SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 6
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1 
 


                 New Strategic Management 2013
                                                                                      ดร.ดนัย เทียนพุฒ
                                                                  นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาอิสระ
                                                                              
                                                              ผูอํานวยการโครงการ Human Capital
                   เรื่องจัดการเชิงกลยุทธ (Strategic Management) สําหรับธุรกิจในปจจุบัน เมื่อผูเขียนไป
บรรยายหรือนําสัมมนาใหกบบริษทลูกคา มักจะถูกผูบริหารระดับสูง MD CEO และประธานบริษัทถาม
                       ั    ั
คําถามตอไปนี้
                    การวัดผลสําเร็จธุรกิจในปจจุบันไมมีอะไรใหมไปกวาการใช “ดัชนีวัดผลสําเร็จธุรกิจ
(KPIs: Key Performance Indicators)”แลวหรือ
                    ถาไมใช BSC หรือ Balanced Scorecard ในการจัดทํากลยุทธธุรกิจ ยังมีวธีการอืน
                                                                                         ิ      ่
อีกไหม
                    เห็นตําราหรือผูบรรยายดานกลยุทธบอกวา การจัดทํา BSC มีความสําเร็จเพียง 25-
30% แสดงวาธุรกิจหรือองคกรตางๆ ดําเนินการโดยยังขาดความเขาใจที่ถูกตองใชไหม
                    เทาที่จัดทํากลยุทธมายังไมเคยเห็นการจัดทํา BSC ไดโดยตลอดทั้งองคกร เพราะมัก
พูดกันในทางหลักการหรือทฤษฎีเทานัน
                                 ้
                    ถามตรงๆ เลยครับ CEO MD หรือประธานบริษัทใช BSC ทําอะไรได หรือควบคุม
ธุรกิจดวย BSC & KPIs แผนเดียวเทานันจริงๆ หรือครับแลวผูบริหารระดับอื่นๆ ใชไดเหมือนกันไหม
                                     ้

                   คงมีอีกหลายๆ คําถามในเชิงการจัดการกลยุทธ โดยการใช Balanced Scorecard และ
KPIs ในธุรกิจปจจุบันนี้

                  Balanced Scorecard (BSC) เปนสํานักความคิดการจัดการผลงานดวย BSC
                       ผูเขียนเชื่อวาในปจจุบน ผูบริหารธุรกิจคงไมมีใครที่ไมไดเคยศึกษา ไมไดอานหนังสือ
                                               ั 
The Balanced Scorecard ตามแนวคิดของ Kaplan และ Norton (Kaplan & Norton; 1993, 1996,
2001, 2004) ซึ่งไดมการพัฒนาเครื่องมือใหมในระบบการวัดผลกลยุทธ (Strategic Measurement
                    ี
System) โดยเฉพาะหนังสือเลม Alignment และ The Execution Premium หากประมวลสรุปการพัฒนา
ของ BSC ไดเปนดังนี้

New Strategic Management                                                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ: โครงการ Human Capital 
Copyright 2012 
 
2 
 

                    1) เริ่มแรกจากการเสนอใหธุรกิจ มีระบบวัดกลยุทธธุรกิจใน 2 มิติคือ (1) มิติ
ดานการเงิน (Financial Perspective) และ (2) มิติดานไมใชการเงิน (Non-Financial Perspective) การ
                                                 
