SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 6
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ทบทวนวรรณกรรม เรื่อง การปลูกถ่ายฟันให้ตนเอง (Autotranspantation)
                                       ั                                                                    ั
                   การปลูกถ่ายฟนให้ตนเอง (Autotranspantation) คือ การย้ายฟนจากทีหนึ่งไปปลูกอีกทีหนึ่งในช่องปากคน     ่               ่
                                           ั ้                                   ่ ั
คนเดียวกัน บริเวณทีปลูกฟนนันอาจเป็ นบริเวณทีฟนถูกถอน หรือเบ้าฟนทีทาศัลยกรรมเพื่อรองรับการปลูกฟน1,2,3
                                 ่                                                                         ั ่                                    ั
                   ั                 ่ ั ่                          ้ ่ ่
การปลูกฟนมักใช้แทนทีฟนทีหายไปในผูปวยทีอายุยงน้อย ซึงการใช้ implant ไม่ควรใช้ในผูปวยทีอายุน้อยทียงมีการ
                                                                                       ั         ่                           ้ ่ ่            ่ ั
                                                 ั
พัฒนาของกระดูกรองรับรากฟน(alveolar bone) เนื่องจากอาจทาให้เกิด infraocclusion จากการเกิดความล้มเหลวใน
การสร้างกระดูกรองรับรากฟนได้                  ั
ข้อบ่งชี้ในการปลูกฟั น(autotranspantation) 1,2,4
                  1. Impacted/Ectopic teeth
                  2. Premature tooth loss
                  3. Traumatic tooth loss
                                                                                                               ั
                  4. Replacement of developmentally absent teeth : ส่วนใหญ่ฟนซี่ mandibular second premolars และ
  ั
ฟนซี่ maxiallary second premolars มักหายไป
                                                                          ั ่ ้
                  5. Teeth with bad prognosis เช่น ฟนทีตองถอนเนื่องจาก caries หรือ periodontal disease โดยส่วนใหญ่
                ั
มักเป็ นฟนซี่ first permanent molar
                  6. Developmental anomalies of teeth and related syndromes เช่น tooth aplasia,cleidocranial
dysplasia และ tooth agenesis
ข้อดีของการปลูกฟัน1
                                                   ่ ี                  ั
                  1. อาจเป็ นทางเลือกทีดกว่าการใส่ฟนปลอมทังชนิดติดแน่นหรือถอดได้         ้
                  2. ไม่จาเป็ นต้องกรอแต่งฟนข้างเคียง          ั
                  3. ราคาถูก
ข้อเสียของการปลูกฟัน1,5
                  1. ขันตอนทางศัลยกรรมยุงยากกว่าการถอนฟนธรรมดา
                        ้                                    ่                             ั
                  2. ทานายผลการรักษาได้ยาก
                                                                                             ั
                  3. ภาวะแทรกซ้อนทีเกิดขึน(การละลายของรากฟน, การสูญเสียการยึดเกาะ) ทาให้เกิดการสูญเสียฟนตามมา
                                                ่ ้                                                                                             ั
ได้
                     ั ่                                                       ั
                  ฟนทีจะนาไปปลูกต้องมีรปร่างของตัวฟนและพัฒนาการของรากฟนทีเหมาะสม กรณีฟนทีจะย้ายไปปลูกยัง
                                                         ู                                                       ั ่               ั ่
                                                                 ั
เจริญไม่เต็มที่ ควรมีการเจริญของรากฟนยาวประมาณ 2/3 หรือ 3/4 ซึงเป็ นระยะทีเหมาะสม                      ่               ่
 และต้องแน่นพอดีและรากฟ                     ันต้องไม่แนบชิดจนเบียดกระดูกเบ้ารากฟนเพราะจะเกิดการชอกช้ากับรากฟนและการ
                                                                                                     ั                                      ั
กระแทกกับเนื้อเยือปริทนต์   ่      ั
                              ่          ั
                  บริเวณทีจะปลูกฟน ต้องมีขนาดเพียงพอทังในแนวใกล้กลาง-ไกลกลาง และ แนวใกล้แก้ม-ใกล้ลน และมี
                                                                                     ้                                                   ้ิ
                           ั ่
กระดูกโดยรอบฟนทีปลูกอย่างน้อย 0.5 มม. โดยรอบและต้องไม่มการอักเสบ                                   ี
                                                                   5,7
เทคนิ คการทาศัลยกรรมปลูกถ่ายฟั น
         ู้ ่
1. ให้ผปวยกินยา antibiotic ก่อนการผ่าตัด 1 ชัวโมง                          ่
2.ฉีดยาชาทัง donor site และ recipient site
                      ้
              ั
3.ถอนฟนบริเวณ recipient site โดยระมัดระวังการทาอันตรายต่อบริเวณอวัยวะปริทนต์บริเวณเบ้ารากฟนให้น้อยทีสด                   ั               ั          ุ่
ถ้ามีพยาธิสภาพปลายรากฟน ให้กาจัดออก         ั
                  ั ่
4. ถอนฟนทีจะนามาปลูก หลีกเลียงการทาอันตรายต่อ ตัวฟนและรากฟน โดยเฉพาะกรณีทฟนทีจะ
                                                       ่                                       ั         ั                 ่ี ั ่
                          ั ั                                                ั
นามาปลูกเป็ นฟนฝงคุด ไม่ควรใช้ elevator งัดฟนอย่างรุนแรง เนื่องจากจะทาอันตรายต่อเนื้อเยือปริทนต์ และเคลือบ                       ่     ั
       ั
รากฟน โดยเฉพาะเยือบุหมรากเฮิรตวิก(Hertwig’s epithelial root sheath) ซึงเป็ นตัว
                                ่ ุ้                       ์                                                       ่

