SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 6
Downloaden Sie, um offline zu lesen
จินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer)                                               ดร.ดนัย เทียนพุฒ :สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
CORPORATE IMAGINEER:การเดินทางดวยนวัตกรรมแบบเปด 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ  
ในยุคปจจุบันเรื่องของ “นวัตกรรม” ไมวาจะเปนประเทศ อุตสาหกรรม ธุรกิจ สถาบันการศึกษา ฯลฯ
ตางก็ใหความสนใจและทุมเทงบประมาณในการพัฒนานวัตกรรมใหมกันอยางมากมาย และมีการจัดทําดัชนีวัดประเทศ
ดานนวัตกรรม การจัดอันดับบริษัทนวัตกรรมยอดเยี่ยมในแตละป ขณะเดียวกันในดานการศึกษานวัตกรรมทางธุรกิจตาง
ก็คนหาวิธีการวา “ทําอยางไรจึงจะเกิดนวัตกรรมไดอยางรวดเร็วในองคกร ธุรกิจ หรือ ฝาย R&D และฝายการตลาด” ก็มี
การศึกษาและจัดทํากันเปนจํานวนมากพรอมทั้งจัดทํากันมาอยางยาวนานเชนดียวกัน 
ไอเดียในการสรางนวัตกรรมดานผลิตภัณฑและบริการใหม เปนสิ่งที่ธุรกิจตองการ
แสวงหาอยางตอเนื่อง ปจจุบันทํากันอยูแทบทุกกิจการและมากยิ่งกวาในอดีตที่ผานมา แตมักทํากันแบบ
ปกปดจน ถือเปนความลับของกิจการดวยความกลัวในคูแขงขันและความไมไวในคนภายนอกองคกร 
การสรางนวัตกรรมแบบดั้งเดิมในลักษณะดังกลาวเรียกวา นวัตกรรมแบบปด (Closed 
Innovation) ตามรูปภาพ (รูปที่ 1) โดยแนวคิดของผลิตภัณฑ (Product concept)  ถูกพัฒนาขึ้น
มาจากหลากหลายหนาที่งานในองคกร แตเปนวิธีที่อยูในกําแพงอันมั่นคง ซึ่งขอมูลจากภายนอกองคกร
หรือธุรกิจไมมีโอกาสไดเขามาถึงหรือเติมมูลคาได และแนวคิดของผลิตภัณฑดังกลาวแมจะเปนที่ถูดอิจฉา
จากโลกภายนอก แตมีขอจํากัดในดานความเร็วและอาจไมโดนตลาดจนเปนอันตรายตอธุรกิจอยางยิ่ง
บางครั้งอาจทําใหธุรกิจตองปดและเลิกกิจการไปในที่สุด 
ในยุคปจจุบันนี้เมื่อธุรกิจตองการใหเกิดนวัตกรรมอยางรวดเร็ว วิธีการแบบเดิม
(นวัตกรรมแบบปด) ไมสามารถเรงใหมีนวัตกรรมได ความจําเปนเรงดวนในการมีผูรับผิดชอบดาน
นวัตกรรมโดยตรงจึงมีความสําคัญตอธุรกิจเปนอยางมาก
ดังนั้น นักจินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer) จึงเปนบุคคลที่มีบทบาทสําคัญใน
การกระตุน สรางผลักดันและสงมอบใหนวัตกรรมเปนเชิงพาณิชยเขาสูตลาดจนถึงมือลูกคาหรือผูบริโภค
 
 
 
จินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer)                                               ดร.ดนัย เทียนพุฒ :สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
 
รูปที่ 1 วิธีการดั้งเดิมแบบปดเพื่อพัฒนานวัตกรรม
*Noble, Durmusoglu & Griffin.(2010). Open Innovation. p.XIII
การเดินทางดวยนวัตกรรมแบบเปด (Open Innovation)
ดวยวิธีการของธุรกิจแบบเดิมในการคิดพัฒนาผลิตภัณฑและบริการใหมๆ โดยการใช
นวัตกรรมแบบปดนั้นไมตอบสนองการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของเทคโนโลยีและผูบริโภค
สําหรับนวัตกรรมแบบปด เปนลักษณะของการวิจัยและพัฒนาใหเกิดนวัตกรรมใหมที่ทํา