วัดดานกระบวนการภายใน (Internal Business Process Perspective) และการวัดดานการเรียนรูและ
เติบโต (Learning & Growth Perspective)
                        และอธิบายย้ําวา ระบบ Scorecard ทีเ่ หมาะสมควรพัฒนามาจากภารกิจ/Mission
ขององคกร(ในทางกลยุทธแลวอาจไมจาเปน การเริ่มทีวสัยทัศนนาจะดีกวา)
                                ํ               ่ิ        
                        แนวคิดดั้งเดิมของ BSC นี้เกิดและพัฒนามาตั้งแตป 1993-2000 เรียกวาเปน
ระบบวัดผลกลยุทธ (Strategic Measurement System)
                    2) ในระยะตอมาเปนระยะทีสองตั้งแตป 2001-2003 Kaplan & Norton ยังคงเสนอ
                                            ่
แนวคิดตอเนื่องและมีการขยายแนวคิด Balanced Scorecard(BSC) ใหกวางและครอบคลุมมากขึ้น
สามารถใชกับธุรกิจไดมากยิงขึ้นและอธิบายวา
                          ่
                    (1) การจัดทํากลยุทธของธุรกิจตองเปนการจัดทําในลักษณะ “องคกรทีมุงกลยุทธ (SFO:
                                                                                   ่
Strategic-Focused Organization)”
                    (2) ระบบ Scorecard ที่ออกแบบใหสามารถจัดการกลยุทธไดสําเร็จนันมีมติที่แตกตาง
                                                                                 ้ ิ
กันใน 3 เรื่องคือ
                    กลยุทธ(Strategy) ทําใหกลยุทธเปนศูนยรวมของทุกอยางในองคกร การทํา BSC
จะตองบรรยายและสื่อสารกลยุทธในวิธีที่เปนความเขาใจและนําไปปฏิบัติได
                    จุดมุง(Focus) สรางจุดมุงทีไมนาเบื่อดวย BSC ใหเปนเครื่องชวยนําทางสําหรับ
                                              ่
ทรัพยากรทุกอยางและกิจกรรมทั้งหมดในองคกรสามารถจัดวางไปสูกลยุทธ
                    องคกร(Organization) การขับเคลื่อนพนักงานทุกคนเพือสามารถปฏิบติบนพืนฐานที่
                                                                     ่          ั     ้
แตกตางกัน BSC สรางตรรกและออกแบบองคกรใหมซึ่งเชื่อมโยงหนวยธุรกิจทังหมด มีการใหบริการ
                                                                     ้
รวมกันและจากพนักงานทุกคน
                    3) ระยะที่สาม ตั้งแตป 2004-2005 Kaplan & Norton ไดมีการปรับแนวคิด
Balanced Scorecard โดยจัดทํา “ตัวแบบแผนที่กลยุทธ (Strategy Maps Template)” ซึ่งอางวา
สามารถใชไดกับทุกธุรกิจและพยายามเพิมเขาไปสูการวัดดานทรัพยสินที่จับตองไมได (Intangible
                                    ่
Assets) อธิบายถึง


New Strategic Management                                                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ: โครงการ Human Capital 
Copyright 2012 
 
3 
 

                   (1) การปรับสมการใหมของการจัดทํากลยุทธ เปนดังนี้

      การมุงเขาสูผลลัพธ             =         แผนที่กลยุทธ + BSC + องคกรที่มุงกลยุทธ


    *อางจาก Kaplan & Norton. (2004)

                   (2) ในแผนทีกลยุทธ (Strategy Maps) ไดพยายามทําใหเปนตัวแบบ (Template) วามีส่ง
                              ่                                                                  ิ
เพิ่มเขามาโดยการมองมิติของการวัดที่ไมใชการเงินในดานการเรียนรูและการเติบโตวาเปนเรื่องของ 3 ทุน
ดวยกันคือ 1.ทุนมนุษย (Human Capital) 2.ทุนสารสนเทศ (Information Capital) 3.ทุนองคกร (Orga-
nization Capital)
                   และสามารถวัดทรัพยสนที่จบตองไมได (Intangible Assets) ทังทุนมนุษย ทุนสารสนเทศ
                                      ิ ั                                    ้
และทุนองคกรที่ปรับใหเปนผลไดที่จบตองได (Tangible Outcomes)
                                   ั
                   4) ระยะที่ 4 ตั้งแตป 2006-2008 Kaplan & Norton ไดนําเสนอหนังสือเลมที่ 4
Alignment เปนการบอกใหองคกรรูวาตองมี OSM หรือ Office of Strategic Management ดังเชนใน
ประเทศไทย กระทรวงทุกกระทรวงจะมีสานักนโยบายและยุทธศาสตร (ตรงตามหนังสือเปะ!) และในเลมที่
                                ํ
5 The Execution Premium เปนการยอนกลับมาวา BSC ทั้งหมดนั้นเปนระบบการจัดการ (The
Balanced Scorecard as Management System) และในปจจุบน BSC ยังเปนสํานักทางความคิด
                                                    ั
(School of Thought) อีกดวย
                   ในรูปที่ 1 สํานักความคิดการจัดการผลงานดวย BSC (The Balanced Scorecard
Performance Management School of Thought) Kaplan & Norton อธิบาย BSC ใหมวาเปนการสราง
                                                                          
