ⎟ + ⎜ − ⎟ + K + ⎜ − ⎟ ⎝ 2⎠ ⎝ 2 3⎠ ⎝3 4⎠ ⎝ n n +1⎠ ⎛ 1 1⎞ ⎛ 1 1⎞ ⎛ 1 1⎞ 1 = 1+ ⎜− + ⎟ + ⎜− + ⎟ +K+ ⎜− + ⎟ − ⎝ 2 2⎠ ⎝ 3 3⎠ ⎝ n n ⎠ n +1 1 =1− n +1 ⎛ 1 ⎞ และ lim S n = lim⎜1 − ⎟ =1 n →∞ n →∞ ⎝ n + 1⎠ ∞ 1 ดังนั้น ∑ k (k + 1) = 1 k =1 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 17. 17 ตัวอยาง 9 จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้ลูเขาหรือลูออก ถาลูเขาจงหาผลบวก ∞ 1 1. ∑ k =1 (4k − 3)(4k + 1) n 1 วิธีทํา Sn = ∑ k =1 (4 k − 3)(4k + 1) 1 1 1 1 = + + +K+ 1.5 5.9 9.13 (4n − 3)(4n + 1) 1 1⎛ 1 1 ⎞ จาก = ⎜ − ⎟ (โดยการแยกเศษสวนยอย) จะได (4n − 3)(4n + 1) 4 ⎝ 4n − 3 4n + 1 ⎠ 1⎛ 1⎞ 1⎛1 1⎞ 1⎛ 1 1 ⎞ Sn = ⎜1 − ⎟ + ⎜ − ⎟ + K + ⎜ − ⎟ 4⎝ 5⎠ 4⎝5 9⎠ 4 ⎝ 4n − 3 4 n + 1 ⎠ 1 ⎡⎛ 1 ⎞ ⎛ 1 1 ⎞ ⎛ 1 1 ⎞⎤ = ⎢⎜1 − 5 ⎟ + ⎜ 5 − 9 ⎟ + ... + ⎜ 4n − 3 − 4n + 1 ⎟⎥ 4 ⎣⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎦ 1 ⎡ ⎛ 1 1⎞ ⎛ 1 1⎞ ⎛ 1 1 ⎞ 1 ⎤ = ⎢1 + ⎜ − 5 + 5 ⎟ + ⎜ − 9 + 9 ⎟ + ... + ⎜ − 4n − 3 + 4n − 3 ⎟ − 4n + 1⎥ 4⎣ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎦ 1⎛ 1 ⎞ = ⎜1 − ⎟ 4 ⎝ 4n + 1 ⎠ และ lim S n = lim 1 ⎛1 − ⎜ 1 ⎞ 1 ⎟ = (1 − 0 ) = 1 n →∞ n →∞ 4⎝ 4n + 1 ⎠ 4 4 ∞ 1 1 ดังนั้น ∑ = k =1 (4k − 3)(4k + 1) 4 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 18. 18 2. ∑ 22k + 1 2 ∞ k =1 k (k + 1) n 2k + 1 วิธีทํา Sn = ∑ k (k + 1) 2 2 k =1 1 5 7 2n + 1 = + 2 2 + 2 2 +K+ 2 1 •2 2 •3 3 •4 n (n + 1) 2 2 2 1 1 1 จาก = 2− (โดยการแยกเศษสวนยอย) จะได n (n + 1) n (n + 1)2 2 2 ⎛ 1⎞ ⎛1 1⎞ ⎛1 1 ⎞ ⎛ 1 1 ⎞ S n = ⎜1 − ⎟ + ⎜ − ⎟ + ⎜ − ⎟ K + ⎜ 2 − ⎜n ⎟ ⎟ ⎝ 4 ⎠ ⎝ 4 9 ⎠ ⎝ 9 16 ⎠ ⎝ (n + 1)2 ⎠ ⎛ 1 1⎞ ⎛ 1 1⎞ ⎛ 1 1 ⎞ 1 = 1+ ⎜− + ⎟ + ⎜− + ⎟ +K+ ⎜− 2 + 2 ⎟ − ⎝ 4 4⎠ ⎝ 9 9⎠ ⎝ n n ⎠ (n + 1)2 1 =1− (n + 1)2 ⎛ ⎞ 1 และ lim S n = lim ⎜1 − n→∞ ⎜ ⎟ = 1− 0 = 1 n→∞ ⎝ (n + 1) ⎟ ⎠ 2 ดังนั้น ∑ 22k + 1 2 ∞ =1 k =1 k (k + 1) โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 19. 