SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
21/02/55




                   ดร. ดนัย เทียนพุฒ
                   ตําแหนงปจจุบัน : อาจารย-นักวิจัย โครงการพิเศษระดับบัณฑิตศึกษา
                          บัณฑิตวิทยาลัย ม.ราชภัฏสวนดุสิต
                   ผูอํานวยการ ดี.เอ็น.ที.เน็ต (D n t Net)
                   รางวัลนักทรัพยากรมนษยดีเดนแหงประเทศไทย ป 2552 ประเภท
                   รางวลนกทรพยากรมนุษยดเดนแหงประเทศไทย ป
                        นักวิชาการและที่ปรึกษา โดยสถาบันทรัพยากรมนุษย ม.ธรรมศาสตร
                   ผูอํานวยการโครงการ HUMAN CAPITAL, http://www.drdanai.blogspot.com
                   วิทยากรผูทรงคุณวุฒิสถาบันพระปกเกลา
                   กรรมการผูทรงคุณวุฒคุมครองการทํางานประจํามหาวิทยาลัยเซนตจอหน
                                            ิ
                   อาจารยพิเศษโครงการป.โท-ป.เอกบริหารการศึกษาฯ ม.เซนตจอหน
                   อาจารยพิเศษหลักสูตร MBA และ โครงการ MINI MBA ม.วลัยลักษณ,
                         ม.ราชภัฏสวนดุสิต ม.ธรรมศาสตร, ม.เกษตรศาสตร, และม.บูรพา
                   คอลัมนนิสต “Experience View” นสพ. inMarketing และ
                      “Breakthrough Marketing” นสพ. Global Business
ดร.ดนัย เทียนพุฒ   email : DrDanaiT@gmail.com                        C copyright 2012 Dnt NeT




                                                                                                      1
21/02/55




                                           การเปนตลาดเดียวและฐานการผลิตรวม

     เปดเสรีบริการเรงรัด 4                     สงเสริมและคุมครองการลงทุนระหวางประเทศ                    พยายามใหมีการเคลื่อนยาย
     สาขาคือ eASEAN (ICT)                        สมาชิกอาเซียนภายใตหลัก National Treatment                    เงินทุนภายในอาเซียน
     สุขภาพ, ทองเที่ยว, การ                                                                                       โดยเสรีมากขึ้น
                                                               Free Flow of
        ขนสงทางอากาศ                                          Investment
                                            Free Flow                                                        อํานวยความสะดวกในการ
                                                                                                                               ใ
                                           of Services                                    Free Flow
  การลดภาษีและ                                                                            of Capital        เคลื่อนยายบุคลากรที่เปนผู
                                                     An ASEAN single market and                                    ประกอบวิชาชีพและ
การขจัดอุปสรรคทาง                 Free Flow         production base shall comprise            Free Flow of แรงงานฝมืออาเซียน โดย
  การคามิใชภาษี                 of Goods                five core elements                  Skilled Labor      จะมีการสรางมาตรฐาน
                                                                                                                วิชาชีพ (MRAs) รวมกัน
                                                 Single Market and Production Base


                                                       3 Pillars of ASEAN Community
    ประชาคมการเมืองและความมั่นคง                      ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน                     ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน
              อาเซียน
                                                          ASEAN Economic                                     ASEAN
                                                            Community                                     Socio-Cultural
        ASEAN Political
                                                              (AEC)                                        Community
       Security Community
                                                                                                             (ASCC)
             (APSC)

                                                                                              ที่มา : รวบรวมโดยบริษัทศูนยวิจัยกสิกรไทย
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                                                               C copyright 2012 Dnt NeT




      Summary of AEC Roadmap                                                                          AEC
      and Opportunities
      Size of ASEAN Economy
      (USD Trillion)                                                                                  2015
                                          2.87
                                   2.64
                           2.44                                                      Single Competitive Equitable Integration
                    2.25
             2.07                                                                  Market and Economic Economic with the
      1.85                                                                         Production  Region Development Global
                                                                                      base                         Economic


                    Average Projected GDP
                      Growth = 5-6%
                                                           New and larger                  Intra-region                      NTMs
                                                              market                         tourism
     2010    2011    2012 2013 2014 2015
     Source: IMF(April 2011)
     Source: IMF(April 2011)                                                               Biggest Muslim
                                                                                             gg                             Higher
                                                                                                                              g
                                                        Leading to more supply               Population                   Competition
                                                       chain connectivity within
   • Thailand-ASEAN Trade: Average growth                      ASEAN                      Growing Middle-
                                                                                           Income Class                  Rotation of
   more than 10-11% expected during 2012-                                                                                skilled labors
                                                         Attracting more
   2015                                                  ASEAN and Non-                   Aging Population               to foreign
                                                          ASEAN FDI                                                      companies
   • While Japan plays is still a top investor
   in ASEAN-5, China has become key                Opportunities                     Potential                       Threat
   investor in CLMV *KResearch                        in AEC                       ASEAN Market
   http://www.ksmecare.com                                                                   ที่มา : รวบรวมโดยบริษัทศูนยวิจัยกสิกรไทย
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                                                               C copyright 2012 Dnt NeT




                                                                                                                                                 2
21/02/55




    สินคาออนไหว (Sensitive List) ภาษีไมตองเปน 0% แตตองไมเกิน 5%         สินคารายการออนไหวสูง (Highly                 มี 2 รายการ
          ASEAN-6 ภายใน 1 ม.ค.2553 CLMV ภายใน 1 ม.ค.2558                        Sensitive List) ใหกําหนดภาษีได               สินคาคือ
                                                                                เปนพิเศษ แตตองลดลงในระดับที่                ขาวและน้ําตาล
                                                                                สมาชิกยอมรับได
      ไทย        กาแฟ มันฝรั่ง มะพราวแหง ไมตัดดอก                             ขาว                    2011      2012      2013      2014     2015
     บรูไน       กาแฟ ชา
                                                                                 อินโดนีเซีย             30%       30%       30%       30%      25%
    มาเลเซีย     เนื้อสุกร ไกไข พืชและผลไมบางชนิด ยาสูบ
                                                                                 ฟลิปปนส              40%       40%       40%       40%      35%
   ฟลิปปนส    เนื้อสุกร ไก มันสําปะหลัง ขาวโพด
                                                                                 มาเลเซีย 20%ในป        NA ไปจนถึงป 2015
    สิงคโปร     ไมมี                                                           2010

   อินโดนีเซีย   ไมมี                                                           น้ําตาล                 2011      2012      2013      2014     2015

    กัมพูชา      เนื้อไก ปลามีชีวิต ผักผลไมบางชนิด พืชบางชนิด                  อินโดนีเซีย             25‐       20‐       15‐       10‐      5‐
                                                                                                         35%       30%       25%       20%      10%
      ลาว        เนื้อโคกระบือ สุกร ไก ผักผลไมบางชนิด ขาว ยาสูบ               ฟลิปปนส              38%       28%       18%       10%      5%

      พมา
      พมา       ถว
                 ถั่ว กาแฟ น้ําตาล ไหม ฝาย
                           นาตาล       ฝาย                                        แตตองมีีการชดเชยใหแกประเทศที่ยื่นฟองเรีียกรองความเสีียหาย
                                                                                                      ใ              ี               
   เวียตนาม      เนื้อไก ไข พืชบางชนิด เนื้อสัตวปรุงแตง น้ําตาล

  http://www.ksmecare.com




ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                                                                  C copyright 2012 Dnt NeT




                                             รูจักอาเซียนของเรา
                             พื้นที่         ประชากร                                                             GDP                    GDP      
       ประเทศ                                                   เมืองหลวง               ภาษา                                         Per Capital 
                            (ตร.กม.)          (ลานคน)                                                     (หนวย:พันลานus$ )
                                                                                                                                        (us$)

   บรูไน                         5,765        0.422            กรุงบันดาเสรี        มาเลย                        12.0                   28,340
                                                                 เบกาวัน
   สิงคโปร                            697      5.1               สิงคโปร     มาเลย จีนกลาง                    217.4                   42,653
                                                                                ทมิฬ อังกฤษ
                                                                                          ฤ
   มาเลเซีย                  330,000           27.8            กัวลาลัมเปอร    มาเลย อูรดู จีน                 213.1                     7,547
                                                                                   อังกฤษ
   ฟลิปปนส                298,170           93.0               มะนิลา       ตากาล็อก อังกฤษ                   158.1                     1,721
   อินโดนีเซีย              1,919,440         234.6            กรุงจาการตา       Bahasa                         695.1                     2,963
                                                                                  อินโดนีเซีย
   ไทย                       513,115           67.4               กรุงเทพ               ไทย                      334.0                     4,954


   C กัมพูชา                   181,035         15.0              พนมเปญ                 เขมร                       11.5                       805

   L ลาว                       263,800         5.87             เวียงจันทร             ลาว                          6.3                      964
   M พมา                      677,000         51.0               เนปดอร              พมา                       28.7                       469
   V เวียตนาม                  331,150         85.0               ฮานอย            เวียตนาม                      103.1                     1,168

ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                                                                  C copyright 2012 Dnt NeT




                                                                                                                                                             3
21/02/55




ดร.ดนัย เทียนพุฒ   C copyright 2012 Dnt NeT




ดร.ดนัย เทียนพุฒ   C copyright 2012 Dnt NeT




                                                    4
21/02/55




                    ประเทศ                             สินคาที่ไทยมีโอกาส                    สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว
         มาเลเซีย                                - เฟอรนิเจอรและเครื่องปรับอากาศมี        สินคาที่คาดวาไทยอาจเผชิญการ
     จุดแข็ง • รายไดเฉลี่ยตอคนตอปอยูใน      โอกาสดีตามการเติบโตทางเศรษฐกิจ &           แขงขันที่รุนแรง หรือจะนําเขาเพิ่มขึ้น
     อันดับ 3 ของอาเซียน และอันดับ 65 ของ        ภาคอสังหาริมทรัพย อีกทั้งสินคาไทยยัง     ภายหลัง การลดอัตราภาษี ไดแก
     โลก (8,423 USD)                             มีคุณภาพเหนือคูแขงเชนจีนและ             น้ํามันปาลม, น้ําตาลทราย,
     • มีปริมาณสํารองน้ํามันมากเปนอันดับ 3      เวียดนาม                                   เครื่องใชไฟฟา, คอมพิวเตอรและ
     ของเอเชยแปซฟก และกาซธรรมชาตมาก
     ของเอเชียแปซิฟก และกาซธรรมชาติมาก         - เครื่องสําอาง & ผลิตภัณฑของใช
                                                    เครองสาอาง ผลตภณฑของใช                  อุปกรณ, ขาวโพด อาหารสตวเลยง
                                                                                            อปกรณ ขาวโพด อาหารสัตวเลี้ยง
     เปนอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟก               สวนตัว ตามกระแสการใสใจดูแล               โดยทั้งวงจรพิมพ หนังและผลิตภัณฑ
     • ระบบโครงสรางพื้นฐานคอนขางครบ           สุขภาพ                                     หนังฟอกนั้น ไทยเริ่มสูญเสียสวนแบง
     วงจร                                        - เครื่องดื่มและอาหารฮาลาล เนื่องจาก       ตลาดใหเวียดนามแลว
     • แรงงานมีทักษะคอนขางสูง                  ผูประกอบการไทยมีความถนัดและไดรับ
     จุดออน • จํานวนประชากรคอนขาง             การยอมในระดับสากล
     นอย ทําใหขนาดของตลาดไมใหญมาก            - นอกจากนี้ สินคาอื่นที่ไทยมีโอกาส
     ประเด็นที่นาสนใจ                           ไดแก เสื้อผาสําเร็จรูป ธัญพืช และ
     • มีเปาหมายพัฒนาสู “ประเทศพัฒนา           ชิ้นสวนยานยนตจากการที่อยูในหวงโซ
                                                                                 ู
     แลว” ในป 2563                             อุปทานเดียวกัน เปนตน
     • เปนฐานการผลิตและสงออกสินคา
     สําคัญที่คลายคลึงกับไทย
     • มีนโยบายพัฒนาการผลิตดวย
     เทคโนโลยีขั้นสูงอยางจริงจัง
     http://www.ksmecare.com

ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                                                           C copyright 2012 Dnt NeT




                    ประเทศ                             สินคาที่ไทยมีโอกาส                    สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว
           อินโดนีเซีย                           - เฟอรนิเจอรและเครื่องปรับอากาศมีโอกาส   น้ํามันปาลม, ธัญพืช, ถานหิน ,โลหะ
     จุดแข็ง • มีขนาดเศรษฐกิจใหญสุดใน           ดี โดยเฉพาะเฟอรนิเจอรคุณภาพ ที่ตองการ
     เอเชียตะวันออกเฉียงใต (706 Bil.USD)        เจาะตลาดระดับกลางถึงบน สวน                และเศษโลหะ,รถบัส/รถบรรทุก เม็ด
     • มีตลาดขนาดใหญ (ประชากรมากเปน            เครื่องปรับอากาศยังคงไดเปรียบดานภาษี     พลาสติก ผลิตภัณฑพลาสติก ที่ไทย
     อันดับ 4 ของโลก และมากที่สุดในเอเชีย        เหนือคูแขงนอกกลุม
     ตะวนออกเฉยงใตประมาณ ลานคน)
     ตะวันออกเฉียงใตประมาณ 245 ลานคน)          - ผลิตภัณฑยาง อนโดนเซยมความตองการ
                                                   ผลตภณฑยาง อินโดนีเซียมีความตองการ       อาจจะมการนาเขาเพมขน และสนคา
                                                                                            อาจจะมีการนําเขาเพิ่มขึ้น และสินคา
     • มีชาวมุสลิมมากที่สุดในโลก                 เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ แมวา   ภายในประเทศเองก็อาจตองเผชิญ
     • มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและ             อินโดนีเซียจะเปนประเทศผูผลิตยางพารา
                                                                             
     จํานวนมาก โดยเฉพาะถานหิน น้ํามัน กาซ      รายสําคัญและมีวัตถุดิบ ยางพาราจํานวน       การแขงขันที่รุนแรงขึ้นดวย
     ธรรมชาติ โลหะตางๆ                          มาก แตเทคโนโลยีการแปรรูปเปนผลิตภัณฑ     นอกจากนี้ผลิตภัณฑมนสําปะหลังนั้น
                                                                                                               ั
     • ระบบธนาคารคอนขางแข็งแกรง               ยางประเภทตางๆยังไมทัดเทียมกับไทย
     จุดออน • ที่ตั้งทางภูมิศาสตรที่เปนเกาะ   - ผลไมสด แชเย็น แชแข็ง สินคาไทยมี      อินโดนีเซียก็อาจจะหันไปนําเขาจาก
     และกระจายตัว                                ศักยภาพทางการแขงขันในประเทศ               มาเลเซีย เพิ่มขึ้น
     • สาธารณปโภคพื้นฐานยังไมไดรับการ
                 ู       ฐ                       อินโดนีเซีย เนื่องจากผลไมไทยบางชนิดไม
     พัฒนาเทาที่ควร โดยเฉพาะการคมนาคม           สามารถปลูกไดในอินโดนีเซีย หรือมีรสชาติ
     ขนสง ทั้งภายในและการเชื่อมโยงกับ           แตกตางจากผลไมพื้น เมืองของอินโดนีเซีย
     ตางประเทศ                                  อีกทั้งยังเปนที่ยอมรับในดานคุณภาพของ
     ประเด็นที่นาสนใจ                           สินคาอีกดวย แตผูประกอบการไทยตอง
     • การลงทุนสวนใหญเนนใชทรัพยากรใน         จัดการระบบโลจิสติกสใหดี เพื่อรักษา
     ประเทศอินโดนีเซียเปนหลัก
                                                                                                          http://www.ksmecare.com
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                                                           C copyright 2012 Dnt NeT




                                                                                                                                            5
21/02/55




                    ประเทศ                               สินคาที่ไทยมีโอกาส                    สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว
           ฟลิปปนส                             -เสนใยประดิษฐเปนที่ตองการมากใน         ธัญพืช, ถานหิน, โลหะและเศษโลหะ,
     จุดแข็ง • ประชากรจํานวนมากอันดับ             ฟลิปปนส โดยไทยไดเปรียบดานภาษี เหนือ
     12 ของโลก (>100 ลานคน)                      ประเทศคูแขงนอกกลุม และมีศักยภาพการ      ยางพารา, ดายและเสนใยประดิษฐ, ผา
     • แรงงานทั่วไปมีความรู-สื่อสาร              ผลิตเหนือกวาประเทศใน ASEAN                ผืน, เหล็ก เหล็กกลาและผลิตภัณฑ รวม
     ภาษาอังกฤษได                                -ปูนซีเมนต เนื่องจากความตองการมีมาก
     จดออน • ที่ตั้งคอนขางหางไกลจาก
     จุดออน ทตงคอนขางหางไกลจาก                    ตามการขยายตวของภาคอสงหารมทรพย
                                                  ตามการขยายตัวของภาคอสังหาริมทรัพย         ไปถงเนอสตวและผลตภณฑทอาจจะตอง
                                                                                             ไปถึงเนื้อสัตวและผลิตภัณฑที่อาจจะตอง
     ประเทศอื่นๆในอาเซียน                         และการพัฒนาสาธารณูปโภคตางๆ ขณะที่         เผชิญกับมาตรการที่ มิใชภาษี (Non Tariff
     • ระบบโครงสรางพื้นฐานยังไมไดรับการ        การผลิตในฟลิปปนสไมเพียงพอ และมี
     พัฒนาเทาที่ควร                              ตนทุนสูง                                  Measures : NTMs)
     • สวัสดิภาพทางสังคมยังไมไดรับการ           -เครื่องปรุงรสอาหาร โดยมีรสนิยมการ
     พัฒนาเทาที่ควร                              รับประทานอาหารคลายคนไทย
     ประเด็นที่นาสนใจ                            -รถยนต อุปกรณ และสวนประกอบ
     • สหภาพแรงงานในฟลิปปนสมีบทบาท             เนื่องจากระบบการขนสงสาธารณะใน
     คอนขางมาก และมีการเรียกรองเพิ่มคาแรง     ประเทศยังไมพัฒนา ทําใหความตองการ
     อยูเสมอ                                     รถยนตยังมีโอกาสขยายตัว แตก็มีการแขง
     • การลงทุนสวนใหญเปนการรองรับความ          ขันสูงดวย
     ตองการในประเทศฟลิปปนสเปนหลัก


                                                                                                           http://www.ksmecare.com

ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                                                            C copyright 2012 Dnt NeT




                   ประเทศ                               สินคาที่ไทยมีโอกาส                    สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว
          สิงคโปร                               -สินคาที่ไทยสงออกไปยังประเทศสิงคโปร         สินคาอิเล็กทรอนิกส เคมีภัณฑ และ
   จุดแข็ง                                       มากอยูแลวและมีศกยภาพสูง ไดแก วงจร
                                                                       ั
   • รายไดเฉลี่ยตอคนตอปสูงสุดของอาเซียน      รวมที่ใชในทางอิเล็กทรอนิกส สวนประกอบ เวชภัณฑ ที่สิงคโปรมีความชํานาญและมี
   และติดอันดับ 15 ของโลก (43,116 USD)           และอุปกรณประกอบของเครื่องจักร ไปจนถึง ทักษะสูง
   • การเมืองมีเสถียรภาพ                         สินคาที่มีมูลคาการสงออกอยูในระดับสูง แต
   • ระบบธนาคารคอนขางแข็งแกรง และเปน
       ระบบธนาคารคอนขางแขงแกรง และเปน            มศกยภาพปานกลาง ไดแก น้ํามันปโตรเลียม
                                                 มีศักยภาพปานกลาง ไดแก นามนปโตรเลยม
   ศูนยกลางทางการเงินระหวางประเทศที่           และน้ํามันที่ไดจากแรบิทูมินัส มอเตอรที่ให
   ไดรบการยอมรับ
        ั                                        กําลังไมเกิน 37.5 วัตต รถยนตและยานยนต
   • แรงงานมีทักษะสูง                            อื่นๆที่มีความ จุของกระบอกสูบเกิน 1,500
   • มีความเชี่ยวชาญดานการจัดการ                ลูกบาศกเซนติเมตรแตไมเกิน 3,000
   ทรัพยากรบุคคล และระบบการจัดการทาง             ลูกบาศกเซนติเมตร และสินคาที่นาจะมี
   ธุรกิจ                                        ศักยภาพ แตยังคงมีการสงออกไปประเทศ
   • มีที่ตั้งเอื้อตอการเปนศูนยกลางเดินเรือ   สิงคโปรต่ํา อยู ไดแก วงจรพิมพ เครื่องเพชร
   จุดออน
     ุ                                           พลอยและรูปพรรณ กลองถายโทรทัศน กลอง
   • พึ่งพาการนําเขาวัตถุดิบและขาดแคลน          ถายบันทึกภาพดิจิทัล และกลองบันทึกภาพ
   แรงงานระดับลาง                               วีดีโอ เปนตน
   • คาใชจายในการดําเนินธุรกิจสูง
   ประเด็นที่นาสนใจ
   สิงคโปรพยายามกระจายโครงสราง
   เศรษฐกิจมายังภาคบริการมากขึ้น เพื่อลด
   การพึ่งพาการสงออกสินคา                                                                                http://www.ksmecare.com
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                                                            C copyright 2012 Dnt NeT