กรอบที่เปนองครวมซึ่งประยุกตใชไดตลอดใน 6 ขั้นของการจัดการคือ (1) การพัฒนากลยุทธ (2) แผน
กลยุทธ (3) จัดวางองคกร (4) แผนดําเนินงาน (5) การกํากับติดตามและการเรียนรู (6) การทดสอบและ
ปรับใช




New Strategic Management                                                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ: โครงการ Human Capital 
Copyright 2012 
 
4 
 

                                รูปที่ 1 สํานักความคิดการจัดการผลงานดวย BSC




 
    *Norton, D.P. (2008). “What is your Strategy Management Philosophy” Balanced Scorecard Report.
 
          Nov-Dec, Vol.10, No.6 p.3-4                           = ทุกสี เปนหนังสือของ Kaplan และNorton
 

                    โดยมองวา แนวคิดจากหนังสือ The Balanced Scorecard เลมแรกและหนังสือ 
Strategic Maps เปนสวนหลักของ “โมเดลเศรษฐกิจของการสรางคุณคา” 

                    และหนังสือ The Strategy – Focused Organization เปน “ปรัชญาแหงการจัดการ” คือ 

                    - Mobilize :        ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงผานความเปนผูนําของผูบริหาร 
                    - Translate:       แปลกลยุทธเขาไปในเทอมของการดําเนินงาน 
                    - Align :          จัดวางองคกรกับกลยุทธ 
                    - Motivate :       จูงใจเพื่อใหกลยุทธเปนงานของทุกคน 
                    - Govern :         บริหารใหกลยุทธเปนกระบวนการที่ตอเนื่อง 
New Strategic Management                                                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ: โครงการ Human Capital 
Copyright 2012 
 
5 
 

                   สวนยอดสุด หนังสือ The Execution Premium และ Alignment เปน “การบูรณาการ
ของระบบการจัดการ” ใน 6 ขั้นของการจัดการ ตามที่อธิบายไวกอนหนานี ้
                   สําหรับการนําไปสูการจัดทําแผนปฏิบัติการหรือโครงการ (การริเริ่ม-Initiative) ทําไดดัง
รูปที่ 2 

                         รูปที่ 2 การนํา BSC ไปสูการจัดทําแผนปฏิบัติการหรือโครงการ 




 

                   - BSC      กําหนดเปนวัตถุประสงคเชิงกลยุทธใน 4 ดานคือ Financial (ROI, 
Productivity) Customer (ดึงดูด           รักษาลูกคาและราคาถูกทุกรุน)
                                                                             Internal Business กระบวนการที่เปน

จริง (Fast Process) และ Learning & Innovation  การปฏิบัติการที่ไรรอยตะเข็บ (Seamless Operation 
Practices) ซึ่งวัตถุประสงค (Objectives) คือ ขอความของกลยุทธอะไรที่ตองการบรรลุ                      ในกรณีนี้เปน
“กระบวนการที่เปนจริง(Fact Process)” 



New Strategic Management                                                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ: โครงการ Human Capital 
Copyright 2012 
 