                                                                          1
ั
     กาหนดการเจริญเติบโตของรากฟนเพราะหากได้รบอันตรายรุนแรงฉีกขาดไปมาก การเจริญเติบโตของ ั
                                  6
     รากจะหยุดไป
             ่                  ั                                             ั ้
     5. เมือถอนฟนออกมาได้แล้วควรตรวจดูรากฟนทังรูปร่าง ขนาด และสภาพของเยือปริทนต์ และควร                                                         ่        ั
               ั                        ั                                      ั ่
     เก็บฟนไว้ในเบ้าฟนเดิม ในขณะทีเตรียมเบ้าฟนทีจะรับฟนปลูก ถ้ามีความจาเป็ นต้องเก็บฟนไว้นอก
                                                        ่                                              ั                                                         ั
     ช่องปาก ควรเก็บไว้ใน Hank’s balanced salt solution เพือรักษาความมีชวตของเซลล์เยือปริทนต์              ่                           ีิ                      ่   ั
                              ั                                 ั ่
     6. แต่งเบ้าฟนให้มขนาดใหญ่กว่าฟนทีจะปลูกเล็กน้อย โดยใช้หวกรอความเร็วต่าและพ่นด้วยน้าเกลือ
                                          ี                                                                             ั
     ขณะกรอแต่ง
                   ั ่                                                                    ั
     7. นาฟนทีถอนไว้ไปใส่ในบริเวณทีจะทาการปลูกฟน ให้อยูต่ากว่าระดับระนาบสบของฟนข้างเคียงเล็กน้อย และไม่
                                                              ่                                              ่                                             ั
     สบกับฟนคู่สบ   ั
                                                     ั
     8. เย็บเหงือกโดยรอบบริเวณฟนปลูกให้แน่น เพือป้องกันไม่ให้แบคทีเรียในช่องปาก ลงไปยังเบ้าฟนที
                                                                                  ่                                                                                  ั
     ปลูกได้
                      ั
     9. ตรึงฟนให้อยูนิ่งกับที่ โดยใช้ suture splinting ถ้าฟนยังไม่แน่น อาจใช้ wire และ acid-etch
                                      ่                                                           ั
     composite โดยควรรอประมาณ 2-3 วันหลังจากทา suture splinting เพราะถ้าทาในคราวเดียวกันยัง
     มีเลือดออกจากแผลมาก จะทาให้ไม่ได้ผลดีเท่าทีควร                                   ่
                                               ั                           ั ่ ิ
     10.ตรวจระดับการสบฟน ต้องไม่มการสบฟนทีผดปกติและส่งตรวจทางภาพถ่ายรังสี เพือตรวจดู
                                                            ี                                                                                          ่
     ตาแหน่งของฟนปลูก               ั
     11. ใส่ surgical dressing (periodontal packing) เพือป้องกันการสัมผัสกับเชือโรคในช่องปากนาน 3-4 วัน