                                                                                                                                              6
21/02/55




                     ประเทศ                                สินคาที่ไทยมีโอกาส                         สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว
             บรูไน                                 - รถยนต อุปกรณ และสวนประกอบ                     - น้ํามันดิบ ที่บรูไนมีความอุดม
      จุดแข็ง                                      เนื่องจากเปนประเทศทีประชากรมีราย
                                                                            ่                        สมบูรณของแหลงทรัพยากรธรรมชาติ
      • รายไดเฉลี่ยตอคนตอปอยูในอันดับ 2       ไดตอหัวคอนขางสูง และยังมีความ                 -นอกจากนี้ เคมีภณฑเองซึ่งเปน
                                                                                                                          ั
      ของอาเซียน และอันดับ 26 ของโลก               ตองการสินคารถยนตนั่งสวนบุคคลอีก               อุตสาหกรรมตอเนื่องทีอาศัย
                                                                                                                              ่
      • การเมืองคอนขางมั่นคง
                                                   รวมไปถึงยานยนตสาหรับขน สงของ
                                                                          ํ                          น้ํามันดิบเปนวัตถุดิบสําคัญในการ
      • เปนผสงออกนามน และมีปริมาณสํารอง
          เปนผู งออกน้ํามัน และมปรมาณสารอง
      น้ํามันอันดับ 4 ของอาเซียน                   น้ําหนักรถรวมน้ําหนักบรรทุก (จี.วี.               ผลิต ประกอบกับแรงสนับสนุนของ
      จุดออน                                      ดับบลิว) ไมเกิน 5 ตัน                            ภาครัฐของบรูไนนั้น ก็นาจะ เปนอีก
      • ตลาดขนาดเล็ก ดวยประชากรประมาณ             - ขาวที่สีบางแลวหรือสีทั้งหมด และ              หนึ่งกลุมสินคาที่ไทยจะมีการนําเขา
      4 แสนคน                                      น้ําตาลทรายบริสุทธ เนื่องจากภูมิ                 จากบรูไนเพิ่มมากขึ้นในอนาคต
      ประเด็นที่นาสนใจ                            ประเทศไมเอื้ออํานวยในการเพาะปลูก
      • บรูไนคอนขางมีความสัมพันธทาง             ทําใหตองนําเขาสินคากลุมดังกลาวเปน
      เศรษฐกิจใกลชิดกับสิงคโปร มาเลเซีย และ      จํานวนมาก จากตางประเทศ
      อินโดนีเซีย                                  -เครองดมทไมมแอลกอฮอล แตไม
                                                    เครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอล แตไม
      • การขนสงสินคาระหวางประเทศคอนขาง
                                                   รวมถึงน้ําผลไมหรือน้ําพืชผัก
      พึ่งพาสิงคโปรเปนหลัก
      • บรูไนใหความสําคัญกับความมั่นคงทาง
      อาหารคอนขางมาก
                                                                                                                   http://www.ksmecare.com


ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                                                                     C copyright 2012 Dnt NeT




                     ประเทศ                                 สินคาที่ไทยมีโอกาส                         สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว
            เวียดนาม                           -น้ําตาลทราย เนื่องจากเวียดนามผลิตไดไมเพียงพอ
                                                                                                       เครื่องใชไฟฟาในบาน เครื่องจักรไฟฟา
     จุดแข็ง                                   กับความตองการ ขณะที่ ไทยไดเปรียบดานระยะ
     • ประชากรจํานวนมากอันดับ 14 ของโลก ทางการขนสงและภาษีเมื่อเทียบกับคูแขงสําคัญ                   และสวนประกอบ เหล็ก เหล็กกลาและ
                                               อยางบราซิล และอินเดีย
     (~90 ลานคน) และเปนประเทศที่มีขนาด                                                               ผลิตภัณฑ เคมีภัณฑ เลนซ แวนตาและ
                                               -ผลิตภัณฑยาง จากการขยายตัวทางเศรษฐกิจทําให
     เศรษฐกิจใหญที่สุดในกลุมอาเซียนใหม      เวียดนามมีความตองการใชผลิตภัณฑยางเพิ่มมาก
     • มีปริมาณสํารองน้ํามันมากเปนอันดับ 2 ขึนตามไปดวย
        มปรมาณสารองนามนมากเปนอนดบ                ้
                                                                                                       สวนประกอบ ซงลวนเปนสนคาท
                                                                                                       สวนประกอบ ซึ่งลวนเปนสินคาที่
     ของเอเชียแปซิฟก (รองจากจีน)              -เม็ดพลาสติกและน้ํามันสําเร็จรูป โดยไดรับอานิสงส      เวียดนามมีความไดเปรียบไทย ในดาน
     • มีแนวชายฝงทะเลยาวกวา 3,200           จากการขยายตัวของอุตสาหกรรมตางๆในเวียดนาม
     กิโลเมตร                                  ทั้งอุตสาหกรรมยานยนต อุตสาหกรรมไฟฟาและ                ตนทุนแรงงานที่ต่ํากวา
     • การเมืองมีเสถียรภาพ                     อิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรม บรรจุภัณฑและ
                                                                                                       นอกจากนี้ ยังมีสินคาน้ํามันดิบ ดาย
     • คาจางแรงงานคอนขางต่ํา (เกือบต่ําสุด อุตสาหกรรมกอสรางที่มีทิศทางที่ดีขึ้น
                                               -เหล็ก เหล็กกลา และผลิตภัณฑ รวมไปถึงปูนซีเมนต        และเสนใย ถานหิน และสินแรโลหะ
     ในอาเซียน รองจากกัมพูชา)
                                               เนื่องจากเวียดนามมีความจําเปนที่จะตองพัฒนา
     จุดออน                                   ประเทศอีกมากเพื่อรองรับการลงทุนจากนักลงทุน              อื่นๆและเศษโลหะ รวมถึงกาแฟ ชา
     • ระบบสาธารณปโภคพื้นฐานยังไมไดรับ ตางชาติ โดยเฉพาะการ พฒนาในโครงสรางพนฐาน
                     ู         ฐ               ตางชาต                   พัฒนาในโครงสรางพื้นฐาน
     การพัฒนาเทาที่ควร                        -ปศุสัตว เนื้อสัตว และผลิตภัณฑ เนื่องจากเวียดนาม     เครื่องเทศ เปนตน ซึ่งเวียดนามมีความ
     • ตนทุนที่ดินและคาเชาสํานักงาน         ตองเรงพัฒนาและขยายการลงทุนดานเทคโนโลยีเพื่อ          อุดมสมบูรณ ของแหลงทรัพยากร
     คอนขางสูง                               ยกระดับมาตรฐานการผลิตตั้งแตขั้นตอนการเพาะ
     ประเด็นที่นาสนใจ                         เลี้ยงไปจนถึงกระบวน การแปรรูป โดยเฉพาะ                  มากกวาไทย
     ชาวเวียดนามมีรายไดสูงขึ้นจากเศรษฐกิจที่ มาตรฐานดานความปลอดภัยของอาหารและดาน
                                               สิ่งแวดลอม จึงเปนโอกาสอันดีที่นักลงทุนไทยจะ
     โตเร็ว และมีความตองการสินคาสูง                                                                               http://www.ksmecare.com
                                               ตัดสินใจไปลงทุนในสินคาปศุสัตวภายใน เวียดนาม
                                               ตั้งแตการ ผลิตขั้นตนไปจนถึงการแปรรูปอาหาร
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                                                                     C copyright 2012 Dnt NeT




                                                                                                                                                      7
21/02/55




                    ประเทศ                               สินคาที่ไทยมีโอกาส                       สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว
          กัมพูชา                            -ผลิตภัณฑยาง เนื่องจากกัมพูชายังผลิตได           ไมซุงและไมแปรรูป, ธัญพืช, เครื่อง
                                             ไมเพียงพอกับความตองการและ ศักยภาพ                หนัง, สินแรตางๆ โดยเฉพาะอัญมณี,
     จุดแข็ง                                 การแปรรูปยางพารายังอยูในระดับต่ํา                 ผลิตภัณฑมันสําปะหลัง ขาว ขาวโพด
     • มีทรัพยากรธรรมชาติคอนขาง            -อาหารสัตว เพราะกัมพูชาหันมาเลี้ยงสัตว           ดายและเสนใยประดิษฐ ผาผืน เปน
     หลากหลายและอุดมสมบูรณ โดยเฉพาะ         มากขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการ                     ตน ซึ่งลวนเปนสินคาวัตถุดิบที่ผู
     นา ปาไม และแรชนดตางๆ
     น้ํา ปาไม และแรชนิดตางๆ               ภายในประเทศทดแทนการนาเขาเนอสตว
                                             ภายในประเทศทดแทนการนําเขาเนื้อสัตว               ประกอบการไทยจะนาเขามาเพอตอ
                                                                                                ประกอบการไทยจะนําเขามาเพื่อตอ
     • คาจางแรงงานต่ําสุดในอาเซียน         จากตางประเทศ                                      ยอด แตขณะเดียวกันก็จะมีผลให
                                             -ผลิตภัณฑพลาสติกและเคมีภัณฑ นับเปน              สินคากลุมดังกลาวภายในประเทศ
     จุดออน                                 สินคาที่มีโอกาสดี เพราะกัมพูชายังไมมี            แขงขันรุนแรงมากขึ้น
     • ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไมไดรับ อุตสาหกรรมตนน้ําจําพวกปโตรเคมี ทําให
     การพัฒนาเทาที่ควร                      ตองพึ่งพาการนําเขาเปนสวนใหญ
     • ตนทุนดานสาธารณูปโภค เชน น้ํา ไฟฟา -วัสดุกอสราง เพื่อรองรับการขยายตัวทาง
     และการสื่อสาร คอนขางสูง               ภาคอสังหาริมทรัพยตามแหลงทองเที่ยวที่
     • ขาดแคลนแรงงานมีทักษะ                  สําคัญ รวมถึงระบบสาธารณูปโภค ู
                                             -สินคากลุมอาหารและเครื่องดื่ม เนื่องจากมี
     ประเด็นที่นาสนใจ                       พฤติกรรมเลียนแบบจากสื่อโทรทัศนของไทย
     ประเด็นขัดแยงระหวางไทย-กัมพูชาอาจบั่น
     ทอนโอกาสการขยายการคา-การลงทุน
     ระหวางกันในอนาคตได                                                                                        http://www.ksmecare.com


ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                                                                 C copyright 2012 Dnt NeT




             ลาว                               -รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ ดวยรายได         -ผลิตภัณฑไม ,พืชและผลิตภัณฑจากพืช, ผาผืน
                                               ของผูบริโภคที่มีแนวโนมสูงขึ้น ตามทิศทางการ    , และเครื่องหนังและ ผลิตภัณฑ ที่ไทยอาจจะมี
  จุดแข็ง                                      เติบโตทางเศรษฐกิจ ทําใหมีความตองการนําเขา    การนําเขาเพื่อใชเปนวัตถุดบเพิ่มมากขึ้น
                                                                                                                           ิ
  • มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและอุดม สินคากลุมนี้เพิ่มมากขึ้น
                                                                                              -ขณะเดียวกันก็ตองเรงเพิ่มประสิทธิภาพการ
  สมบูรณ โดยเฉพาะน้ําและแรชนิดตางๆ          -วัสดุกอสราง ตามการเติบโตของภาคการ            ผลิต และบริหารตนทุนการผลิตใหสามารถชวง
  • การเมืองมีเสถียรภาพ                        กอสรางภายในประเทศลาว ทั้งในสวนของที่อยู     ชิงโอกาสการแขงขันในตลาดลาวสําหรับสินคา
  • คาจางแรงงานคอนขางต่ํา (เกือบต่ําสดใน
     คาจางแรงงานคอนขางตา (เกอบตาสุดใน          อาศัย โรงแรม และระบบโครงสรางพื้นฐาน     ฐ      เครื่องรับวิทยุ โทรทัศนและสวนประกอบ ตู เย็น
  อาเซียน รองจากกัมพูชา)                       ภายในประเทศ                                     ตูแชแข็ง ที่อาจจะตองเนนการแขงขันทางดาน
                                               -สินคาปศุสัตว เนื้อสัตว และผลิตภัณฑ         ราคาควบคูกับคุณภาพที่ยังเปนทีเ่ ชื่อถือในตลาด
  จุดออน                                      เนื่องจากลาวยังผลิตไดไมเพียงพอกับความ         ลาวไวใหได
  • ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไมไดรับการ ตองการที่มีแนวโนมขยายตัวเพิมขึ้น   ่
  พัฒนาเทาที่ควร                              -เครื่องจักรกลและสวนประกอบ โดยเฉพาะ
  • พื้นทีสวนใหญเปนที่ราบสูงและภูเขา ทําให เครื่องจักรเพื่อการเกษตรซึ่งเปนที่คุนเคยของ
          ่
  การคมนาคมไมสะดวก อีกทั้งไมมทางออกสู
                                   ี           กลุมเกษตรกรลาว เนื่องจากราคาไมสูงมากนัก
                                                   