6 
 

                   -   การวัด (Measure) ความสําเร็จในกลยุทธอยางไรที่บรรลุผลแลวจะถูกวัด ในกรณีนี้
เปน “การสงมอบตรงเวลา (On‐time Delivery)” 
                   -   เปาหมาย KPIs (KPIs Target) ระดับของผลงานหรือการปรับปรุงที่จําเปน ในกรณีนมี
                                                                                                 ี้
เปาหมาย KPIs ที่ “ 30 นาทีที่ 90%” 
                   -   แผนปฏิบัติการหรือโครงการ-การริเริ่ม (Initiative) โปรแกรมสําคัญที่ตองปฏิบัติให
                                                                                         
บรรลุตามเปาหมาย ในที่นี้เปน “การลดเวลาไดเหมาะสมที่สุด (Cycle Times Optimization)” 

                   โดยสรุปปจจุบัน Balanced Scorecard (BSC)  ไดพัฒนามาจนกระทั่งเปน “สํานัก
ความคิดการจัดการผลงานดวย BSC “ ที่ธุรกิจไดมีโอกาสเห็น และหยิบใชในชวงเกือบ 2 ทศวรรษนี้เอง




New Strategic Management                                                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ: โครงการ Human Capital 
Copyright 2012 
 

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
ย่องานวิจัย
ย่องานวิจัยย่องานวิจัย
ย่องานวิจัยbenchamas21
 
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.ประพันธ์ เวารัมย์
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธDrDanai Thienphut
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร Punyapon Tepprasit
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารJuneSwns
 
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copyบทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copyWatcharin Chongkonsatit
 

Was ist angesagt? (18)

การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
The right to win
The right to winThe right to win
The right to win
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
 
No1
No1No1
No1
 
Po
PoPo
Po
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
ย่องานวิจัย
ย่องานวิจัยย่องานวิจัย
ย่องานวิจัย
 
e-commerce
e-commercee-commerce
e-commerce
 
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
 
14321
1432114321
14321
 
Strategy maps
Strategy mapsStrategy maps
Strategy maps
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
management style
management stylemanagement style
management style
 
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหาร
 
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copyบทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
บทที่ 2 การวางแผนและการตัดสินใจ copy
 

Ähnlich wie New strategic management 2013

Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016sakarinkhul
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการpop Jaturong
 
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศHuman Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศDrDanai Thienphut
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลาkullasab
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจDrDanai Thienphut
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planningKan Yuenyong
 
Strategicnew9
Strategicnew9Strategicnew9
Strategicnew9TK Tof
 

Ähnlich wie New strategic management 2013 (20)

Po
PoPo
Po
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
Execution premium
Execution premiumExecution premium
Execution premium
 
Balancescorecard
BalancescorecardBalancescorecard
Balancescorecard
 
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
 
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศHuman Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
 
Sp6 6
Sp6 6Sp6 6
Sp6 6
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Business model to Business plan
Business model to Business planBusiness model to Business plan
Business model to Business plan
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
Strategicnew9
Strategicnew9Strategicnew9
Strategicnew9
 
111
111111
111
 

Mehr von DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติDrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutDrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังDrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนDrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyDrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentDrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 
Charismatic marketing tzu chi
Charismatic marketing tzu chiCharismatic marketing tzu chi
Charismatic marketing tzu chiDrDanai Thienphut
 

Mehr von DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 
Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2Charismatic marketing 2
Charismatic marketing 2
 
Charismatic marketing tzu chi
Charismatic marketing tzu chiCharismatic marketing tzu chi
Charismatic marketing tzu chi
 