                                                                                                ่                                         ้
                                                                 10
การดูแลผูป่วยหลังการผ่าตัดปลูกฟั น
                 ้
                                                                                    ั
           - ให้รบประทานอาหารอ่อน และไม่ควรใช้ฟนข้างทีมฟนปลูกบดเคียว ในระยะ 1 เดือนแรกหลังผ่าตัด
                        ั                                                                           ่ ี ั                      ้
           - ให้ดแลทาความสะอาดอย่างเคร่งครัด เพือลดความเสียงต่อการติดเชือ
                          ู                                                     ่                              ่                     ้
           - ให้ยาต้านจุลชีพ และยาแก้ปวด เหมือนการผ่าตัดฟนคุดในช่องปาก                                   ั
การนัดผูป่วยเพื่อติ ดตามและประเมิ นฟั นปลูก
           ้
           Andreasen ได้กาหนดแนวทางการติดตามและประเมินฟนปลูกหลังผ่าตัดดังนี้                                          ั
           1 สัปดาห์                           ตัดไหม ถ่ายภาพรังสี
           4 สัปดาห์                           ถ่ายภาพรังสีอกครังเพือประเมินดูฟนทีมความเสียงสูงต่อการเกิด
                                                                    ี ้ ่                                        ั ่ ี           ่
                            ั                                               ั
การละลายรากฟน ในรายทีตองรักษาคลองรากฟนให้กาจัดเนื้อเยือในออกให้หมดแล้วใส่แคลเซียมไฮดรอกไซด์
                                              ่ ้                                                                   ่
               8 สัปดาห์                       ตรวจทางคลินิกและถ่ายภาพรังสี
               6 เดือน ตรวจทางคลินิกและถ่ายภาพรังสี ทดสอบความมีชวตของฟน เปลียนแคลเซียมไฮดรอกไซด์                          ีิ       ั          ่
หรืออุดคลองรากฟนถาวร              ั
               1 ปี                            ตรวจทางคลินิกและถ่ายภาพรังสี ทดสอบความมีชวตของฟน เปลียนแคลเซียมไฮ                     ีิ           ั          ่
ดรอกไซด์หรืออุดคลองรากฟนถาวร                     ั
ข้อมูลจากคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึงได้ให้การผ่าตัดปลูกถ่ายฟนแก่ผป่วย ในปี พ.ศ.2534-
                                                                                            ่                                               ั       ู้
                                            ั
2544 จานวน 78 รายเป็ นฟนปลูก 104 ซี่ ได้มการดูแลผูปวยดังนี้            ี                      ้ ่
           1 และ 3 วัน                                                   ั
                                               ตรวจดูสภาพของฟนปลูกและเนื้อเยือรอบฟนปลูก ล้างแผล ดูการยึดของไหม    ่          ั
           1 สัปดาห์                           ตัดไหม ถ่ายภาพรังสี
           2 สัปดาห์                                                 ั
                                               ตรวจดูสภาพฟนปลูก ล้างแผล