19 ∞ 3. ∑ ln k k +1 k =1 n k วิธีทํา S n = ∑ ln k =1 k +1 1 2 3 n = ln + ln + ln + K + ln 2 3 4 n +1 = ln n − ln (n + 1) n จากกฎลอการิทึม ln จะได n +1 S n = (ln1 − ln 2 ) + (ln 2 − ln 3) + (ln 3 − ln 4 )K + (ln n − ln (n + 1)) = ln 1 − ln (n + 1) = 0 − ln(n + 1) = − ln (n + 1) และ lim S n = lim (− ln(n + 1)) = − ∞ n→∞ n→∞ ∞ ดังนั้น ∑ ln k เปนอนุกรมลูออก k +1 k =1 ∞ 1 1 4. ∑ − k =1 k k +1 n 1 1 วิธีทํา Sn = ∑ − k =1 k k +1 ⎛ 1 ⎞ ⎛ 1 1 ⎞ ⎛ 1 1 ⎞ ⎛ 1 1 ⎞ = ⎜1 − ⎟+⎜ − ⎟+⎜ − ⎟K + ⎜ − ⎟ ⎝ 2⎠ ⎝ 2 3⎠ ⎝ 3 4⎠ ⎝ n n +1 ⎠ ⎛ 1 1 ⎞ ⎛ 1 1 ⎞ ⎛ 1 1 ⎞ 1 = 1+ ⎜− + ⎟ + ⎜− ⎜ + ⎟ +K+ ⎜− ⎟ ⎜ + ⎟− ⎟ ⎝ 2 2⎠ ⎝ 3 3⎠ ⎝ n n⎠ n +1 1 = 1− n +1 และ lim S n = lim⎛1 − ⎜ n → ∞⎜ 1 ⎞ ⎟ = 1− 0 = 1 ⎟ n→∞ ⎝ n +1 ⎠ ∞ 1 1 ดังนั้น ∑ − =1 k =1 k k +1 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 20. 20 ตัวอยาง 10 จงหาคา x ที่ทําใหอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมที่ลูเขา ∞ 1. ∑ (− 1)k x 2 k k =0 ∞ วิธีทํา ∑ (− 1)k x 2 k =1 − x 2 + x 4 − x 6 + ... k =0 a = 1 , r = −x2 เปนอนุกรมเรขาคณิต อนุกรมลูเขาเมื่อ r <1 นั่นคือ − x 2 <1 x2 < 1 x2 −1 < 0 (x − 1)(x + 1) < 0 จะได −1 < x < 1 ⎛ x −1⎞ ∞ k 2. ∑ 3⎜ 2 ⎟ k =0 ⎝ ⎠ ⎛ x −1 ⎞ ⎛ x −1⎞ ∞ ∞ k k วิธีทํา ∑ 3⎜ 2 ⎟ = 3∑ ⎜ 2 ⎟ k =0 ⎝ ⎠ k =0 ⎝ ⎠ ⎡ ⎛ x − 1 ⎞ ⎛ x − 1 ⎞2 ⎤ = 3⎢1 + ⎜ ⎟+⎜ ⎟ + ...⎥ ⎢ ⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠ ⎣ ⎥ ⎦ x −1 a =1 , r = เปนอนุกรมเรขาคณิต 2 อนุกรมลูเขาเมื่อ r <1 นั่นคือ x −1 <1 2 x −1 −1 < <1 2 − 2 < x −1 < 2 จะได −1 < x < 3 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 21. 21 ∞ 3. ∑ sin n x k =0 ∞ วิธีทํา ∑ sin n x = 1 + sin x + sin 2 x + sin 3 x + ... k =0 a = 1 , r = sin x เปนอนุกรมเรขาคณิต อนุกรมลูเขาเมื่อ r <1 นั่นคือ sin x <1 − 1 < sin x < 1 ถา sin x =1 จะได sin x = ±1 π จะได x = (2r + 1) เมื่อ r เปนจํานวนเต็ม 2 π จะไดคําตอบคือ x ≠ (2r + 1) 2 ∞ 4. ∑ (ln x )n k =0 ∞ วิธีทํา ∑ (ln x )n = 1 + ln x + (ln x )2 + (ln x )3 + ... k =0 a = 1 , r = ln x เปนอนุกรมเรขาคณิต อนุกรมลูเขาเมื่อ r <1 นั่นคือ ln x <1 ดังนั้น − 1 < ln x < 1 จะได − 1 < log e x < 1 e −1 < x < e 1 <x<e e โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 22. 22 5. ∑ (− 1) ∞ k ⎛ 1 ⎞ k ⎜ ⎟ k =02 ⎝ 3 + sin x ⎠ ∞ (− 1)k ⎛ 1 ⎞ k ⎛ 1 ⎞⎛ 1 ⎞ 1⎛ ⎞ 2 ⎟ = (1) + ⎜ − ⎟⎜ 1 1 วิธีทํา ∑ ⎜ ⎟+ ⎜ ⎟ + ... k =0 2 ⎝ 3 + sin x ⎠ 2 ⎝ 2 ⎠⎝ 3 + sin x ⎠ 2 ⎝ 3 + sin x ⎠ 1⎡ ⎤ 2 1 ⎛ 1 ⎞ = ⎢1 − +⎜ ⎟ + ...