New strategic management 2013

  • 1. 1    New Strategic Management 2013 ดร.ดนัย เทียนพุฒ นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาอิสระ  ผูอํานวยการโครงการ Human Capital เรื่องจัดการเชิงกลยุทธ (Strategic Management) สําหรับธุรกิจในปจจุบัน เมื่อผูเขียนไป บรรยายหรือนําสัมมนาใหกบบริษทลูกคา มักจะถูกผูบริหารระดับสูง MD CEO และประธานบริษัทถาม ั ั คําถามตอไปนี้  การวัดผลสําเร็จธุรกิจในปจจุบันไมมีอะไรใหมไปกวาการใช “ดัชนีวัดผลสําเร็จธุรกิจ (KPIs: Key Performance Indicators)”แลวหรือ  ถาไมใช BSC หรือ Balanced Scorecard ในการจัดทํากลยุทธธุรกิจ ยังมีวธีการอืน ิ ่ อีกไหม  เห็นตําราหรือผูบรรยายดานกลยุทธบอกวา การจัดทํา BSC มีความสําเร็จเพียง 25- 30% แสดงวาธุรกิจหรือองคกรตางๆ ดําเนินการโดยยังขาดความเขาใจที่ถูกตองใชไหม  เทาที่จัดทํากลยุทธมายังไมเคยเห็นการจัดทํา BSC ไดโดยตลอดทั้งองคกร เพราะมัก พูดกันในทางหลักการหรือทฤษฎีเทานัน ้  ถามตรงๆ เลยครับ CEO MD หรือประธานบริษัทใช BSC ทําอะไรได หรือควบคุม ธุรกิจดวย BSC & KPIs แผนเดียวเทานันจริงๆ หรือครับแลวผูบริหารระดับอื่นๆ ใชไดเหมือนกันไหม ้ คงมีอีกหลายๆ คําถามในเชิงการจัดการกลยุทธ โดยการใช Balanced Scorecard และ KPIs ในธุรกิจปจจุบันนี้  Balanced Scorecard (BSC) เปนสํานักความคิดการจัดการผลงานดวย BSC ผูเขียนเชื่อวาในปจจุบน ผูบริหารธุรกิจคงไมมีใครที่ไมไดเคยศึกษา ไมไดอานหนังสือ ั  The Balanced Scorecard ตามแนวคิดของ Kaplan และ Norton (Kaplan & Norton; 1993, 1996, 2001, 2004) ซึ่งไดมการพัฒนาเครื่องมือใหมในระบบการวัดผลกลยุทธ (Strategic Measurement ี System) โดยเฉพาะหนังสือเลม Alignment และ The Execution Premium หากประมวลสรุปการพัฒนา ของ BSC ไดเปนดังนี้ New Strategic Management                                                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ: โครงการ Human Capital  Copyright 2012   
  • 2. 2    1) เริ่มแรกจากการเสนอใหธุรกิจ มีระบบวัดกลยุทธธุรกิจใน 2 มิติคือ (1) มิติ ดานการเงิน (Financial Perspective) และ (2) มิติดานไมใชการเงิน (Non-Financial Perspective) การ  วัดดานกระบวนการภายใน (Internal Business Process Perspective) และการวัดดานการเรียนรูและ เติบโต (Learning & Growth Perspective) และอธิบายย้ําวา ระบบ Scorecard ทีเ่ หมาะสมควรพัฒนามาจากภารกิจ/Mission ขององคกร(ในทางกลยุทธแลวอาจไมจาเปน การเริ่มทีวสัยทัศนนาจะดีกวา) ํ ่ิ  แนวคิดดั้งเดิมของ BSC นี้เกิดและพัฒนามาตั้งแตป 1993-2000 เรียกวาเปน ระบบวัดผลกลยุทธ (Strategic Measurement System) 2) ในระยะตอมาเปนระยะทีสองตั้งแตป 2001-2003 Kaplan & Norton ยังคงเสนอ ่ แนวคิดตอเนื่องและมีการขยายแนวคิด Balanced Scorecard(BSC) ใหกวางและครอบคลุมมากขึ้น สามารถใชกับธุรกิจไดมากยิงขึ้นและอธิบายวา ่ (1) การจัดทํากลยุทธของธุรกิจตองเปนการจัดทําในลักษณะ “องคกรทีมุงกลยุทธ (SFO: ่ Strategic-Focused Organization)” (2) ระบบ Scorecard ที่ออกแบบใหสามารถจัดการกลยุทธไดสําเร็จนันมีมติที่แตกตาง ้ ิ กันใน 3 เรื่องคือ กลยุทธ(Strategy) ทําใหกลยุทธเปนศูนยรวมของทุกอยางในองคกร การทํา BSC จะตองบรรยายและสื่อสารกลยุทธในวิธีที่เปนความเขาใจและนําไปปฏิบัติได จุดมุง(Focus) สรางจุดมุงทีไมนาเบื่อดวย BSC ใหเปนเครื่องชวยนําทางสําหรับ  ่ ทรัพยากรทุกอยางและกิจกรรมทั้งหมดในองคกรสามารถจัดวางไปสูกลยุทธ องคกร(Organization) การขับเคลื่อนพนักงานทุกคนเพือสามารถปฏิบติบนพืนฐานที่ ่ ั ้ แตกตางกัน BSC สรางตรรกและออกแบบองคกรใหมซึ่งเชื่อมโยงหนวยธุรกิจทังหมด มีการใหบริการ ้ รวมกันและจากพนักงานทุกคน 3) ระยะที่สาม ตั้งแตป 2004-2005 Kaplan & Norton ไดมีการปรับแนวคิด Balanced Scorecard โดยจัดทํา “ตัวแบบแผนที่กลยุทธ (Strategy Maps Template)” ซึ่งอางวา สามารถใชไดกับทุกธุรกิจและพยายามเพิมเขาไปสูการวัดดานทรัพยสินที่จับตองไมได (Intangible ่ Assets) อธิบายถึง New Strategic Management                                                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ: โครงการ Human Capital  Copyright 2012   
  • 3. 3    (1) การปรับสมการใหมของการจัดทํากลยุทธ เปนดังนี้ การมุงเขาสูผลลัพธ = แผนที่กลยุทธ + BSC + องคกรที่มุงกลยุทธ *อางจาก Kaplan & Norton. (2004) (2) ในแผนทีกลยุทธ (Strategy Maps) ไดพยายามทําใหเปนตัวแบบ (Template) วามีส่ง ่ ิ เพิ่มเขามาโดยการมองมิติของการวัดที่ไมใชการเงินในดานการเรียนรูและการเติบโตวาเปนเรื่องของ 3 ทุน ดวยกันคือ 1.ทุนมนุษย (Human Capital) 2.ทุนสารสนเทศ (Information Capital) 3.ทุนองคกร (Orga- nization Capital) และสามารถวัดทรัพยสนที่จบตองไมได (Intangible Assets) ทังทุนมนุษย ทุนสารสนเทศ ิ ั ้ และทุนองคกรที่ปรับใหเปนผลไดที่จบตองได (Tangible Outcomes) ั 4) ระยะที่ 4 ตั้งแตป 2006-2008 Kaplan & Norton ไดนําเสนอหนังสือเลมที่ 4 Alignment เปนการบอกใหองคกรรูวาตองมี OSM หรือ Office of Strategic Management ดังเชนใน ประเทศไทย กระทรวงทุกกระทรวงจะมีสานักนโยบายและยุทธศาสตร (ตรงตามหนังสือเปะ!) และในเลมที่ ํ 5 The Execution Premium เปนการยอนกลับมาวา BSC ทั้งหมดนั้นเปนระบบการจัดการ (The Balanced Scorecard as Management System) และในปจจุบน BSC ยังเปนสํานักทางความคิด ั (School of Thought) อีกดวย ในรูปที่ 1 สํานักความคิดการจัดการผลงานดวย BSC (The Balanced Scorecard Performance Management School of Thought) Kaplan & Norton อธิบาย BSC ใหมวาเปนการสราง  กรอบที่เปนองครวมซึ่งประยุกตใชไดตลอดใน 6 ขั้นของการจัดการคือ (1) การพัฒนากลยุทธ (2) แผน กลยุทธ (3) จัดวางองคกร (4) แผนดําเนินงาน (5) การกํากับติดตามและการเรียนรู (6) การทดสอบและ ปรับใช New Strategic Management                                                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ: โครงการ Human Capital  Copyright 2012   