                                                                                 2
1 เดือน                                                                                     ั
                                     ตรวจทางคลินิกและถ่ายภาพรังสี ในรายทีตองรักษาคลองรากฟนให้กาจัดเนื้อเยือ
                                                                                ่ ้                                  ่
ในออกให้หมดแล้วใส่แคลเซียมไฮดรอกไซด์
           3 เดือน                   ตรวจทางคลินิกและถ่ายภาพรังสี ทดสอบความมีชวตของเนื้อเยือใน
                                                                                          ีิ         ่
           6 เดือน                                                                               ั
                                     ตรวจทางคลินิกและถ่ายภาพรังสี ทดสอบความมีชวตของฟน เปลียนแคลเซียมไฮ
                                                                                          ีิ             ่
ดรอกไซด์หรืออุดคลองรากฟนถาวร         ั
            1 ปี                     ตรวจทางคลินิกและถ่ายภาพรังสี ทดสอบความมีชวตของฟน     ีิ   ั
การประเมิ นทางคลิ นิก สิ่ งที่ควรประเมิ นทางคลิ นิกมีดงต่อไปนี้ 9,10   ั
                                    ั ้
           1. ตาแหน่งของฟน ทังในแนวตังและแนวนอน    ้
           2. การโยกของฟนปลูก    ั
           3. เคาะ ประเมินดู percussion tone เช่น high metallic sound ซึงแสดงถึงการเกิด ankylosis
                                                                                    ่
           4. สภาพเหงือก และเนื้อเยื่อปริทนต์ เช่น วัด pocket depth โดยให้เริมวัดครังแรกในระยะ 3 เดือนหลัง
                                                     ั                                  ่    ้
ผ่าตัดเนื่องจากอวัยวะปริทนต์ทขนมาใหม่มความสมบูรณ์มากพอทีจะรับน้าหนักปกติได้
                                   ั ่ี ้ึ             ี                   ่
           5. การเชื่อมต่อระหว่างเหงือกกับฟนปลูก           ั
           6. การตอบสนองของเนื้อเยือต่อกระแสไฟฟ้า (EPT)
                                             ่
การตรวจทางภาพถ่ายรังสี สิ่ งที่ควรตรวจทางภาพถ่ายรังสี ได้แก่ 9,10
                               ั
           1. กระดูกเบ้าฟน (alveolar bone)
           2. เนื้อเยือปริทนต์ (periodontal ligament)
                     ่       ั
                                        ั
           3. ผิวกระดูกเบ้ารากฟน (lamina dura)
                        ั                  ั
           4. โพรงฟนและคลองรากฟน (dental pulp and pulp canal) เช่นประเมินการเกิดการตีบตันภายใน
       ั
โพรงฟนส่วนใหญ่เกิดประมาณ 6 เดือนหลังผ่าตัด
                                               ั
           5. การเจริญของปลายรากฟน (root development)
การประเมิ นความสาเร็จ1
           การประเมินทางคลินิก ได้แก่
                           ั
                       - ฟนไม่โยก
                       - สภาพเหงือกและเนื้อเยือปริทนต์ปกติ เช่น periodontal attachment level, pocket depths,
                                                         ่         ั
gingival contour และ gingival color อยูในสภาพปกติ่
           การประเมินทางภาพถ่ายรังสี ได้แก่
                       - การ heal บริเวณ periapical ปกติไม่ม ี inflammatory pulpal change หรือ progressive
root resorption
                       -มีการเจริญของปลายรากฟน                 ั
                       -พบ lamina dura (ผิวกระดูกเบ้ารากฟน)เป็ นปกติ ั
ความสาเร็จในการรักษาและอัตราการคงอยู่
                                                                                      ั
           จากการศึกษาของ Andreasen และคณะในปี 1990 ซึงทาการปลูกฟนซี่ premolar ทังฟนทีมการสร้าง
                                                                         ่                                 ้ ั ่ ี
              ั                                              ั ่ ั           ั ่ ั
ปลายรากฟนสมบูรณ์(มีการรักษาคลองรากฟนทีสปดาห์ท่ี 4)และฟนทียงสร้างปลายรากฟนไม่สมบูรณ์ ทังหมด         ั               ้