⎥ 2 ⎢ 3 + sin x ⎝ 3 + sin x ⎠ ⎣ ⎥ ⎦ 1 a =1 , r = − เปนอนุกรมเรขาคณิต 3 + sin x อนุกรมลูเขาเมื่อ r <1 นั่นคือ 1 − <1 3 + sin x 1 <1 3 + sin x 1 −1 < <1 3 + sin x จะได − 3 − sin x < 1 < 3 + sin x (3 + sin x > 0) − 3 − sin x < 1 และ 1 < 3 + sin x − sin x < 4 และ − 2 < sin x sin x > −4 และ sin x > −2 sin x > −2 เนื่องจาก − 1 ≤ sin x ≤ 1 คําตอบคือ −∞< x<∞ โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 23. 23 ตัวอยาง 11 จงหาคา x ที่ทําใหอนุกรม 1 + 2 x + x 2 + 2 x 3 + x 4 + 2 x 5 + x 6 + 2 x 7 + x8 + ... เปนอนุกรมที่ลูเขาพรอมกับหาผลรวมดวย วิธีทํา 1 + 2 x + x 2 + 2 x 3 + x 4 + 2 x 5 + x 6 + 2 x 7 + x8 + ... ( ) ( = 1 + x 2 + x 4 + x 6 + x8 + ... + 2 x + 2 x 3 + 2 x 5 + 2 x 7 + ...) ( ) ( = 1 + x 2 + x 4 + x 6 + x8 + ... + 2 x 1 + x 2 + x 4 + x 6 + ...) ( ) = 1 + x 2 + x 4 + x 6 + x8 + ... (1 + 2 x ) (เปนอนุกรมเรขาคณิต) ⎛ 1 ⎞ =⎜ 2 ⎟ (1 + 2 x ) ⎝1− x ⎠ 1 + 2x = 1 − x2 เปนอนุกรมลูเขาเมื่อ x2 < 1 x2 < 1 x 2 − 1< 0 (x − 1)(x + 1)< 0 จะได −1 < x < 1 1 + 2x และผลรวมของอนุกรมนี้คือ 1 − x2 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 24. 24 อนุกรมฮารมอนิก (Harmonic Series) ในบรรดาอนุกรมที่ลูออกทั้งหมด มีอนุกรมที่สําคัญที่สดอนุกรมหนึ่ง คือ อนุกรมฮารมอ ุ นิก ∞ 1 1 1 1 1 ∑ k = 1+ 2 + 3 + 4 + 5 +K k =1 อนุกรมนี้เกิดขึ้นในเรื่องที่เกี่ยวกับเสียงสอดแทรกที่เกิดจากการสั่นของเสนลวดในเครื่อง ดนตรี เราทราบวาอนุกรมนี้ลออกโดยการตรวจสอบผลบวกยอย ดังนี้ ู S1 = 1 1 S2 = 1 + 2 1 1 S3 = 1 + + 2 3 1 1 1 S4 = 1 + + + 2 3 4 ผลบวกยอยเหลานี้สรางลําดับเพิ่ม S1 < S 2 < S3 K < S n < โดยทฤษฎีบทสามารถพิสูจนไดวาลําดับนี้ลูออก โดยจะแสดงใหเห็นวาไมมีคาคงที่ M ที่มีคา มากกวาหรือเทากับทุกผลบวกยอย พิจารณาผลบวกยอยบางจํานวน คือ S2 , S4 , S8 , S16 , S32 ,K ซึ่งเปนผลบวกยอยใน รูป S2 n ผลบวกยอยเหลานี้สอดคลองอสมการ 1 1 1 2 S2 = 1 + > + = 2 2 2 2 1 1 1 1 1 3 S4 = S2 + + > S2 + ( + ) = S2 + > 3 4 4 4 2 2 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 25. 25 1 1 1 1 1 1 1 1 1 4 S8 = S 4 + + + + > S4 + ( + + + ) = S4 + > 5 6 7 8 8 8 8 8 2 2 1 1 1 1 1 1 1 1 5 S16 = S8 + + + + + K + > S8 + ( + K + ) = S8 + > M 9 10 11 12 16 16 16 2 2 ← 8 พจน → n +1 S2n > 2 n +1 ถา M เปนคาคงตัวใด ๆ เราสามารถหาจํานวนเต็มบวก n โดยที่ >M แตสําหรับ 2 n คานี้ เรามี n +1 S2n > >M 2 ดังนั้นจึงไมมีคาคงตัว M คาใดที่มากกวาหรือเทาหรับผลบวกยอยของอนุกรมฮารมอนิก จึงพิสูจนไดวาอนุกรมฮารมอนิกนี้ลูออก โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 26. 