การวิจัยกันขึ้นเอง ตามรูปที่ 2 จะเห็นวาในกระบวนการวิจัยและพัฒนา จัดทํากันภายในขอบเขตธุรกิจ
โดยไมนําพากับทรัพยากรภายนอกและไมนําพากับตลาดเกิดใหมหรือตลาดขางเคียง จึงทําใหธุรกิจมี
นวัตกรรมผลิตภัณฑและบริการที่ชาและอาจไมตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของผูบริโภค
ในป 2005 Chesbrough ไดเขียนหนังสือ Open Innovation ทําใหเกิดคําวา “นวัตกรรม
แบบเปด (Open Innovation) ขึ้นในธุรกิจ โดยอธิบายวา
จินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer)                                               ดร.ดนัย เทียนพุฒ :สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
รูปที่ 2 นวัตกรรมแบบปด (Closed Innovation)
*Sloane, P. (2011). A Guide To Open innovation and Crowdsourcing. p.8
ดนัย เทียนพุฒ (2554). ไอเดีย & นวัตกรรมในธุรกิจ (2). หนา 168
ในป 2005 Chesbrough ไดเขียนหนังสือ Open Innovation ทําใหเกิดคําวา “นวัตกรรม
แบบเปด (Open Innovation) ขึ้นในธุรกิจ โดยอธิบายวา
“นวัตกรรมแบบเปด เปนจุดประสงคของการใชความรูทั้งภายใน (ฝายงานตาง ๆ ) และ
ภายนอก (เชน รัฐบาล มหาวิทยาลัย ซัพพลายเออร และที่ปรึกษา) เพื่อเรงนวัตกรรมภายในและขยาย
ตลาดสําหรับผูใชนวัตกรรมภายนอก” คูแขงสามารถพิจารณาไดดังรูปที่ 3
จินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer)                                               ดร.ดนัย เทียนพุฒ :สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
รูปที่ 3 รูปแบบทั่วไปของนวัตกรรมแบบเปด
*Noble, Durmusoglu& Griffin (2014). Open Innovation. p.XIV
นวัตกรรมแบบเปดจึงเปดมิติใหมในการพัฒนาผลิตภัณฑและบริการใหมของธุรกิจ
แลวใครในองคกรจะเขามาเปนผูจัดการนวัตกรรม (Innovation Manager) ใหเกิดและ
ดําเนินตอเนื่องไปจนทําเชิงพาณิชยไดในที่สุด
ใครจะเปน “นักจินตวิศวองคกร”
นักจินตวิศวกร (Corporate Imagineer) ผูเขียนเห็นวาสิ่งที่ Kotler เสนอไวใน Marketing
3.0 (2011) ถึงลักษณะผูที่จะมีสวนพัฒนาใหเกิดนวัตกรรมขึ้นมาไดจนประสบความสําเร็จมีคุณสมบัติและ
ลักษณะดังนี้
=แนวคิดผลิตภัณฑ
จินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer)                                               ดร.ดนัย เทียนพุฒ :สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
A-Activatorsผูกระตุนนวัตกรรมเปนบุคคลซึ่งริเริ่มกระบวนการนวัตกรรมโดยไมไดกังวล
เกี่ยกวับระยะ (Stage) หรือชวง (Curve) ตางๆ ในกระบวนการนวัตกรรม
สิ่งจําเปนมากในภารกิจของ Activators คือ การริเริ่ม (Initiative) กระบวนการนวัตกรรม
B-Browsers ผูคนหาสารสนเทศเปนผูเชี่ยวชาญในการคนหาสารสนเทศ งานของ
Browsers นี้อาจไมใชสิ่งใหมแต Browsers สามารถซัพพลายใหกลุมนวัตกรรม ทีมนวัตกรรมดวย
สารสนเทศ
C-Creators ผูคิดสิ่งใหม เปนบุคคลที่ผลิตไอเดียสําหรับสมาชิกที่เหลือในกลุม มีหนาที่
สําคัญคือ การใหแนวคิดใหมและไอเดียที่เปนไปได รวมถึงการคนหาโซลูชั่นใหมในทุกจุดของกระบวนการ
นวัตกรรม
D-Developers ผูพัฒนา เปนคนที่เชี่ยวชาญเฉพาะในการเปลี่ยนไอเดียไปสูผลิตภัณฑ
และบริการเปนบุคคลที่ทําให “ไอเดียจับตองได (Tangibles)” สามารถจัดรูปแบบแนวคิดและพัฒนา
จนกระทั่งมีแผนการตลาดคราวๆ
E-Executors ผูปฏิบัติการ คือ คนที่ดูแลทุกๆ สิ่งเพื่อทําใหเกิดการนําไปปฏิบัติและ
ดําเนินการ (Implement)ในกระบวนการนวัตกรรม
เปนผูนํานวัตกรรมภายใตการพัฒนาไปสูตลาด การปฏิบัติภารกิจของ Executors เปน
ตามภาพตอไปนี้
*ดนัย เทียนพุฒ (2555). 3 ไอเดียปรมาจารยคอทเลอรเขยาการตลาดโลก หนา 125
F-Facititators ผูอํานวยงาน เปนคนอนุมัติรายการใหมและการลงทุนในสิ่งที่จําเปน
เพื่อใหกระบวนการขับเคลื่อนนวัตกรรมดําเนินไปขางหนา
จินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer)                                               ดร.ดนัย เทียนพุฒ :สงวนลิขสิทธิ์ 2558 
Facilitators ทําใหกระบวนการนวัตกรรม ไมหยุดชะงัก ภารกิจของ Facilitators คือ
เครื่องมือของกระบวนการนวัตกรรม
รูปที่ 4 A-To-F Model บทบาทของนักจินตวิศวองคกร
*Kotler&Trias de Bes. (2011). Winning at Innovation. p.6
*ดนัย เทียนพุฒ (2555). 3 ไอเดียปรมาจารยคอทเลอรเขยาการตลาดโลก หนา 125
โดยสรุปแลว นักจินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer) จะเปนบุคคลที่อยูใน
ฝายงานตางๆ ของธุรกิจ บางครั้งอาจมี 2 บทบาทหรือบทบาทเดียว แตใน A-to-F Model คือบุคคลซึ่ง
หลอหลอมรวมเปน “นักจินตวิศวองคกร”

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติDrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutDrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังDrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนDrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyDrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธDrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentDrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 

Mehr von DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

นักจินตวิศวองค์กร : Corporate Imagineer

  • 1. จินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer)                                               ดร.ดนัย เทียนพุฒ :สงวนลิขสิทธิ์ 2558  CORPORATE IMAGINEER:การเดินทางดวยนวัตกรรมแบบเปด  ดร.ดนัย เทียนพุฒ   ในยุคปจจุบันเรื่องของ “นวัตกรรม” ไมวาจะเปนประเทศ อุตสาหกรรม ธุรกิจ สถาบันการศึกษา ฯลฯ ตางก็ใหความสนใจและทุมเทงบประมาณในการพัฒนานวัตกรรมใหมกันอยางมากมาย และมีการจัดทําดัชนีวัดประเทศ ดานนวัตกรรม การจัดอันดับบริษัทนวัตกรรมยอดเยี่ยมในแตละป ขณะเดียวกันในดานการศึกษานวัตกรรมทางธุรกิจตาง ก็คนหาวิธีการวา “ทําอยางไรจึงจะเกิดนวัตกรรมไดอยางรวดเร็วในองคกร ธุรกิจ หรือ ฝาย R&D และฝายการตลาด” ก็มี การศึกษาและจัดทํากันเปนจํานวนมากพรอมทั้งจัดทํากันมาอยางยาวนานเชนดียวกัน  ไอเดียในการสรางนวัตกรรมดานผลิตภัณฑและบริการใหม เปนสิ่งที่ธุรกิจตองการ แสวงหาอยางตอเนื่อง ปจจุบันทํากันอยูแทบทุกกิจการและมากยิ่งกวาในอดีตที่ผานมา แตมักทํากันแบบ ปกปดจน