                                                              3
จานวน 370 ซีพบsurvival rate ทีระยะเวลา 5 ปี เท่ากับ 98 % และ : 95 %
            ่                 ่
                                                   ่                        ั
        จากการศึกษาของ Ewa และคณะในปี 2002 ซึงทาการติดตามผลการปลูกฟน 30 ซีทเี่ วลาประมาณ
                                                                                  ่
26 ปีภายหลังการรักษาพบว่า survival rate เท่ากับ 90 % และ success rate เท่ากับ 79%
                                                     ่                        ั
        จากการศึกษาของ Kvint และคณะในปี 2010 ซึงทาการติดตามผลการปลูกฟน 215 ซีทเี่ วลาประมาณ
                                                                                    ่
15 ปีภายหลังการรักษาพบว่า success rate เท่ากับ 81% (175 teeth)

การเปลี่ยนแปลงของฟันและเนื้ อเยื่อรอบ ๆ หลังการปลูกฟัน6,10
         ่      ั                      ่        ั
เนื้อเยือประสาทฟน (dental pulp) เนื้อเยือประสาทฟน เป็ นส่วนทีมเี ลือดมาเลียงมาก มีความสาคัญในการสร้าง
                                                                          ้
       ั                   ั
เนื้อฟน การตอบสนองของฟนจะเพิมมากขึนตามระยะเวลาทีเพิมขึนโดยพบ Positive pulpal response ที่
                                 ่       ้              ่ ่ ้
ระยะเวลา 8 สัปดาห์เท่ากับ 2% ทีระยะ 6 เดือนเท่ากับ 90 และทีระยะ 1 ปีเท่ากับ 95% นอกจากนี้ยงพบการ
                                         ่                        ่                         ั
                      ั
ตีบตันภายในโพรงฟน(Pulp canal obliteration) ซึงส่วนใหญ่เกิดประมาณ 6 เดือนหลังผ่าตัดแสดงถึงการที่
                                                    ่
pulp มีเลือดมาเลียงใหม่
                   ้
                                                          ั ่
            การหายของ pulp ขึนกับการเจริญพัฒนาของรากฟนทีนาไปปลูก Andreasen และคณะ พบว่า ฟนที่
                                 ้                                                               ั
รากสร้างสมบูรณ์และยังไม่สมบูรณ์จะมีการหายของ pulp เป็ น 15% และ 96% ตามลาดับ ถ้าพบว่ามีพยาธิ
              ้                ่            ั                   ่                  ั
สภาพเกิดขึนต้องเอาเนื้อเยือประสาทฟนออกและใส่ Ca(OH)2 เพือทาการรักษาคลองรากฟนต่อไป การตาย
ของ pulp และการติดเชือทีเกิดตามมาเป็ นสาเหตุของ inflammatory resorption ได้ ดังนันการรักษาคลองราก
                           ้ ่                                                   ้
  ั                      ั
ฟนจะช่วยให้การปลูกฟนได้ผลดียงขึน       ิ่ ้
เยือปริทนต์ (periodontium)
     ่    ั
                                                      ุ่ ั ่                 ั
            ปฏิกรยาของเยื่อปริทนต์มความสาคัญมากทีสด ฟนทีปลูกลงไปในเบ้ารากฟนจะมีการสร้าง
                ิิ                   ั ี
cementum ใหม่ โดย cementoblast และจะมี reattachment ของเยือปริทนต์ใหม่ทเี่ กิดจาก granulation tissue
                                                                    ่ ั
รอบ ๆ ราก ถ้ามีการติดเชือหรือการอักเสบจะเป็ นสาเหตุให้ขบวนการนี้ล่าช้าได้ การหายของเยือปริทนต์ใน
                             ้                                                           ่    ั
    ั ่
ฟนทีปลูกจะสมบูรณ์ภายใน 8 สัปดาห์ หลังการผ่าตัด โดยตรวจดูได้จากภาพถ่ายรังสี จะพบ PDL space ที่
ต่อเนื่องตลอดรอบปลายรากฟน          ั
ภาวะแทรกซ้อนหลังการปลูกถ่ายฟั น9
                                              ั ่
            ทาให้เกิดการละลายของรากฟนซึงเกิดจากการกระทบกระเทือนเยือปริทนต์จาก surgical trauma ,ผิว
                                                                        ่ ั
        ั
รากฟนแห้งเกินไป หรือมี injury ต่อเคลือบรากฟน      ั
                                                      ่       ั                      ั ่
 1.Surface resorption ลักษณะทางภาพรังสีจะพบมีชองว่างปริทนต์ (PDL space) รอบ ๆ ฟนทีปลูกเป็ นปกติ
lamina dura ไม่มการขาดหาย และจะเห็นผิวขนาดเล็กทีมการละลาย ซึงตรวจพบทางภาพรังสีได้ภายใน
                 ี                                 ่ ี         ่
ระยะเวลา 1 ปี
                                                         ั
2. Inflammatory resorption ลักษณะทางภาพรังสีจะพบรากฟนมีการละลายอย่างต่อเนื่อง เห็นเป็ นเงาโปร่งรังสี
                          ั
รูปร่างคล้ายถ้วยบนผิวรากฟน อาจลามไปถึง lamina dura จะพบได้ในสัปดาห์ท่ี 3 หรือ 4
3. Replacement resorption (ankylosis) ลักษณะทางภาพรังสี พบว่า PDL space หายไปและจะเกิดการแทนที่
ด้วยกระดูก จะพบได้ในเดือนที่ 3 หรือ 4
                                                                        ั ้ื
4. Loss of marginal attachment เหงือกร่น พบได้น้อยอาจเกิดจากการวางหน่อฟนไว้ตนมากเกินไปในเบ้าฟน   ั