26 แบบฝกหัด 1. ในแตละขอยอย จงหารูปแบบที่ไมมีการขยายพจนของผลบวกยอย S n และจงหาวาอนุกรมที่ กําหนดลูเขาหรือไม ถาลูเขาจงหาผลบวก ∞ ∞ 2 1 ก. ∑ ข. ∑ k =1 (k + 1)(k + 2 ) k −1 k =1 5 ∞ k −1 ∞ 7 ค. ∑ 2 ง. ∑ k k =1 4 k =1 4 ∞ ∞ 4 1 จ. ∑ ฉ. ∑ k =1 (4k − 3)(4 k + 1) k =1 (4k − 3)(4k + 1) จากขอ 2 – 20 จงหาวาอนุกรมลูเขาหรือลูออก ถาลูเขาจงหาผลบวก ∞ ∞ k −1 1 ⎛ 3⎞ 2. ∑ 5k k =1 3. ∑⎜− 4 ⎟ k =1 ⎝ ⎠ ∞ k +2 ∞ k −1 ⎛2⎞ 4. ∑⎜ 3 ⎟ 5. ∑ (− 1) ⋅ 7 k =1 ⎝ ⎠ k =1 6 k −1 ∞ ∞ k +1 7. ∑ ⎛ − 3 ⎞ k −1 6. ∑ 4 ⎜ ⎟ k =1 k =1 ⎝ 4⎠ ∞ ∞ 8. ∑ ⎛ ⎜ 1 − 1 ⎞ ⎟ 9. ∑ 1 k =1 ⎝ k + 3 k +4⎠ k =1 (k + 2 )(k + 3) ∞ ∞ 10. ∑ ⎛ ⎜ 1 1 ⎞ − k +1 ⎟ 11. ∑ 1 k =1 ⎝ 2 2 ⎠ k =1 9k + 3k − 2 k 2 ∞ 1 ∞ 4 k +2 12. ∑ 13. ∑ k =2 k − 1 k =1 7 − 1 2 k ∞ k −1 ∞ k 14. ∑ ⎛ e ⎞ ⎜ ⎟ 15. ∑ ⎛ − 1 ⎞ ⎜ ⎟ k =1 ⎝π ⎠ k =1 ⎝ 2⎠ ∞ ∞ 16. ∑ 5 17. ∑ (− 1)k ⋅ 5 k =1 k − 2 k =1 4k โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 27. 27 ∞ ∞ 19. ∑ ⎛ 1 ⎞ k 5 18. ∑ 2 k ⎜ − k⎟ k =1 ⎝ 2 3 ⎠ k k =0 5 ∞ 4 20. ∑ k =3 (4k − 3)(4 k + 1) จากขอ 21 - 24 จงกระจายทศนิยมซ้ําในรูปเศษสวน 21. 0.4444K 22. 5.373737 K 23. 0.782178217821K 24. 0.234234234 K 25. ปลอยลูกบอลจากที่สูง 4 เมตร แตละครั้งที่ลูกบอลกระทบพื้น ลูกบอลจะกระดอนขึ้นตามแนวดิ่ง มีความสูงเปน 3 เทาของความสูงกอนหนานั้น จงหาระยะทางรวมที่ลูกบอลเคลื่อนไปไดสมมติ 4 ลูกบอลกระดอนแบบไมหยุด ∞ 26. จงแสดงวา ∑ ln⎛1 − 22 ⎞ = − ln 2 ⎜ ⎟ ⎝ k ⎠ k =2 ∞ k +1 − k 27. จงแสดงวา ∑ =1 k =1 k2 + k 1 1 1 1 28. จงแสดงวา + + +K= 1.3 3.5 5.7 2 29. จงใชอนุกรมเรขาคณิตแสดงวา ∞ k ก. ∑ (− 1) xk = 1 ถา − 1 < x < 1 k =0 1+ x ∞ ข. ∑ (x − 3)k = 1 ถา 2 < x < 4 k =0 4− x ∞ ค. ∑ (− 1)k x 2 k = 1 ถา − 1 < x < 1 k =0 1+ x2 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 28. 28 จากขอ 30 – 31 จงหาคา x ทั้งหมดที่ทําใหอนุกรมลูเขา และจงหาผลบวก 1 2 4 8 16 30. 