  ทะเล                                         และมีคุณภาพดี
                                               -กลุ สินคาอาหารและเครืองดื่ม เนองจาก
                                               -กลมสนคาอาหารและเครองดม เนื่องจาก
                                                                           ่
  ประเด็นที่นาสนใจ                            ผูบริโภคลาวมีความคุนเคยกับตราสินคาของไทย
  การลงทุนสวนใหญอยูในกลุมโครงสรางพื้นฐาน และมีราคาไมแพงจนเกินไป
  พลังงานน้ํา และเหมืองแร

                                                                                                                 http://www.ksmecare.com



ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                                                                 C copyright 2012 Dnt NeT




                                                                                                                                                       8
21/02/55




                    ประเทศ                                    สินคาที่ไทยมีโอกาส                             สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว
          พมา                                        -สินคาอุปโภคบริโภคที่จําเปนตอ                      -โดยปกติไทยนําเขาสินคาจากพมา
     จุดแข็ง                                          ชีวิตประจําวัน เนื่องจากมีการเปด
     • มีทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งน้ํามันและ           ประเทศ มากขึ้น ขณะที่ไมสามารถผลิต                   ไมไดเปนมูลคาสูงมาก ยกเวนกลุม
     กาซธรรมชาติจํานวนมาก                            สินคาดังกลาวไดเพียงพอกับความ                      กาซ ธรรมชาติ ที่ไมวาจะมีการลด
     • มีพรมแดนเชื่อมโยงจีนและอินเดีย ซึ่งมี          ตองการภายในประเทศ
     ประชากรรวมราว 1 ใน 3 ของโลก                      -วสดุกอสราง เหล็ก เหล็กกลา
                                                       วัสดกอสราง เหลก เหลกกลา                            หรอไมลดภาษตามขอตกลง ไทยก
                                                                                                           หรือไมลดภาษีตามขอตกลง ไทยก็
     • คาจางแรงงานคอนขางต่ํา (เกือบต่ําสุด        ปูนซีเมนต เพื่อรองรับการขยายการ                     ยังคงตองพึ่งพาการนําเขาจากพมาอยู
     ในอาเซียน รองจากกัมพูชา)                         ลงทุนที่มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น
                                                      โดยเฉพาะในสวนของระบบ                                แลว ดังนั้น จึงไมนาจะไดรับ
     จุดออน                                          สาธารณูปโภคพื้นฐานและสิ่ง อํานวย                     ผลกระทบใดๆมากนัก
     • ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไมไดรับ             ความสะดวกอื่นๆ บริเวณโครงการ
     การพัฒนาเทาที่ควร                               พัฒนาทาเรือน้ําลึกและนิคม                           -แตอาจจะมีบรรยากาศการแขงขันที่
     • ความไมแนนอนทางการเมือง และ                   อุตสาหกรรมในทวายที่อยูระหวางการ                    เขมขนมากขึ้นในตลาดพมาจาก
     นโยบาย                                           ดําเนินการกอสราง
                                                                                                           บรรดาประเทศสมาชิกอาเซียน
     ประเด็นที่นาสนใจ
     การพัฒนาโครงขายคมนาคมในประเทศ
     เชิงรุก ทั้งทางถนน รถไฟความเร็วสูง และ
     ทาเรือ                                                                                                                http://www.ksmecare.com


ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                                                                             C copyright 2012 Dnt NeT




    พฤติกรรมผูบริโภคในอาเซียน
                         • การตัดสินใจซื้อ: ดวยกําลังซื้อที่คอนขางสูง ทําใหชาวสิงคโปรมักนิยมเลือกซื้อสินคาแบ รนดเนม เนื่องจากเปนสินคาที่มีชื่อเสียง
                       และมีคุณภาพคอนขางสูง
                       • รสนิยม: วัฒนธรรมไลฟสไตลทางตะวันตกมีอิทธิพลมากในสังคมสิงคโปร โดยเฉพาะในกลุมวัยรุน นอกจากนี้ พฤติกรรมผูบริโภคยัง
        สิงคโปร       ออนไหวตอกระแสนิยมและแฟชั่นในตลาดโลกสูง จนไดชื่อวาเปนตลาดแฟชั่นที่ทันสมัยที่สดแหงหนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง
                                                                                                                 ุ
                       ใต
                       • การบริโภค: ชาวสิงคโปรใหความสําคัญกับการดูแลสุขภาพมาก และนิยมทานอาหารเสริมเพื่อบํารุงรางกาย นอกจากนี้ ผูมีรายได
                       และ มีระดับการศึกษาสูงจะนิยมบริโภคอาหารออร แกนิกมากขึ้น
                         • การตัดสินใจซื้อสินคา: ชาวบรูไนมีกําลังซื้อคอนขางสูง และนิยมสินคาแบรนดเนม สินคาหรูหรามูลคาสูง และสินคาฟุมเฟอย
                       รวมทั้งใหความสําคัญกับคุณภาพสินคามาก
                       • รสนิยม: ชาวบรูไนมีขอจํากัดจากทางดานวัฒนธรรมและมีกฎระเบียบรวมถึงขอหามที่เครงครัด ขณะเดียวกันมีรสนิยมที่คอนขางทัน
         บรูไน         สมัยและอิงสไตลตะวันตก
                       • การบริโภค:
                       - พฤติกรรมการบริโภคสินคาอาหารคอนขางใกลเคียงกับมาเลเซีย โดยนิยมอาหารฮาลาลตามการยึดถือศาสนาอิสลาม
                       - ชาวบรูไนคอนขางเชื่อถือคุณภาพสินคา โดยเฉพาะสินคาอาหาร จากสิงคโปรและมาเลเซีย
                         • การตัดสินใจซื้อ: ชาวมาเลเซียมีแนวโนมเลือกซื้อสินคาที่อํานวยความสะดวกสบายใน ชีวิตประจําวัน สินคาฟุมเฟอยและสินคา
                       หรูหรามากขึ้น ขณะที่ กลุมวัยรุนคอนขางใหความ สําคัญกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมๆ สะทอนจากการใชจายสินคาไอทีที่มากเปน
                       อันดับแรกเมื่อเทียบกับการใชจายดานอาหารและการพักผอนอื่นๆ
                       • รสนิยม: ผูบริโภคมาเลเซียมีรสนิยมคอนขางหลากหลายตามกลุมเชื้อชาติ แตกลุมผูบริโภคที่มีระดับการศึกษาสูงและรายไดสงมักมี     ู
                       รสนิยมอิงสไตลตะวันตก
       มาเลเซีย        • การบริโภค:
                       - ผูบริโภคมาเลเซียนิยมบริโภคอาหารสด ขณะที่อาหารแปรรูปและอาหารบรรจุถุงมีแนวโนมไดรับความนิยมมากขึ้นจากความเรงรีบใน
                       ชีวิตประจําวัน
                       - ชาวมาเลเซียรับประทานอาหารวันละ 3 ครั้ง และระหวางวันจะมีชวงพักดื่มน้ําชา และนิยมทานขนมขบเคี้ยว/บิสกิตเปนอาหารวาง
                       ควบคูไปดวย
                       - ชาวมาเลเซียในวัยแรงงานนิยมบริโภคสินคา Functional Food เชน เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ/ใหพลังงาน http://www.ksmecare.com
ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                                                                             C copyright 2012 Dnt NeT




                                                                                                                                                                     9
21/02/55




    พฤติกรรมผูบริโภคในอาเซียน
                       • การตัดสินใจซื้อ: ชาวอินโดนีเซียยังมีชองวางทางรายไดคอนขางสูง และผูบริโภคสวน ใหญยังคอนขางออนไหวกับราคาสินคา
                      ทําใหไมคอยนิยมสินคานําเขาที่ราคาแพงหรือสินคาที่มี บรรจุภัณฑราคาสูง
                       • รสนิยม: ผูบริโภคที่มีรายไดปานกลางขึ้นไปนิยมบริโภคสินคานําเขาจากตางประเทศ ทั้งสินคานําเขาจากเอเชียและ
                      ประเทศตะวัน ตก
                       • การบริโภค:
       อินโดนีเซีย         - ชาวอินโดนีเซียมีการใชจายเพื่อซื้อสินคาอาหารคอนขางสูง (สัดสวนประมาณรอยละ 51 ของรายไดทั้งหมด)
                           - ชาวอินโดนีเซียนิยมใชเวลาพักผอนรวมกับเพื่อนและครอบครัวโดยการออกมารับประทานอาหารนอกบาน
                           - พฤติิกรรมการซื้อสิินคาอาหารเปลีี่ยนจากซืื้อวัันตอวัันมานิิยมซืื้ออาหารสํําเร็็จรูป อาหารพรอมปรุง และอาหารพรอมรัับป
                                            ื               ป                                                                  ป                      ประทาน
                      ที่เก็บไวไดนานขึ้น ขณะที่สินคา กลุม Cereal ยังเปน อาหารหลักสําหรับทุกกลุมรายได นอกจากนี้ยังนิยมอาหารรสจัด
                           - มีแนวโนมใสใจกับการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น

                       • การตัดสินใจซื้อ: แมปจจุบันกระแสไอทีไดเขามามีอิทธิพลตอสังคมโลกมากขึ้น แตชาว ฟลิปปนสไมนิยมการซื้อสินคาออนไลน
                      แตนิยมเดินเลือกซื้อสินคาดวยตนเอง (ยกเวนสินคา กลุมสื่อบันเทิง) นอกจากนี้ ชาวฟลิปปนสสวนใหญไมคอยยึดติดกับสินคา
                      แบรนดเนม แตนิยมสินคา Private Label มากกวา

                       • รสนิยม: มีรสนิยมคอนขางหลากหลาย โดยทั่วไปเนนความเรียบงาย สะดวกและเหมาะสมกับระดับรายได
        ฟลิปปนส    • การบริโภค:
                         - ชาวฟลิปปนสใสใจกับการดูแลสุขภาพ และการดูแลความสวยงามและผิวพรรณ
                         - ชาวฟลิปปนสคอนขางผูกพันกับตราสินคาเดิมที่เคยใชและไมเปลี่ยนตราสินคาบอย
                         - ชาวฟลิปปนสนิยมรับประทานอาหารนอกบานเปนหลัก
                         - เชนเดียวกับผูบริโภคในประเทศอาเซียนอื่นที่มีรายไดสูงขึ้น ชาวฟลปปนสนิยมซื้อสินคาที่อํานวยความสะดวกสบายมากขึ้น
                                                                                            ิ
                      โดยเฉพาะรถยนตและอุปกรณมือ ถือ                                                                      http://www.ksmecare.com


ดร.ดนัย เทียนพุฒ                                                                                                              C copyright 2012 Dnt NeT




                                                           Dr.Danai Thieanphut
                                                                                    D n t Net
                                                                                    Tel:029301133

                                                                    www.drdanai.blogspot.com
                                                                                   g p
                                                              http://www.facebook.com/drdanai

                                                                      email:DrDanaiT@gmail.com




                                                                                                                                                                    10

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie AEC 2015 overview by Dr.Danai Thieanphut

การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
jeabjeabloei
 
2.ข้อมูลสุก+เอกสารแผ่นพับประกอบงานสัมมนา+aec
2.ข้อมูลสุก+เอกสารแผ่นพับประกอบงานสัมมนา+aec2.ข้อมูลสุก+เอกสารแผ่นพับประกอบงานสัมมนา+aec
2.ข้อมูลสุก+เอกสารแผ่นพับประกอบงานสัมมนา+aec
Nexus Art'Hit
 
Human capital in it security TISA Pro-Talk_4-2554
Human capital in it security TISA Pro-Talk_4-2554Human capital in it security TISA Pro-Talk_4-2554
Human capital in it security TISA Pro-Talk_4-2554
TISA
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
TISA
 
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701  I C T2020 Lifelong Presentation V320100701  I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
ICT2020
 
Infrastructure no 1
Infrastructure no 1Infrastructure no 1
Infrastructure no 1
Santi Ch.
 