ถือเปนความลับของกิจการดวยความกลัวในคูแขงขันและความไมไวในคนภายนอกองคกร  การสรางนวัตกรรมแบบดั้งเดิมในลักษณะดังกลาวเรียกวา นวัตกรรมแบบปด (Closed  Innovation) ตามรูปภาพ (รูปที่ 1) โดยแนวคิดของผลิตภัณฑ (Product concept)  ถูกพัฒนาขึ้น มาจากหลากหลายหนาที่งานในองคกร แตเปนวิธีที่อยูในกําแพงอันมั่นคง ซึ่งขอมูลจากภายนอกองคกร หรือธุรกิจไมมีโอกาสไดเขามาถึงหรือเติมมูลคาได และแนวคิดของผลิตภัณฑดังกลาวแมจะเปนที่ถูดอิจฉา จากโลกภายนอก แตมีขอจํากัดในดานความเร็วและอาจไมโดนตลาดจนเปนอันตรายตอธุรกิจอยางยิ่ง บางครั้งอาจทําใหธุรกิจตองปดและเลิกกิจการไปในที่สุด  ในยุคปจจุบันนี้เมื่อธุรกิจตองการใหเกิดนวัตกรรมอยางรวดเร็ว วิธีการแบบเดิม (นวัตกรรมแบบปด) ไมสามารถเรงใหมีนวัตกรรมได ความจําเปนเรงดวนในการมีผูรับผิดชอบดาน นวัตกรรมโดยตรงจึงมีความสําคัญตอธุรกิจเปนอยางมาก ดังนั้น นักจินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer) จึงเปนบุคคลที่มีบทบาทสําคัญใน การกระตุน สรางผลักดันและสงมอบใหนวัตกรรมเปนเชิงพาณิชยเขาสูตลาดจนถึงมือลูกคาหรือผูบริโภค      
  • 2. จินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer)                                               ดร.ดนัย เทียนพุฒ :สงวนลิขสิทธิ์ 2558    รูปที่ 1 วิธีการดั้งเดิมแบบปดเพื่อพัฒนานวัตกรรม *Noble, Durmusoglu & Griffin.(2010). Open Innovation. p.XIII การเดินทางดวยนวัตกรรมแบบเปด (Open Innovation) ดวยวิธีการของธุรกิจแบบเดิมในการคิดพัฒนาผลิตภัณฑและบริการใหมๆ โดยการใช นวัตกรรมแบบปดนั้นไมตอบสนองการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของเทคโนโลยีและผูบริโภค สําหรับนวัตกรรมแบบปด เปนลักษณะของการวิจัยและพัฒนาใหเกิดนวัตกรรมใหมที่ทํา การวิจัยกันขึ้นเอง ตามรูปที่ 2 จะเห็นวาในกระบวนการวิจัยและพัฒนา จัดทํากันภายในขอบเขตธุรกิจ โดยไมนําพากับทรัพยากรภายนอกและไมนําพากับตลาดเกิดใหมหรือตลาดขางเคียง จึงทําใหธุรกิจมี นวัตกรรมผลิตภัณฑและบริการที่ชาและอาจไมตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของผูบริโภค ในป 2005 Chesbrough ไดเขียนหนังสือ Open Innovation ทําใหเกิดคําวา “นวัตกรรม แบบเปด (Open Innovation) ขึ้นในธุรกิจ โดยอธิบายวา
  • 3. จินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer)                                               ดร.ดนัย เทียนพุฒ :สงวนลิขสิทธิ์ 2558  รูปที่ 2 นวัตกรรมแบบปด (Closed Innovation) *Sloane, P. (2011). A Guide To Open innovation and Crowdsourcing. p.8 ดนัย เทียนพุฒ (2554). ไอเดีย & นวัตกรรมในธุรกิจ (2). หนา 168 ในป 2005 Chesbrough ไดเขียนหนังสือ Open Innovation ทําใหเกิดคําวา “นวัตกรรม แบบเปด (Open Innovation) ขึ้นในธุรกิจ โดยอธิบายวา “นวัตกรรมแบบเปด เปนจุดประสงคของการใชความรูทั้งภายใน (ฝายงานตาง ๆ ) และ ภายนอก (เชน รัฐบาล มหาวิทยาลัย ซัพพลายเออร และที่ปรึกษา) เพื่อเรงนวัตกรรมภายในและขยาย ตลาดสําหรับผูใชนวัตกรรมภายนอก” คูแขงสามารถพิจารณาไดดังรูปที่ 3