  • 4. 4    รูปที่ 1 สํานักความคิดการจัดการผลงานดวย BSC   *Norton, D.P. (2008). “What is your Strategy Management Philosophy” Balanced Scorecard Report.   Nov-Dec, Vol.10, No.6 p.3-4 = ทุกสี เปนหนังสือของ Kaplan และNorton       โดยมองวา แนวคิดจากหนังสือ The Balanced Scorecard เลมแรกและหนังสือ  Strategic Maps เปนสวนหลักของ “โมเดลเศรษฐกิจของการสรางคุณคา”  และหนังสือ The Strategy – Focused Organization เปน “ปรัชญาแหงการจัดการ” คือ  - Mobilize :  ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงผานความเปนผูนําของผูบริหาร  - Translate:  แปลกลยุทธเขาไปในเทอมของการดําเนินงาน  - Align :  จัดวางองคกรกับกลยุทธ  - Motivate :  จูงใจเพื่อใหกลยุทธเปนงานของทุกคน  - Govern :  บริหารใหกลยุทธเปนกระบวนการที่ตอเนื่อง  New Strategic Management                                                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ: โครงการ Human Capital  Copyright 2012   
  • 5. 5    สวนยอดสุด หนังสือ The Execution Premium และ Alignment เปน “การบูรณาการ ของระบบการจัดการ” ใน 6 ขั้นของการจัดการ ตามที่อธิบายไวกอนหนานี ้ สําหรับการนําไปสูการจัดทําแผนปฏิบัติการหรือโครงการ (การริเริ่ม-Initiative) ทําไดดัง รูปที่ 2  รูปที่ 2 การนํา BSC ไปสูการจัดทําแผนปฏิบัติการหรือโครงการ    - BSC กําหนดเปนวัตถุประสงคเชิงกลยุทธใน 4 ดานคือ Financial (ROI,  Productivity) Customer (ดึงดูด รักษาลูกคาและราคาถูกทุกรุน)  Internal Business กระบวนการที่เปน จริง (Fast Process) และ Learning & Innovation  การปฏิบัติการที่ไรรอยตะเข็บ (Seamless Operation  Practices) ซึ่งวัตถุประสงค (Objectives) คือ ขอความของกลยุทธอะไรที่ตองการบรรลุ ในกรณีนี้เปน “กระบวนการที่เปนจริง(Fact Process)”  New Strategic Management                                                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ: โครงการ Human Capital  Copyright 2012   
  • 6. 6    - การวัด (Measure) ความสําเร็จในกลยุทธอยางไรที่บรรลุผลแลวจะถูกวัด ในกรณีนี้ เปน “การสงมอบตรงเวลา (On‐time Delivery)”  - เปาหมาย KPIs (KPIs Target) ระดับของผลงานหรือการปรับปรุงที่จําเปน ในกรณีนมี ี้ เปาหมาย KPIs ที่ “ 30 นาทีที่ 90%”  - แผนปฏิบัติการหรือโครงการ-การริเริ่ม (Initiative) โปรแกรมสําคัญที่ตองปฏิบัติให  บรรลุตามเปาหมาย ในที่นี้เปน “การลดเวลาไดเหมาะสมที่สุด (Cycle Times Optimization)”  โดยสรุปปจจุบัน Balanced Scorecard (BSC)  ไดพัฒนามาจนกระทั่งเปน “สํานัก ความคิดการจัดการผลงานดวย BSC “ ที่ธุรกิจไดมีโอกาสเห็น และหยิบใชในชวงเกือบ 2 ทศวรรษนี้เอง New Strategic Management                                                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ: โครงการ Human Capital  Copyright 2012