แผ่นผับสัมนาอาเซียน1
แผ่นผับสัมนาอาเซียน1แผ่นผับสัมนาอาเซียน1
แผ่นผับสัมนาอาเซียน1
Chanabodee Ampalin
 

Ähnlich wie AEC 2015 overview by Dr.Danai Thieanphut (20)

การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806
การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806
การรังสรรค์ระบบนวัตกรรมในบริบทประเทศไทยและอาเซียน 20150806
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
2.ข้อมูลสุก+เอกสารแผ่นพับประกอบงานสัมมนา+aec
2.ข้อมูลสุก+เอกสารแผ่นพับประกอบงานสัมมนา+aec2.ข้อมูลสุก+เอกสารแผ่นพับประกอบงานสัมมนา+aec
2.ข้อมูลสุก+เอกสารแผ่นพับประกอบงานสัมมนา+aec
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8
 
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity BuildingPresentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
 
Foresight Intro 20100201
Foresight Intro 20100201Foresight Intro 20100201
Foresight Intro 20100201
 
Aseanict masterplan2015
Aseanict masterplan2015Aseanict masterplan2015
Aseanict masterplan2015
 
Human capital in it security TISA Pro-Talk_4-2554
Human capital in it security TISA Pro-Talk_4-2554Human capital in it security TISA Pro-Talk_4-2554
Human capital in it security TISA Pro-Talk_4-2554
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
 
Foresight for thorkorsor
Foresight for thorkorsorForesight for thorkorsor
Foresight for thorkorsor
 
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701  I C T2020 Lifelong Presentation V320100701  I C T2020 Lifelong Presentation V3
20100701 I C T2020 Lifelong Presentation V3
 
Infrastructure no 1
Infrastructure no 1Infrastructure no 1
Infrastructure no 1
 
แผนพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศไทย เสนอโดย สมาคมเครือข่ายผู้สร้างสรรค์วิชา...
แผนพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศไทย เสนอโดย สมาคมเครือข่ายผู้สร้างสรรค์วิชา...แผนพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศไทย เสนอโดย สมาคมเครือข่ายผู้สร้างสรรค์วิชา...
แผนพัฒนาอุตสาหกรรมบันเทิงของประเทศไทย เสนอโดย สมาคมเครือข่ายผู้สร้างสรรค์วิชา...
 
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
 
ถามตอบรอบรู้ Aec 360 องศา cd
ถามตอบรอบรู้ Aec 360 องศา cdถามตอบรอบรู้ Aec 360 องศา cd
ถามตอบรอบรู้ Aec 360 องศา cd
 
ถามตอบรอบรู้เออีซี360องศา
ถามตอบรอบรู้เออีซี360องศาถามตอบรอบรู้เออีซี360องศา
ถามตอบรอบรู้เออีซี360องศา
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or Hype
 
แผ่นผับสัมนาอาเซียน1
แผ่นผับสัมนาอาเซียน1แผ่นผับสัมนาอาเซียน1
แผ่นผับสัมนาอาเซียน1
 
Pp suthad
Pp suthadPp suthad
Pp suthad
 
ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558
 

Mehr von DrDanai Thienphut

บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
DrDanai Thienphut
 

Mehr von DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

AEC 2015 overview by Dr.Danai Thieanphut

  • 1. 21/02/55 ดร. ดนัย เทียนพุฒ ตําแหนงปจจุบัน : อาจารย-นักวิจัย โครงการพิเศษระดับบัณฑิตศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย ม.ราชภัฏสวนดุสิต ผูอํานวยการ ดี.เอ็น.ที.เน็ต (D n t Net) รางวัลนักทรัพยากรมนษยดีเดนแหงประเทศไทย ป 2552 ประเภท รางวลนกทรพยากรมนุษยดเดนแหงประเทศไทย ป นักวิชาการและที่ปรึกษา โดยสถาบันทรัพยากรมนุษย ม.ธรรมศาสตร ผูอํานวยการโครงการ HUMAN CAPITAL, http://www.drdanai.blogspot.com วิทยากรผูทรงคุณวุฒิสถาบันพระปกเกลา กรรมการผูทรงคุณวุฒคุมครองการทํางานประจํามหาวิทยาลัยเซนตจอหน ิ อาจารยพิเศษโครงการป.โท-ป.เอกบริหารการศึกษาฯ ม.เซนตจอหน อาจารยพิเศษหลักสูตร MBA และ โครงการ MINI MBA ม.วลัยลักษณ, ม.ราชภัฏสวนดุสิต ม.ธรรมศาสตร, ม.เกษตรศาสตร, และม.บูรพา คอลัมนนิสต “Experience View” นสพ. inMarketing และ “Breakthrough Marketing” นสพ. Global Business ดร.ดนัย เทียนพุฒ email : DrDanaiT@gmail.com C copyright 2012 Dnt NeT 1
  • 2. 21/02/55 การเปนตลาดเดียวและฐานการผลิตรวม เปดเสรีบริการเรงรัด 4 สงเสริมและคุมครองการลงทุนระหวางประเทศ พยายามใหมีการเคลื่อนยาย สาขาคือ eASEAN (ICT) สมาชิกอาเซียนภายใตหลัก National Treatment เงินทุนภายในอาเซียน สุขภาพ, ทองเที่ยว, การ โดยเสรีมากขึ้น Free Flow of ขนสงทางอากาศ Investment Free Flow อํานวยความสะดวกในการ ใ of Services Free Flow การลดภาษีและ of Capital เคลื่อนยายบุคลากรที่เปนผู An ASEAN single market and ประกอบวิชาชีพและ การขจัดอุปสรรคทาง Free Flow production base shall comprise Free Flow of แรงงานฝมืออาเซียน โดย การคามิใชภาษี of Goods five core elements Skilled Labor จะมีการสรางมาตรฐาน วิชาชีพ (MRAs) รวมกัน Single Market and Production Base 3 Pillars of ASEAN Community ประชาคมการเมืองและความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน อาเซียน ASEAN Economic ASEAN Community Socio-Cultural ASEAN Political (AEC) Community Security Community (ASCC) (APSC) ที่มา : รวบรวมโดยบริษัทศูนยวิจัยกสิกรไทย ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT Summary of AEC Roadmap AEC and Opportunities Size of ASEAN Economy (USD Trillion) 2015 2.87 2.64 2.44 Single Competitive Equitable Integration 2.25 2.07 Market and Economic Economic with the 1.85 Production Region Development Global base Economic Average Projected GDP Growth = 5-6% New and larger Intra-region NTMs market tourism 2010 2011 2012 2013 2014 2015 Source: IMF(April 2011) Source: IMF(April 2011) Biggest Muslim gg Higher g Leading to more supply Population Competition chain connectivity within • Thailand-ASEAN Trade: Average growth ASEAN Growing Middle- Income Class Rotation of more than 10-11% expected during 2012- skilled labors Attracting more 2015 ASEAN and Non- Aging Population to foreign ASEAN FDI companies • While Japan plays is still a top investor in ASEAN-5, China has become key Opportunities Potential Threat investor in CLMV *KResearch in AEC ASEAN Market http://www.ksmecare.com ที่มา : รวบรวมโดยบริษัทศูนยวิจัยกสิกรไทย ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT 2
  • 3. 21/02/55 สินคาออนไหว (Sensitive List) ภาษีไมตองเปน 0% แตตองไมเกิน 5% สินคารายการออนไหวสูง (Highly มี 2 รายการ ASEAN-6 ภายใน 1 ม.ค.2553 CLMV ภายใน 1 ม.ค.2558 Sensitive List) ใหกําหนดภาษีได สินคาคือ เปนพิเศษ แตตองลดลงในระดับที่ ขาวและน้ําตาล สมาชิกยอมรับได ไทย กาแฟ มันฝรั่ง มะพราวแหง ไมตัดดอก ขาว 2011 2012 2013 2014 2015 บรูไน กาแฟ ชา อินโดนีเซีย 30% 30% 30% 30% 25% มาเลเซีย เนื้อสุกร ไกไข พืชและผลไมบางชนิด ยาสูบ ฟลิปปนส 40% 40% 40% 40% 35% ฟลิปปนส เนื้อสุกร ไก มันสําปะหลัง ขาวโพด มาเลเซีย 20%ในป NA ไปจนถึงป 2015 สิงคโปร ไมมี 2010 อินโดนีเซีย ไมมี น้ําตาล 2011 2012 2013 2014 2015 กัมพูชา เนื้อไก ปลามีชีวิต ผักผลไมบางชนิด พืชบางชนิด อินโดนีเซีย 25‐ 20‐ 15‐ 10‐ 5‐ 35% 30% 25% 20% 10% ลาว เนื้อโคกระบือ สุกร ไก ผักผลไมบางชนิด ขาว ยาสูบ ฟลิปปนส 38% 28% 18% 10% 5% พมา พมา ถว ถั่ว กาแฟ น้ําตาล ไหม ฝาย นาตาล ฝาย แตตองมีีการชดเชยใหแกประเทศที่ยื่นฟองเรีียกรองความเสีียหาย ใ  ี  เวียตนาม เนื้อไก ไข พืชบางชนิด เนื้อสัตวปรุงแตง น้ําตาล http://www.ksmecare.com ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT รูจักอาเซียนของเรา พื้นที่ ประชากร GDP GDP       ประเทศ เมืองหลวง ภาษา Per Capital  (ตร.กม.) (ลานคน) (หนวย:พันลานus$ ) (us$) บรูไน 5,765 0.422 กรุงบันดาเสรี มาเลย 12.0 28,340 เบกาวัน สิงคโปร 697 5.1 สิงคโปร มาเลย จีนกลาง 217.4 42,653 ทมิฬ อังกฤษ ฤ มาเลเซีย 330,000 27.8 กัวลาลัมเปอร มาเลย อูรดู จีน 213.1 7,547 อังกฤษ ฟลิปปนส 298,170 93.0 มะนิลา ตากาล็อก อังกฤษ 158.1 1,721 อินโดนีเซีย 1,919,440 234.6 กรุงจาการตา Bahasa 695.1 2,963 อินโดนีเซีย ไทย 513,115 67.4 กรุงเทพ ไทย 334.0 4,954 C กัมพูชา 181,035 15.0 พนมเปญ เขมร 11.5 805 L ลาว 263,800 5.87 เวียงจันทร ลาว 6.3 964 M พมา 677,000 51.0 เนปดอร พมา 28.7 469 V เวียตนาม 331,150 85.0 ฮานอย เวียตนาม 103.1 1,168 ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT 3
  • 4. 21/02/55 ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT 4
  • 5. 21/02/55 ประเทศ สินคาที่ไทยมีโอกาส สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว มาเลเซีย - เฟอรนิเจอรและเครื่องปรับอากาศมี สินคาที่คาดวาไทยอาจเผชิญการ จุดแข็ง • รายไดเฉลี่ยตอคนตอปอยูใน โอกาสดีตามการเติบโตทางเศรษฐกิจ & แขงขันที่รุนแรง หรือจะนําเขาเพิ่มขึ้น อันดับ 3 ของอาเซียน และอันดับ 65 ของ ภาคอสังหาริมทรัพย อีกทั้งสินคาไทยยัง ภายหลัง การลดอัตราภาษี ไดแก โลก (8,423 USD) มีคุณภาพเหนือคูแขงเชนจีนและ น้ํามันปาลม, น้ําตาลทราย, • มีปริมาณสํารองน้ํามันมากเปนอันดับ 3 เวียดนาม เครื่องใชไฟฟา, คอมพิวเตอรและ ของเอเชยแปซฟก และกาซธรรมชาตมาก ของเอเชียแปซิฟก และกาซธรรมชาติมาก - เครื่องสําอาง & ผลิตภัณฑของใช เครองสาอาง ผลตภณฑของใช อุปกรณ, ขาวโพด อาหารสตวเลยง อปกรณ ขาวโพด อาหารสัตวเลี้ยง เปนอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟก สวนตัว ตามกระแสการใสใจดูแล โดยทั้งวงจรพิมพ หนังและผลิตภัณฑ • ระบบโครงสรางพื้นฐานคอนขางครบ สุขภาพ หนังฟอกนั้น ไทยเริ่มสูญเสียสวนแบง วงจร - เครื่องดื่มและอาหารฮาลาล เนื่องจาก ตลาดใหเวียดนามแลว • แรงงานมีทักษะคอนขางสูง ผูประกอบการไทยมีความถนัดและไดรับ จุดออน • จํานวนประชากรคอนขาง การยอมในระดับสากล นอย ทําใหขนาดของตลาดไมใหญมาก - นอกจากนี้ สินคาอื่นที่ไทยมีโอกาส ประเด็นที่นาสนใจ ไดแก เสื้อผาสําเร็จรูป ธัญพืช และ • มีเปาหมายพัฒนาสู “ประเทศพัฒนา ชิ้นสวนยานยนตจากการที่อยูในหวงโซ ู แลว” ในป 2563 อุปทานเดียวกัน เปนตน • เปนฐานการผลิตและสงออกสินคา สําคัญที่คลายคลึงกับไทย • มีนโยบายพัฒนาการผลิตดวย เทคโนโลยีขั้นสูงอยางจริงจัง http://www.ksmecare.com ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT ประเทศ สินคาที่ไทยมีโอกาส สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว อินโดนีเซีย - เฟอรนิเจอรและเครื่องปรับอากาศมีโอกาส น้ํามันปาลม, ธัญพืช, ถานหิน ,โลหะ จุดแข็ง • มีขนาดเศรษฐกิจใหญสุดใน ดี โดยเฉพาะเฟอรนิเจอรคุณภาพ ที่ตองการ เอเชียตะวันออกเฉียงใต (706 Bil.USD) เจาะตลาดระดับกลางถึงบน สวน และเศษโลหะ,รถบัส/รถบรรทุก เม็ด • มีตลาดขนาดใหญ (ประชากรมากเปน เครื่องปรับอากาศยังคงไดเปรียบดานภาษี พลาสติก ผลิตภัณฑพลาสติก ที่ไทย อันดับ 4 ของโลก และมากที่สุดในเอเชีย เหนือคูแขงนอกกลุม ตะวนออกเฉยงใตประมาณ ลานคน) ตะวันออกเฉียงใตประมาณ 245 ลานคน) - ผลิตภัณฑยาง อนโดนเซยมความตองการ ผลตภณฑยาง อินโดนีเซียมีความตองการ อาจจะมการนาเขาเพมขน และสนคา อาจจะมีการนําเขาเพิ่มขึ้น และสินคา • มีชาวมุสลิมมากที่สุดในโลก เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ แมวา ภายในประเทศเองก็อาจตองเผชิญ • มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและ อินโดนีเซียจะเปนประเทศผูผลิตยางพารา  จํานวนมาก โดยเฉพาะถานหิน น้ํามัน กาซ รายสําคัญและมีวัตถุดิบ ยางพาราจํานวน การแขงขันที่รุนแรงขึ้นดวย ธรรมชาติ โลหะตางๆ มาก แตเทคโนโลยีการแปรรูปเปนผลิตภัณฑ นอกจากนี้ผลิตภัณฑมนสําปะหลังนั้น ั • ระบบธนาคารคอนขางแข็งแกรง ยางประเภทตางๆยังไมทัดเทียมกับไทย จุดออน • ที่ตั้งทางภูมิศาสตรที่เปนเกาะ - ผลไมสด แชเย็น แชแข็ง สินคาไทยมี อินโดนีเซียก็อาจจะหันไปนําเขาจาก และกระจายตัว ศักยภาพทางการแขงขันในประเทศ มาเลเซีย เพิ่มขึ้น • สาธารณปโภคพื้นฐานยังไมไดรับการ ู ฐ อินโดนีเซีย เนื่องจากผลไมไทยบางชนิดไม พัฒนาเทาที่ควร โดยเฉพาะการคมนาคม สามารถปลูกไดในอินโดนีเซีย หรือมีรสชาติ ขนสง ทั้งภายในและการเชื่อมโยงกับ แตกตางจากผลไมพื้น เมืองของอินโดนีเซีย ตางประเทศ อีกทั้งยังเปนที่ยอมรับในดานคุณภาพของ ประเด็นที่นาสนใจ สินคาอีกดวย แตผูประกอบการไทยตอง • การลงทุนสวนใหญเนนใชทรัพยากรใน จัดการระบบโลจิสติกสใหดี เพื่อรักษา ประเทศอินโดนีเซียเปนหลัก http://www.ksmecare.com ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT 5
  • 6. 21/02/55 ประเทศ สินคาที่ไทยมีโอกาส สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว ฟลิปปนส -เสนใยประดิษฐเปนที่ตองการมากใน ธัญพืช, ถานหิน, โลหะและเศษโลหะ, จุดแข็ง • ประชากรจํานวนมากอันดับ ฟลิปปนส โดยไทยไดเปรียบดานภาษี เหนือ 12 ของโลก (>100 ลานคน) ประเทศคูแขงนอกกลุม และมีศักยภาพการ ยางพารา, ดายและเสนใยประดิษฐ, ผา • แรงงานทั่วไปมีความรู-สื่อสาร ผลิตเหนือกวาประเทศใน ASEAN ผืน, เหล็ก เหล็กกลาและผลิตภัณฑ รวม ภาษาอังกฤษได -ปูนซีเมนต เนื่องจากความตองการมีมาก จดออน • ที่ตั้งคอนขางหางไกลจาก จุดออน ทตงคอนขางหางไกลจาก ตามการขยายตวของภาคอสงหารมทรพย ตามการขยายตัวของภาคอสังหาริมทรัพย ไปถงเนอสตวและผลตภณฑทอาจจะตอง ไปถึงเนื้อสัตวและผลิตภัณฑที่อาจจะตอง ประเทศอื่นๆในอาเซียน และการพัฒนาสาธารณูปโภคตางๆ ขณะที่ เผชิญกับมาตรการที่ มิใชภาษี (Non Tariff • ระบบโครงสรางพื้นฐานยังไมไดรับการ การผลิตในฟลิปปนสไมเพียงพอ และมี พัฒนาเทาที่ควร ตนทุนสูง Measures : NTMs) • สวัสดิภาพทางสังคมยังไมไดรับการ -เครื่องปรุงรสอาหาร โดยมีรสนิยมการ พัฒนาเทาที่ควร รับประทานอาหารคลายคนไทย ประเด็นที่นาสนใจ -รถยนต อุปกรณ และสวนประกอบ • สหภาพแรงงานในฟลิปปนสมีบทบาท เนื่องจากระบบการขนสงสาธารณะใน คอนขางมาก และมีการเรียกรองเพิ่มคาแรง ประเทศยังไมพัฒนา ทําใหความตองการ อยูเสมอ รถยนตยังมีโอกาสขยายตัว แตก็มีการแขง • การลงทุนสวนใหญเปนการรองรับความ ขันสูงดวย ตองการในประเทศฟลิปปนสเปนหลัก http://www.ksmecare.com ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT ประเทศ สินคาที่ไทยมีโอกาส สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว สิงคโปร -สินคาที่ไทยสงออกไปยังประเทศสิงคโปร สินคาอิเล็กทรอนิกส เคมีภัณฑ และ จุดแข็ง มากอยูแลวและมีศกยภาพสูง ไดแก วงจร ั • รายไดเฉลี่ยตอคนตอปสูงสุดของอาเซียน รวมที่ใชในทางอิเล็กทรอนิกส สวนประกอบ เวชภัณฑ ที่สิงคโปรมีความชํานาญและมี และติดอันดับ 15 ของโลก (43,116 USD) และอุปกรณประกอบของเครื่องจักร ไปจนถึง ทักษะสูง • การเมืองมีเสถียรภาพ สินคาที่มีมูลคาการสงออกอยูในระดับสูง แต • ระบบธนาคารคอนขางแข็งแกรง และเปน ระบบธนาคารคอนขางแขงแกรง และเปน มศกยภาพปานกลาง ไดแก น้ํามันปโตรเลียม มีศักยภาพปานกลาง ไดแก นามนปโตรเลยม ศูนยกลางทางการเงินระหวางประเทศที่ และน้ํามันที่ไดจากแรบิทูมินัส มอเตอรที่ให ไดรบการยอมรับ ั กําลังไมเกิน 37.5 วัตต รถยนตและยานยนต • แรงงานมีทักษะสูง อื่นๆที่มีความ จุของกระบอกสูบเกิน 1,500 • มีความเชี่ยวชาญดานการจัดการ ลูกบาศกเซนติเมตรแตไมเกิน 3,000 ทรัพยากรบุคคล และระบบการจัดการทาง ลูกบาศกเซนติเมตร และสินคาที่นาจะมี ธุรกิจ ศักยภาพ แตยังคงมีการสงออกไปประเทศ • มีที่ตั้งเอื้อตอการเปนศูนยกลางเดินเรือ สิงคโปรต่ํา อยู ไดแก วงจรพิมพ เครื่องเพชร จุดออน ุ พลอยและรูปพรรณ กลองถายโทรทัศน กลอง • พึ่งพาการนําเขาวัตถุดิบและขาดแคลน ถายบันทึกภาพดิจิทัล และกลองบันทึกภาพ แรงงานระดับลาง วีดีโอ เปนตน • คาใชจายในการดําเนินธุรกิจสูง ประเด็นที่นาสนใจ สิงคโปรพยายามกระจายโครงสราง เศรษฐกิจมายังภาคบริการมากขึ้น เพื่อลด การพึ่งพาการสงออกสินคา http://www.ksmecare.com ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT 6
  • 7. 21/02/55 ประเทศ สินคาที่ไทยมีโอกาส สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว บรูไน - รถยนต อุปกรณ และสวนประกอบ - น้ํามันดิบ ที่บรูไนมีความอุดม จุดแข็ง เนื่องจากเปนประเทศทีประชากรมีราย ่ สมบูรณของแหลงทรัพยากรธรรมชาติ • รายไดเฉลี่ยตอคนตอปอยูในอันดับ 2 ไดตอหัวคอนขางสูง และยังมีความ -นอกจากนี้ เคมีภณฑเองซึ่งเปน ั ของอาเซียน และอันดับ 26 ของโลก ตองการสินคารถยนตนั่งสวนบุคคลอีก อุตสาหกรรมตอเนื่องทีอาศัย ่ • การเมืองคอนขางมั่นคง รวมไปถึงยานยนตสาหรับขน สงของ ํ น้ํามันดิบเปนวัตถุดิบสําคัญในการ • เปนผสงออกนามน และมีปริมาณสํารอง เปนผู งออกน้ํามัน และมปรมาณสารอง น้ํามันอันดับ 4 ของอาเซียน น้ําหนักรถรวมน้ําหนักบรรทุก (จี.วี. ผลิต ประกอบกับแรงสนับสนุนของ จุดออน ดับบลิว) ไมเกิน 5 ตัน ภาครัฐของบรูไนนั้น ก็นาจะ เปนอีก • ตลาดขนาดเล็ก ดวยประชากรประมาณ - ขาวที่สีบางแลวหรือสีทั้งหมด และ หนึ่งกลุมสินคาที่ไทยจะมีการนําเขา 4 แสนคน น้ําตาลทรายบริสุทธ เนื่องจากภูมิ จากบรูไนเพิ่มมากขึ้นในอนาคต ประเด็นที่นาสนใจ ประเทศไมเอื้ออํานวยในการเพาะปลูก • บรูไนคอนขางมีความสัมพันธทาง ทําใหตองนําเขาสินคากลุมดังกลาวเปน เศรษฐกิจใกลชิดกับสิงคโปร มาเลเซีย และ จํานวนมาก จากตางประเทศ อินโดนีเซีย -เครองดมทไมมแอลกอฮอล แตไม เครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอล แตไม • การขนสงสินคาระหวางประเทศคอนขาง รวมถึงน้ําผลไมหรือน้ําพืชผัก พึ่งพาสิงคโปรเปนหลัก • บรูไนใหความสําคัญกับความมั่นคงทาง อาหารคอนขางมาก http://www.ksmecare.com ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT ประเทศ สินคาที่ไทยมีโอกาส สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว เวียดนาม -น้ําตาลทราย เนื่องจากเวียดนามผลิตไดไมเพียงพอ เครื่องใชไฟฟาในบาน เครื่องจักรไฟฟา จุดแข็ง กับความตองการ ขณะที่ ไทยไดเปรียบดานระยะ • ประชากรจํานวนมากอันดับ 14 ของโลก ทางการขนสงและภาษีเมื่อเทียบกับคูแขงสําคัญ และสวนประกอบ เหล็ก เหล็กกลาและ อยางบราซิล และอินเดีย (~90 ลานคน) และเปนประเทศที่มีขนาด ผลิตภัณฑ เคมีภัณฑ เลนซ แวนตาและ -ผลิตภัณฑยาง จากการขยายตัวทางเศรษฐกิจทําให เศรษฐกิจใหญที่สุดในกลุมอาเซียนใหม เวียดนามมีความตองการใชผลิตภัณฑยางเพิ่มมาก • มีปริมาณสํารองน้ํามันมากเปนอันดับ 2 ขึนตามไปดวย มปรมาณสารองนามนมากเปนอนดบ ้ สวนประกอบ ซงลวนเปนสนคาท สวนประกอบ ซึ่งลวนเปนสินคาที่ ของเอเชียแปซิฟก (รองจากจีน) -เม็ดพลาสติกและน้ํามันสําเร็จรูป โดยไดรับอานิสงส เวียดนามมีความไดเปรียบไทย ในดาน • มีแนวชายฝงทะเลยาวกวา 3,200 จากการขยายตัวของอุตสาหกรรมตางๆในเวียดนาม กิโลเมตร ทั้งอุตสาหกรรมยานยนต อุตสาหกรรมไฟฟาและ ตนทุนแรงงานที่ต่ํากวา • การเมืองมีเสถียรภาพ อิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรม บรรจุภัณฑและ นอกจากนี้ ยังมีสินคาน้ํามันดิบ ดาย • คาจางแรงงานคอนขางต่ํา (เกือบต่ําสุด อุตสาหกรรมกอสรางที่มีทิศทางที่ดีขึ้น -เหล็ก เหล็กกลา และผลิตภัณฑ รวมไปถึงปูนซีเมนต และเสนใย ถานหิน และสินแรโลหะ ในอาเซียน รองจากกัมพูชา) เนื่องจากเวียดนามมีความจําเปนที่จะตองพัฒนา จุดออน ประเทศอีกมากเพื่อรองรับการลงทุนจากนักลงทุน อื่นๆและเศษโลหะ รวมถึงกาแฟ ชา • ระบบสาธารณปโภคพื้นฐานยังไมไดรับ ตางชาติ โดยเฉพาะการ พฒนาในโครงสรางพนฐาน ู ฐ ตางชาต พัฒนาในโครงสรางพื้นฐาน การพัฒนาเทาที่ควร -ปศุสัตว เนื้อสัตว และผลิตภัณฑ เนื่องจากเวียดนาม เครื่องเทศ เปนตน ซึ่งเวียดนามมีความ • ตนทุนที่ดินและคาเชาสํานักงาน ตองเรงพัฒนาและขยายการลงทุนดานเทคโนโลยีเพื่อ อุดมสมบูรณ ของแหลงทรัพยากร คอนขางสูง ยกระดับมาตรฐานการผลิตตั้งแตขั้นตอนการเพาะ ประเด็นที่นาสนใจ เลี้ยงไปจนถึงกระบวน การแปรรูป โดยเฉพาะ มากกวาไทย ชาวเวียดนามมีรายไดสูงขึ้นจากเศรษฐกิจที่ มาตรฐานดานความปลอดภัยของอาหารและดาน สิ่งแวดลอม จึงเปนโอกาสอันดีที่นักลงทุนไทยจะ โตเร็ว และมีความตองการสินคาสูง http://www.ksmecare.com ตัดสินใจไปลงทุนในสินคาปศุสัตวภายใน เวียดนาม ตั้งแตการ ผลิตขั้นตนไปจนถึงการแปรรูปอาหาร ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT 7
  • 8. 21/02/55 ประเทศ สินคาที่ไทยมีโอกาส สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว กัมพูชา -ผลิตภัณฑยาง เนื่องจากกัมพูชายังผลิตได ไมซุงและไมแปรรูป, ธัญพืช, เครื่อง ไมเพียงพอกับความตองการและ ศักยภาพ หนัง, สินแรตางๆ โดยเฉพาะอัญมณี, จุดแข็ง การแปรรูปยางพารายังอยูในระดับต่ํา ผลิตภัณฑมันสําปะหลัง ขาว ขาวโพด • มีทรัพยากรธรรมชาติคอนขาง -อาหารสัตว เพราะกัมพูชาหันมาเลี้ยงสัตว ดายและเสนใยประดิษฐ ผาผืน เปน หลากหลายและอุดมสมบูรณ โดยเฉพาะ มากขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการ ตน ซึ่งลวนเปนสินคาวัตถุดิบที่ผู นา ปาไม และแรชนดตางๆ น้ํา ปาไม และแรชนิดตางๆ ภายในประเทศทดแทนการนาเขาเนอสตว ภายในประเทศทดแทนการนําเขาเนื้อสัตว ประกอบการไทยจะนาเขามาเพอตอ ประกอบการไทยจะนําเขามาเพื่อตอ • คาจางแรงงานต่ําสุดในอาเซียน จากตางประเทศ ยอด แตขณะเดียวกันก็จะมีผลให -ผลิตภัณฑพลาสติกและเคมีภัณฑ นับเปน สินคากลุมดังกลาวภายในประเทศ จุดออน สินคาที่มีโอกาสดี เพราะกัมพูชายังไมมี แขงขันรุนแรงมากขึ้น • ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไมไดรับ อุตสาหกรรมตนน้ําจําพวกปโตรเคมี ทําให การพัฒนาเทาที่ควร ตองพึ่งพาการนําเขาเปนสวนใหญ • ตนทุนดานสาธารณูปโภค เชน น้ํา ไฟฟา -วัสดุกอสราง เพื่อรองรับการขยายตัวทาง และการสื่อสาร คอนขางสูง ภาคอสังหาริมทรัพยตามแหลงทองเที่ยวที่ • ขาดแคลนแรงงานมีทักษะ สําคัญ รวมถึงระบบสาธารณูปโภค ู -สินคากลุมอาหารและเครื่องดื่ม เนื่องจากมี ประเด็นที่นาสนใจ พฤติกรรมเลียนแบบจากสื่อโทรทัศนของไทย ประเด็นขัดแยงระหวางไทย-กัมพูชาอาจบั่น ทอนโอกาสการขยายการคา-การลงทุน ระหวางกันในอนาคตได http://www.ksmecare.com ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT ลาว -รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ ดวยรายได -ผลิตภัณฑไม ,พืชและผลิตภัณฑจากพืช, ผาผืน ของผูบริโภคที่มีแนวโนมสูงขึ้น ตามทิศทางการ , และเครื่องหนังและ ผลิตภัณฑ ที่ไทยอาจจะมี จุดแข็ง เติบโตทางเศรษฐกิจ ทําใหมีความตองการนําเขา การนําเขาเพื่อใชเปนวัตถุดบเพิ่มมากขึ้น ิ • มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและอุดม สินคากลุมนี้เพิ่มมากขึ้น  -ขณะเดียวกันก็ตองเรงเพิ่มประสิทธิภาพการ สมบูรณ โดยเฉพาะน้ําและแรชนิดตางๆ -วัสดุกอสราง ตามการเติบโตของภาคการ ผลิต และบริหารตนทุนการผลิตใหสามารถชวง • การเมืองมีเสถียรภาพ กอสรางภายในประเทศลาว ทั้งในสวนของที่อยู ชิงโอกาสการแขงขันในตลาดลาวสําหรับสินคา • คาจางแรงงานคอนขางต่ํา (เกือบต่ําสดใน คาจางแรงงานคอนขางตา (เกอบตาสุดใน อาศัย โรงแรม และระบบโครงสรางพื้นฐาน ฐ เครื่องรับวิทยุ โทรทัศนและสวนประกอบ ตู เย็น อาเซียน รองจากกัมพูชา) ภายในประเทศ ตูแชแข็ง ที่อาจจะตองเนนการแขงขันทางดาน -สินคาปศุสัตว เนื้อสัตว และผลิตภัณฑ ราคาควบคูกับคุณภาพที่ยังเปนทีเ่ ชื่อถือในตลาด จุดออน เนื่องจากลาวยังผลิตไดไมเพียงพอกับความ ลาวไวใหได • ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไมไดรับการ ตองการที่มีแนวโนมขยายตัวเพิมขึ้น ่ พัฒนาเทาที่ควร -เครื่องจักรกลและสวนประกอบ โดยเฉพาะ • พื้นทีสวนใหญเปนที่ราบสูงและภูเขา ทําให เครื่องจักรเพื่อการเกษตรซึ่งเปนที่คุนเคยของ ่ การคมนาคมไมสะดวก อีกทั้งไมมทางออกสู ี กลุมเกษตรกรลาว เนื่องจากราคาไมสูงมากนัก  ทะเล และมีคุณภาพดี -กลุ สินคาอาหารและเครืองดื่ม เนองจาก -กลมสนคาอาหารและเครองดม เนื่องจาก ่ ประเด็นที่นาสนใจ ผูบริโภคลาวมีความคุนเคยกับตราสินคาของไทย การลงทุนสวนใหญอยูในกลุมโครงสรางพื้นฐาน และมีราคาไมแพงจนเกินไป พลังงานน้ํา และเหมืองแร http://www.ksmecare.com ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT 8
  • 9. 21/02/55 ประเทศ สินคาที่ไทยมีโอกาส สินคาที่ไดตองเรงปรับตัว พมา -สินคาอุปโภคบริโภคที่จําเปนตอ -โดยปกติไทยนําเขาสินคาจากพมา จุดแข็ง ชีวิตประจําวัน เนื่องจากมีการเปด • มีทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งน้ํามันและ ประเทศ มากขึ้น ขณะที่ไมสามารถผลิต ไมไดเปนมูลคาสูงมาก ยกเวนกลุม กาซธรรมชาติจํานวนมาก สินคาดังกลาวไดเพียงพอกับความ กาซ ธรรมชาติ ที่ไมวาจะมีการลด • มีพรมแดนเชื่อมโยงจีนและอินเดีย ซึ่งมี ตองการภายในประเทศ ประชากรรวมราว 1 ใน 3 ของโลก -วสดุกอสราง เหล็ก เหล็กกลา วัสดกอสราง เหลก เหลกกลา หรอไมลดภาษตามขอตกลง ไทยก หรือไมลดภาษีตามขอตกลง ไทยก็ • คาจางแรงงานคอนขางต่ํา (เกือบต่ําสุด ปูนซีเมนต เพื่อรองรับการขยายการ ยังคงตองพึ่งพาการนําเขาจากพมาอยู ในอาเซียน รองจากกัมพูชา) ลงทุนที่มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในสวนของระบบ แลว ดังนั้น จึงไมนาจะไดรับ จุดออน สาธารณูปโภคพื้นฐานและสิ่ง อํานวย ผลกระทบใดๆมากนัก • ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไมไดรับ ความสะดวกอื่นๆ บริเวณโครงการ การพัฒนาเทาที่ควร พัฒนาทาเรือน้ําลึกและนิคม -แตอาจจะมีบรรยากาศการแขงขันที่ • ความไมแนนอนทางการเมือง และ อุตสาหกรรมในทวายที่อยูระหวางการ เขมขนมากขึ้นในตลาดพมาจาก นโยบาย ดําเนินการกอสราง บรรดาประเทศสมาชิกอาเซียน ประเด็นที่นาสนใจ การพัฒนาโครงขายคมนาคมในประเทศ เชิงรุก ทั้งทางถนน รถไฟความเร็วสูง และ ทาเรือ http://www.ksmecare.com ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT พฤติกรรมผูบริโภคในอาเซียน • การตัดสินใจซื้อ: ดวยกําลังซื้อที่คอนขางสูง ทําใหชาวสิงคโปรมักนิยมเลือกซื้อสินคาแบ รนดเนม เนื่องจากเปนสินคาที่มีชื่อเสียง และมีคุณภาพคอนขางสูง • รสนิยม: วัฒนธรรมไลฟสไตลทางตะวันตกมีอิทธิพลมากในสังคมสิงคโปร โดยเฉพาะในกลุมวัยรุน นอกจากนี้ พฤติกรรมผูบริโภคยัง สิงคโปร ออนไหวตอกระแสนิยมและแฟชั่นในตลาดโลกสูง จนไดชื่อวาเปนตลาดแฟชั่นที่ทันสมัยที่สดแหงหนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ุ ใต • การบริโภค: ชาวสิงคโปรใหความสําคัญกับการดูแลสุขภาพมาก และนิยมทานอาหารเสริมเพื่อบํารุงรางกาย นอกจากนี้ ผูมีรายได และ มีระดับการศึกษาสูงจะนิยมบริโภคอาหารออร แกนิกมากขึ้น • การตัดสินใจซื้อสินคา: ชาวบรูไนมีกําลังซื้อคอนขางสูง และนิยมสินคาแบรนดเนม สินคาหรูหรามูลคาสูง และสินคาฟุมเฟอย รวมทั้งใหความสําคัญกับคุณภาพสินคามาก • รสนิยม: ชาวบรูไนมีขอจํากัดจากทางดานวัฒนธรรมและมีกฎระเบียบรวมถึงขอหามที่เครงครัด ขณะเดียวกันมีรสนิยมที่คอนขางทัน บรูไน สมัยและอิงสไตลตะวันตก • การบริโภค: - พฤติกรรมการบริโภคสินคาอาหารคอนขางใกลเคียงกับมาเลเซีย โดยนิยมอาหารฮาลาลตามการยึดถือศาสนาอิสลาม - ชาวบรูไนคอนขางเชื่อถือคุณภาพสินคา โดยเฉพาะสินคาอาหาร จากสิงคโปรและมาเลเซีย • การตัดสินใจซื้อ: ชาวมาเลเซียมีแนวโนมเลือกซื้อสินคาที่อํานวยความสะดวกสบายใน ชีวิตประจําวัน สินคาฟุมเฟอยและสินคา หรูหรามากขึ้น ขณะที่ กลุมวัยรุนคอนขางใหความ สําคัญกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมๆ สะทอนจากการใชจายสินคาไอทีที่มากเปน อันดับแรกเมื่อเทียบกับการใชจายดานอาหารและการพักผอนอื่นๆ • รสนิยม: ผูบริโภคมาเลเซียมีรสนิยมคอนขางหลากหลายตามกลุมเชื้อชาติ แตกลุมผูบริโภคที่มีระดับการศึกษาสูงและรายไดสงมักมี ู รสนิยมอิงสไตลตะวันตก มาเลเซีย • การบริโภค: - ผูบริโภคมาเลเซียนิยมบริโภคอาหารสด ขณะที่อาหารแปรรูปและอาหารบรรจุถุงมีแนวโนมไดรับความนิยมมากขึ้นจากความเรงรีบใน ชีวิตประจําวัน - ชาวมาเลเซียรับประทานอาหารวันละ 3 ครั้ง และระหวางวันจะมีชวงพักดื่มน้ําชา และนิยมทานขนมขบเคี้ยว/บิสกิตเปนอาหารวาง ควบคูไปดวย - ชาวมาเลเซียในวัยแรงงานนิยมบริโภคสินคา Functional Food เชน เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ/ใหพลังงาน http://www.ksmecare.com ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT 9
  • 10. 21/02/55 พฤติกรรมผูบริโภคในอาเซียน • การตัดสินใจซื้อ: ชาวอินโดนีเซียยังมีชองวางทางรายไดคอนขางสูง และผูบริโภคสวน ใหญยังคอนขางออนไหวกับราคาสินคา ทําใหไมคอยนิยมสินคานําเขาที่ราคาแพงหรือสินคาที่มี บรรจุภัณฑราคาสูง • รสนิยม: ผูบริโภคที่มีรายไดปานกลางขึ้นไปนิยมบริโภคสินคานําเขาจากตางประเทศ ทั้งสินคานําเขาจากเอเชียและ ประเทศตะวัน ตก • การบริโภค: อินโดนีเซีย - ชาวอินโดนีเซียมีการใชจายเพื่อซื้อสินคาอาหารคอนขางสูง (สัดสวนประมาณรอยละ 51 ของรายไดทั้งหมด) - ชาวอินโดนีเซียนิยมใชเวลาพักผอนรวมกับเพื่อนและครอบครัวโดยการออกมารับประทานอาหารนอกบาน - พฤติิกรรมการซื้อสิินคาอาหารเปลีี่ยนจากซืื้อวัันตอวัันมานิิยมซืื้ออาหารสํําเร็็จรูป อาหารพรอมปรุง และอาหารพรอมรัับป ื ป ป ประทาน ที่เก็บไวไดนานขึ้น ขณะที่สินคา กลุม Cereal ยังเปน อาหารหลักสําหรับทุกกลุมรายได นอกจากนี้ยังนิยมอาหารรสจัด - มีแนวโนมใสใจกับการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น • การตัดสินใจซื้อ: แมปจจุบันกระแสไอทีไดเขามามีอิทธิพลตอสังคมโลกมากขึ้น แตชาว ฟลิปปนสไมนิยมการซื้อสินคาออนไลน แตนิยมเดินเลือกซื้อสินคาดวยตนเอง (ยกเวนสินคา กลุมสื่อบันเทิง) นอกจากนี้ ชาวฟลิปปนสสวนใหญไมคอยยึดติดกับสินคา แบรนดเนม แตนิยมสินคา Private Label มากกวา • รสนิยม: มีรสนิยมคอนขางหลากหลาย โดยทั่วไปเนนความเรียบงาย สะดวกและเหมาะสมกับระดับรายได ฟลิปปนส • การบริโภค: - ชาวฟลิปปนสใสใจกับการดูแลสุขภาพ และการดูแลความสวยงามและผิวพรรณ - ชาวฟลิปปนสคอนขางผูกพันกับตราสินคาเดิมที่เคยใชและไมเปลี่ยนตราสินคาบอย - ชาวฟลิปปนสนิยมรับประทานอาหารนอกบานเปนหลัก - เชนเดียวกับผูบริโภคในประเทศอาเซียนอื่นที่มีรายไดสูงขึ้น ชาวฟลปปนสนิยมซื้อสินคาที่อํานวยความสะดวกสบายมากขึ้น ิ โดยเฉพาะรถยนตและอุปกรณมือ ถือ http://www.ksmecare.com ดร.ดนัย เทียนพุฒ C copyright 2012 Dnt NeT Dr.Danai Thieanphut D n t Net Tel:029301133 www.drdanai.blogspot.com g p http://www.facebook.com/drdanai email:DrDanaiT@gmail.com 10