  • 4. จินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer)                                               ดร.ดนัย เทียนพุฒ :สงวนลิขสิทธิ์ 2558  รูปที่ 3 รูปแบบทั่วไปของนวัตกรรมแบบเปด *Noble, Durmusoglu& Griffin (2014). Open Innovation. p.XIV นวัตกรรมแบบเปดจึงเปดมิติใหมในการพัฒนาผลิตภัณฑและบริการใหมของธุรกิจ แลวใครในองคกรจะเขามาเปนผูจัดการนวัตกรรม (Innovation Manager) ใหเกิดและ ดําเนินตอเนื่องไปจนทําเชิงพาณิชยไดในที่สุด ใครจะเปน “นักจินตวิศวองคกร” นักจินตวิศวกร (Corporate Imagineer) ผูเขียนเห็นวาสิ่งที่ Kotler เสนอไวใน Marketing 3.0 (2011) ถึงลักษณะผูที่จะมีสวนพัฒนาใหเกิดนวัตกรรมขึ้นมาไดจนประสบความสําเร็จมีคุณสมบัติและ ลักษณะดังนี้ =แนวคิดผลิตภัณฑ
  • 5. จินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer)                                               ดร.ดนัย เทียนพุฒ :สงวนลิขสิทธิ์ 2558  A-Activatorsผูกระตุนนวัตกรรมเปนบุคคลซึ่งริเริ่มกระบวนการนวัตกรรมโดยไมไดกังวล เกี่ยกวับระยะ (Stage) หรือชวง (Curve) ตางๆ ในกระบวนการนวัตกรรม สิ่งจําเปนมากในภารกิจของ Activators คือ การริเริ่ม (Initiative) กระบวนการนวัตกรรม B-Browsers ผูคนหาสารสนเทศเปนผูเชี่ยวชาญในการคนหาสารสนเทศ งานของ Browsers นี้อาจไมใชสิ่งใหมแต Browsers สามารถซัพพลายใหกลุมนวัตกรรม ทีมนวัตกรรมดวย สารสนเทศ C-Creators ผูคิดสิ่งใหม เปนบุคคลที่ผลิตไอเดียสําหรับสมาชิกที่เหลือในกลุม มีหนาที่ สําคัญคือ การใหแนวคิดใหมและไอเดียที่เปนไปได รวมถึงการคนหาโซลูชั่นใหมในทุกจุดของกระบวนการ นวัตกรรม D-Developers ผูพัฒนา เปนคนที่เชี่ยวชาญเฉพาะในการเปลี่ยนไอเดียไปสูผลิตภัณฑ และบริการเปนบุคคลที่ทําให “ไอเดียจับตองได (Tangibles)” สามารถจัดรูปแบบแนวคิดและพัฒนา จนกระทั่งมีแผนการตลาดคราวๆ E-Executors ผูปฏิบัติการ คือ คนที่ดูแลทุกๆ สิ่งเพื่อทําใหเกิดการนําไปปฏิบัติและ ดําเนินการ (Implement)ในกระบวนการนวัตกรรม เปนผูนํานวัตกรรมภายใตการพัฒนาไปสูตลาด การปฏิบัติภารกิจของ Executors เปน ตามภาพตอไปนี้ *ดนัย เทียนพุฒ (2555). 3 ไอเดียปรมาจารยคอทเลอรเขยาการตลาดโลก หนา 125 F-Facititators ผูอํานวยงาน เปนคนอนุมัติรายการใหมและการลงทุนในสิ่งที่จําเปน เพื่อใหกระบวนการขับเคลื่อนนวัตกรรมดําเนินไปขางหนา
  • 6. จินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer)                                               ดร.ดนัย เทียนพุฒ :สงวนลิขสิทธิ์ 2558  Facilitators ทําใหกระบวนการนวัตกรรม ไมหยุดชะงัก ภารกิจของ Facilitators คือ เครื่องมือของกระบวนการนวัตกรรม รูปที่ 4 A-To-F Model บทบาทของนักจินตวิศวองคกร *Kotler&Trias de Bes. (2011). Winning at Innovation. p.6 *ดนัย เทียนพุฒ (2555). 3 ไอเดียปรมาจารยคอทเลอรเขยาการตลาดโลก หนา 125 โดยสรุปแลว นักจินตวิศวองคกร (Corporate Imagineer) จะเปนบุคคลที่อยูใน ฝายงานตางๆ ของธุรกิจ บางครั้งอาจมี 2 บทบาทหรือบทบาทเดียว แตใน A-to-F Model คือบุคคลซึ่ง หลอหลอมรวมเปน “นักจินตวิศวองคกร”