2 + 3 + 4 + 5 + 6 +K x x x x x 1 1 1 31. sin x − sin 2 x + sin 3 x − sin 4 x + K 2 4 8 32. ถาดานหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึ่งยาว p หนวย ถาเชื่อมจุดกึ่งกลางของดานทั้งสี่ดวย เสนตรงจะเกิดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปใหม และถาเชื่อมจุดกึ่งกลางของดานทั้งสี่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส รูปใหมน้นดวยเสนตรงอีกก็จะเกิดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปใหมอีก ทําเชนนี้ไปเรื่อย ๆ จงหาความยาว ั ของเสนรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรสที่เกิดขึ้นทั้งหมด ั 33. รูปสามเหลี่ยมดานเทารูปหนึ่งยาวดานละ 1 นิ้ว ถาแบงครึ่งดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมดาน เทารูปนี้แลวสรางรูปสามเหลี่ยมดานเทาอีกรูปหนึ่ง แลวแบงครึ่งดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมดาน เทารูปที่สองวนี้แลวสรางรูปสามเหลี่ยมดานเทารูปที่สาม ทําเชนนี้เรื่อย ๆ ไปไมสิ้นสุด จงหาความ ยาวของเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทาทุกรูปที่สรางได 34. ภายในรูปครึ่งวงกลมมีรปสามเหลี่ยมหนาจั่วมุมฉากบรรจุอยู และภายในรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว ู มุมฉาก จะมีรูปครึ่งวงกลมบรรจุอยูภายใน เปนเชนนี้ไปเรื่อย ๆ ไมส้นสุด ถากําหนดใหรัศมีของรูป ิ ครึ่งวงกลมนอกรูปนอกสุดเทากับ 1 นิ้ว จงหาความยาวของสวนโคงทั้งหมด 35. แมลงตัวหนึ่งซึ่งมีขนาดเล็กมากอยูที่จุด (0,0) บนพิกัดระนาบ xy แลวเดินไปทางขวา 1 หนวย ถึงจุด (1,0) แลวเดินเลี้ยวซายไป 0.5 หนวย ถึงจุด (1,0.5) และตอไปทุก ๆ ครั้งของการเดินทางจะ เดินเลี้ยวซาย แลวเดินเปนระยะครึ่งเทาของการเดินทางครั้งกอนเสมอ ถาแมลงตัวนี้เดินไปเรื่อย ๆ จะเดินเขาใกลจุดใด โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 29. 29 คําตอบแบบฝกหัด 1. ก. ลูเขาสู 5 ข. ลูเขาสู 1 2 2 7 ค. ลูออก ง. ลูเขาสู 3 จ. ลูเขาสู1 ฉ. ลูเขาสู 1 4 2. ลูเขาสู 1 3. ลูเขาสู 4 4 7 4. ลูเขาสู 8 5. ลูเขาสู 6 9 6. ลูออก 7. ลูออก 8. ลูเขาสู 1 9. ลูเขาสู 1 4 3 10. ลูเขาสู 1 11. ลูเขาสู 1 2 6 12. ลูเขาสู 1 13. ลูเขาสู 448 4 3 π 14. ลูเขาสู 15. ลูเขาสู − 1 π −e 3 16. ลูออก 17. ลูเขาสู 4 18. ลูเขาสู 5 19. ลูเขาสู 17 3 2 1 20. ลูเขาสู 9 4 532 21. 22. 9 99 869 234 23. 24. 1111 999 25. 28 โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท
  • 30. 30 1 30. x < −2 ∪ x > 2 หรือ x >2 มีผลบวก = x −x 2 2 sin x 31. −∞ < x < ∞ มีผลบวก = 2 + sin x 4 2p 32. หนวย 2 −1 33. 6 นิ้ว 2π 34. นิ้ว 2 −1 35. (0.8 , 0.4) โดย รองศาสตราจารย ดร. ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท