SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ใบความรู้
                             เรือง การตอบสนองของพืชต่ อสิ งเร้ าของพืช

          สัตว์ทุกชนิดมีการเคลือนที เคลือนไหวได้ เนืองจากมีระบบประสาท ส่ วนพืชจะไม่มีการเคลือนที
แต่จะมีการเคลือนไหว โดยพืชจะตอบสนองต่อสิ งเร้าทีมากระตุน การตอบสนองต่อสิ งเร้าจะมีผลทําให้พืชมี
                                                                ้
การเจริ ญเติบโต
         พืชมีการตอบสนองต่อสิ งเร้า ซึ งอาจแบ่งเป็ น 2 ประการคือ การตอบสนองเนืองจากการเจริ ญเติบโต
ของพืช ซึ งมักเกิดขึนอย่างช้า ๆ สังเกตได้ไม่ชดเจน เช่น รากพืชเจริ ญเข้าหาความชืน
                                               ั
การเจริ ญของลําต้นซึ งมีทิศทางตรงข้ามกับแรงโน้มถ่วงของโลกและการตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมทีไม่
เกียวกับการเจริ ญเติบโตของพืช เช่น การหุ บใบของไมยราบเมือถูกสัมผัส การหุ บบานของดอกไม้บางชนิ ด
ในเวลามีแสงหรื อไม่มีแสงฯลฯ
           1. การตอบสนองเนืองจากการเจริ ญเติบโตของพืช แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ
                                           ั
              1.1 ชนิดทีมีความสัมพันธ์กบทิศทางของสิ งเร้า โดยส่ วนของพืชจะโค้งเข้าสิ งเร้าหรื อหนีออก
จากสิ งเร้าทีมากระตุน เช่น แสงเป็ นสิ งเร้า แรงโน้มถ่วง สารเคมี นํา และการสัมผัส
                     ้
                  - การเบนเข้าหาหรื อการหนี แสง พืชจะตอบสนองต่อสิ งเร้าทีเป็ นแสง โดยส่ วนของยอดลํา
ต้นจะเจริ ญเข้าหาแสงสว่าง ซึ งนักเรี ยนสามารถสังเกตได้จากบริ เวณป่ าไม้ทีมีตนไม้ หน้าแน่น พืชจะมี
                                                                             ้
ลักษณะลําต้นสู งเพือแข่งขันกันรับแสงสว่าง ส่ วนของรากจะเจริ ญหนี แสงสว่างเสมอ นอกจากนีแสงสว่างยัง
มีผลต่อการหุ บ – บานของดอกไม้ดวย    ้




                         แสงเป็ นสิ งเร้า ดอกทานตะวันจะหันเข้าหาแสงอาทิตย์
- การเบนหาหรื อหนีแรงดึงดูดของโลก ถ้านักเรี ยนนําต้นพืชทีกําลังงอกวางขนานกับพืน
แล้วปล่อยให้เจริ ญเติบโตต่อไป พบว่า ส่ วนของยอดจะพยายามโค้งงอตังขึนและบริ เวณรากจะพุงเข้าหา   ่
ความโน้มถ่วงของโลก
              อุณหภูมิ เป็ นปั จจัยทางกายภาพและเป็ นสิ งเร้าอย่างหนึงทีมีผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืช
อุณหภูมิมีผลและทําให้เกิดการหุ บ - บานของดอกไม้ ดอกไม้บางชนิดบานในเวลากลางวันบางชนิดบานใน
เวลากลางคืน การบานของดอกไม้จะบานในช่วงทีเซลล์มีชีวตอยูเ่ ท่านันเมือเซลล์เจริ ญเติมทีแล้วจะไม่เกิด
                                                             ิ
การหุ บ - บานอีกต่อไป
              การสัมผัส พืชบางชนิดมีการเคลือนไหวได้ชาจนเรามองไม่เห็น แต่พืชบางชนิดมีการ
                                                          ้
เคลือนไหวอย่างรวดเร็ วเมือเราไปสัมผัส เช่น มือเกาะ ยืนออกไปจากลําต้น ไปยึดสิ งทีสัมผัสหรื อต้นไม้อืน
หรื อหลัก เพือเป็ นการพยุงลําต้น เช่น ตําลึง กระทกรก องุ่น พืชตระกูลแตง เป็ นต้น
ต้นไมยราบ ทีเป็ นเช่นนีเนืองจากการสู ญเสี ยของนําภายในเซลล์ของกลุ่มเซลล์บริ เวณก้านใบ ทําให้ใบหุ บ
ทันที แต่เมือนําค่อย ๆ ซึ มกลับเข้ามาในกลุ่มเซลล์บริ เวณก้านใบใหม่ ใบก็จะบาน นอกจากนียังพบในต้น
กาบหอยแครงโดยจะใบเมือแมลงบินมาถูก ใบพืชตระกูลถัวจะมีการนอนในขณะดวงอาทิตย์จะลับขอบฟ้ า
ต้นก้ามปูใบจะบานตอนกลางวัน กลางคืนใบจะหุ บ




                มือเกาะของตําลึง                                   มือเกาะของกระทกรก

             นํา เป็ นปั จจัยทีสําคัญต่อการดํารงชีวิตของพืชมาก ถ้านักเรี ยนทดลองปลูกพืชในกล่อง
พลาสติกทีสามารถมองเห็นได้ทุกด้านและทดลองรดนําเพียงบางส่ วนเท่านัน จะพบว่ารากส่ วนทีไม่ได้รับนํา
                                                                 ่
จะเคลือนทีเข้าบริ เวณทีชืนภายในกล่องพลาสติก จึงอาจกล่าวได้วา นําเป็ น สิ งเร้าอีกสิ งหนึงทีทําให้พืชมีการ
เคลือนไหวและมีการเจริ ญเติบโตเกิดขึน
                                        ั
             1.2 ชนิดทีมีไม่สัมพันธ์กบทิศทางของสิ งเร้า เกียวกับการหุ บและการบานของดอกไม้
ซึ งเกิดจากการเจริ ญของกลุ่มเซลล์ดานในและด้านนอกไม่เท่ากัน โดยเป็ นผลมาจากสิ งเร้าดังนี
                                      ้
- เมือแสงเป็ นสิ งเร้า




          ดอกบัวบานในเวลากลางวันและหุ บในเวลากลางคืน




  ดอกกระบองเพชรจะบานในเวลากลางคืนและหุ บในเวลากลางวัน
- เมือมีอุณหภูมิเป็ นสิ งเร้า




                                 ดอกบัวสวรรค์จะบานเมืออุณหภูมิสูง

         2. การตอบสนองต่อสิ งเร้าเนืองจากการเปลียนแปลงปริ มาณนําภายในเซลล์ เมือมี     สิ งเร้า
มากระตุนให้พืชเกิดการเปลียนแปลงปริ มาณนําภายในเซลล์ จะมีผลทําให้แรงดันเต่งภายในเซลล์เกิดการ
       ้
เปลียนแปลง แบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ
            2.1 การหุ บของของพืชบางชนิดตอนพลบคํา




         ต้นกระเฉด                              แค                           ก้ามปู
2.2 การหุ บของของพืชบางชนิดเมือมีการสัมผัสหรื อกระเทือนเป็ นสิ งเร้า




                       ไมยราบต้น                            หม้อข้าวหม้อแกงลิง

                 2.3 การปิ ด-เปิ ดของปากใบ เมือมีแสงเป็ นสิ งเร้า ในเวลากลางวัน เซลล์คุมมีการ
             ้                ํ            ่
สังเคราะห์ดวยแสง ทําให้มีนาตาลสะสมอยูภายในเซลล์เป็ นจํานวนมาก เป็ นผลให้ความเข้มข้นของ
สารละลายนําตาลในเซลล์คุมสู งกว่าความเข้มข้นของสารในเซลล์ขางเคียงนําจากเซลล์ขางเคียงจึงแพร่ เข้า
                                                                    ้                 ้
สู่ เซลล์คุมจนเซลล์คุมเต่งออก ทําให้ ปากใบเปิ ด

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
Sirintip Arunmuang
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็น
adriamycin
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
Aon Narinchoti
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
Anana Anana
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
thnaporn999
 

Was ist angesagt? (20)

แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็นการระเหิดของลูกเหม็น
การระเหิดของลูกเหม็น
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 

Ähnlich wie การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช

การตอบสนอง1
การตอบสนอง1การตอบสนอง1
การตอบสนอง1
Pranruthai Saothep
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
Anana Anana
 
Responseของพืช
ResponseของพืชResponseของพืช
Responseของพืช
Issara Mo
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
Anana Anana
 
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชบทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
Anana Anana
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
Anana Anana
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
dnavaroj
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
dnavaroj
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
Naddanai Sumranbumrung
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
Nokko Bio
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
Napalai Jaibaneum
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Jiraporn
 

Ähnlich wie การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช (20)

การตอบสนอง1
การตอบสนอง1การตอบสนอง1
การตอบสนอง1
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
Responseของพืช
ResponseของพืชResponseของพืช
Responseของพืช
 
Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชบทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
Handling and nama plant
Handling and nama plantHandling and nama plant
Handling and nama plant
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
wan
wanwan
wan
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Plant
PlantPlant
Plant
 

Mehr von dnavaroj

บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
dnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 

Mehr von dnavaroj (20)

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyan
 

การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช

  • 1. ใบความรู้ เรือง การตอบสนองของพืชต่ อสิ งเร้ าของพืช สัตว์ทุกชนิดมีการเคลือนที เคลือนไหวได้ เนืองจากมีระบบประสาท ส่ วนพืชจะไม่มีการเคลือนที แต่จะมีการเคลือนไหว โดยพืชจะตอบสนองต่อสิ งเร้าทีมากระตุน การตอบสนองต่อสิ งเร้าจะมีผลทําให้พืชมี ้ การเจริ ญเติบโต พืชมีการตอบสนองต่อสิ งเร้า ซึ งอาจแบ่งเป็ น 2 ประการคือ การตอบสนองเนืองจากการเจริ ญเติบโต ของพืช ซึ งมักเกิดขึนอย่างช้า ๆ สังเกตได้ไม่ชดเจน เช่น รากพืชเจริ ญเข้าหาความชืน ั การเจริ ญของลําต้นซึ งมีทิศทางตรงข้ามกับแรงโน้มถ่วงของโลกและการตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมทีไม่ เกียวกับการเจริ ญเติบโตของพืช เช่น การหุ บใบของไมยราบเมือถูกสัมผัส การหุ บบานของดอกไม้บางชนิ ด ในเวลามีแสงหรื อไม่มีแสงฯลฯ 1. การตอบสนองเนืองจากการเจริ ญเติบโตของพืช แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ ั 1.1 ชนิดทีมีความสัมพันธ์กบทิศทางของสิ งเร้า โดยส่ วนของพืชจะโค้งเข้าสิ งเร้าหรื อหนีออก จากสิ งเร้าทีมากระตุน เช่น แสงเป็ นสิ งเร้า แรงโน้มถ่วง สารเคมี นํา และการสัมผัส ้ - การเบนเข้าหาหรื อการหนี แสง พืชจะตอบสนองต่อสิ งเร้าทีเป็ นแสง โดยส่ วนของยอดลํา ต้นจะเจริ ญเข้าหาแสงสว่าง ซึ งนักเรี ยนสามารถสังเกตได้จากบริ เวณป่ าไม้ทีมีตนไม้ หน้าแน่น พืชจะมี ้ ลักษณะลําต้นสู งเพือแข่งขันกันรับแสงสว่าง ส่ วนของรากจะเจริ ญหนี แสงสว่างเสมอ นอกจากนีแสงสว่างยัง มีผลต่อการหุ บ – บานของดอกไม้ดวย ้ แสงเป็ นสิ งเร้า ดอกทานตะวันจะหันเข้าหาแสงอาทิตย์
  • 2. - การเบนหาหรื อหนีแรงดึงดูดของโลก ถ้านักเรี ยนนําต้นพืชทีกําลังงอกวางขนานกับพืน แล้วปล่อยให้เจริ ญเติบโตต่อไป พบว่า ส่ วนของยอดจะพยายามโค้งงอตังขึนและบริ เวณรากจะพุงเข้าหา ่ ความโน้มถ่วงของโลก อุณหภูมิ เป็ นปั จจัยทางกายภาพและเป็ นสิ งเร้าอย่างหนึงทีมีผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืช อุณหภูมิมีผลและทําให้เกิดการหุ บ - บานของดอกไม้ ดอกไม้บางชนิดบานในเวลากลางวันบางชนิดบานใน เวลากลางคืน การบานของดอกไม้จะบานในช่วงทีเซลล์มีชีวตอยูเ่ ท่านันเมือเซลล์เจริ ญเติมทีแล้วจะไม่เกิด ิ การหุ บ - บานอีกต่อไป การสัมผัส พืชบางชนิดมีการเคลือนไหวได้ชาจนเรามองไม่เห็น แต่พืชบางชนิดมีการ ้ เคลือนไหวอย่างรวดเร็ วเมือเราไปสัมผัส เช่น มือเกาะ ยืนออกไปจากลําต้น ไปยึดสิ งทีสัมผัสหรื อต้นไม้อืน หรื อหลัก เพือเป็ นการพยุงลําต้น เช่น ตําลึง กระทกรก องุ่น พืชตระกูลแตง เป็ นต้น ต้นไมยราบ ทีเป็ นเช่นนีเนืองจากการสู ญเสี ยของนําภายในเซลล์ของกลุ่มเซลล์บริ เวณก้านใบ ทําให้ใบหุ บ ทันที แต่เมือนําค่อย ๆ ซึ มกลับเข้ามาในกลุ่มเซลล์บริ เวณก้านใบใหม่ ใบก็จะบาน นอกจากนียังพบในต้น กาบหอยแครงโดยจะใบเมือแมลงบินมาถูก ใบพืชตระกูลถัวจะมีการนอนในขณะดวงอาทิตย์จะลับขอบฟ้ า ต้นก้ามปูใบจะบานตอนกลางวัน กลางคืนใบจะหุ บ มือเกาะของตําลึง มือเกาะของกระทกรก นํา เป็ นปั จจัยทีสําคัญต่อการดํารงชีวิตของพืชมาก ถ้านักเรี ยนทดลองปลูกพืชในกล่อง พลาสติกทีสามารถมองเห็นได้ทุกด้านและทดลองรดนําเพียงบางส่ วนเท่านัน จะพบว่ารากส่ วนทีไม่ได้รับนํา ่ จะเคลือนทีเข้าบริ เวณทีชืนภายในกล่องพลาสติก จึงอาจกล่าวได้วา นําเป็ น สิ งเร้าอีกสิ งหนึงทีทําให้พืชมีการ เคลือนไหวและมีการเจริ ญเติบโตเกิดขึน ั 1.2 ชนิดทีมีไม่สัมพันธ์กบทิศทางของสิ งเร้า เกียวกับการหุ บและการบานของดอกไม้ ซึ งเกิดจากการเจริ ญของกลุ่มเซลล์ดานในและด้านนอกไม่เท่ากัน โดยเป็ นผลมาจากสิ งเร้าดังนี ้
  • 3. - เมือแสงเป็ นสิ งเร้า ดอกบัวบานในเวลากลางวันและหุ บในเวลากลางคืน ดอกกระบองเพชรจะบานในเวลากลางคืนและหุ บในเวลากลางวัน
  • 4. - เมือมีอุณหภูมิเป็ นสิ งเร้า ดอกบัวสวรรค์จะบานเมืออุณหภูมิสูง 2. การตอบสนองต่อสิ งเร้าเนืองจากการเปลียนแปลงปริ มาณนําภายในเซลล์ เมือมี สิ งเร้า มากระตุนให้พืชเกิดการเปลียนแปลงปริ มาณนําภายในเซลล์ จะมีผลทําให้แรงดันเต่งภายในเซลล์เกิดการ ้ เปลียนแปลง แบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ 2.1 การหุ บของของพืชบางชนิดตอนพลบคํา ต้นกระเฉด แค ก้ามปู
  • 5. 2.2 การหุ บของของพืชบางชนิดเมือมีการสัมผัสหรื อกระเทือนเป็ นสิ งเร้า ไมยราบต้น หม้อข้าวหม้อแกงลิง 2.3 การปิ ด-เปิ ดของปากใบ เมือมีแสงเป็ นสิ งเร้า ในเวลากลางวัน เซลล์คุมมีการ ้ ํ ่ สังเคราะห์ดวยแสง ทําให้มีนาตาลสะสมอยูภายในเซลล์เป็ นจํานวนมาก เป็ นผลให้ความเข้มข้นของ สารละลายนําตาลในเซลล์คุมสู งกว่าความเข้มข้นของสารในเซลล์ขางเคียงนําจากเซลล์ขางเคียงจึงแพร่ เข้า ้ ้ สู่ เซลล์คุมจนเซลล์คุมเต่งออก ทําให้ ปากใบเปิ ด