                                                     4
่                                                   ั
ทีเตรียมไว้ทาให้การสมานบาดแผลของขอบเหงือกกับเคลือบรากฟนเกิดขึนไม่ได้ทาให้เชือโรคเข้าไปตามขอบ
                                                             ้              ้
                              ั
เหงือกได้หรือเกิดจากการโยกของฟน




                                                 5
เอกสารอ้างอิ ง
1. Mendes RA. Et al. Mandibular third molar autotransplantation-Literature review with clinical cases. J Can
Dent Assoc 2004;70(11):761-6.
2. Frenken JW, Baart JA, Jovanovic A. Autotransplantation of premolars.A retrospective study. Int J Oral
Maxillofac Surg 1998; 27(3):181–5.
3. Cohen AS, Shen TC, Pogrel MA. Transplanting teeth successfully: autografts and allografts that work.
JADA 1995; 126(4):481-5.
4. Thomas S, Turner SR, Sandy JR. Autotransplantation of teeth: is therea role? Br J Orthod 1998;
25(4):275–82.
5. Tsukiboshi M. Autotransplantation of teeth.: requirements for predictable success. Dental traumatology
2002:18;157-180.
6. Andreasen JO, Paulsen HU, Yu Z, Bayer T, Schwartz O. A long-term study of 370 autotransplanted
premolars. Part II. Tooth survival and pulp healing subsequent to transplantation. Eur J Orthod 1990;
12(1):14-24.
7. Andreasen JO, Paulsen HU, Yu Z, Ahlquist R, Bayer T, Schwartz O.A long-term study of 370
autotransplanted premolars. Part I. Surgical procedures and standardized techniques for monitoring healing.
Eur J Orthod 1990; 12(1):3-13.
8. Andreasen JO, Paulsen HU, Yu Z, Bayer T. A long-term study of 370 autotransplanted premolars. Part IV.
Root development subsequent to transplantation. Eur J Orthod 1990; 12(1):38-50.
9. Andreasen JO, Paulsen HU, Yu Z, Schwartz O. A long-term study of 370 autotransplanted premolars.
Part III. Periodontal healing subsequent to transplantation. Eur J Orthod 1990; 12(1):25-37
                                ั
10. อรสา ไวคกุล.การปลูกถ่ายฟน:การวางแผนผ่าตัดและการประเมินผล.กรุงเทพมหานคร;โฮลิสติก พับลิชชิง.2545.    ่
11. Ewa M. et al. Outcome of tooth transplantation : survival and success rates 17-41 years
posttreatment.Am J Orthod Dentofacial Orthop 2002;121:110-9.
12. Kvint S. et al. Autotransplantation of teeth in 215 patients ; a follow-up study. Angle Orthod.2002;80:446-
451.




                                                       6

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ดระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ดNithimar Or
 
หลวงตาบัว
หลวงตาบัวหลวงตาบัว
หลวงตาบัวdentyomaraj
 
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 Pค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 Pdentyomaraj
 
Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011dentyomaraj
 
01 loads
01 loads01 loads
01 loadsELIMENG
 
Esthetic in Dentistry
Esthetic in DentistryEsthetic in Dentistry
Esthetic in Dentistrytechno UCH
 
ฟันปลอม
ฟันปลอมฟันปลอม
ฟันปลอมBallista Pg
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547dentyomaraj
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557techno UCH
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailanddentyomaraj
 
9789740335368
97897403353689789740335368
9789740335368CUPress
 
การดูแลผู้ป่วยทางศัลยกรรม
การดูแลผู้ป่วยทางศัลยกรรมการดูแลผู้ป่วยทางศัลยกรรม
การดูแลผู้ป่วยทางศัลยกรรมPeeradej Chaiyapan
 
เกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพ 2555 2
เกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพ 2555 2เกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพ 2555 2
เกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพ 2555 2Rajin Arora
 
Review literature vital pulp therapy
Review literature vital pulp therapyReview literature vital pulp therapy
Review literature vital pulp therapydentyomaraj
 

Andere mochten auch (20)

ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ดระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
 
หลวงตาบัว
หลวงตาบัวหลวงตาบัว
หลวงตาบัว
 
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 Pค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
 
Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011
 
Generealized cervical resorption case present
Generealized cervical resorption case presentGenerealized cervical resorption case present
Generealized cervical resorption case present
 
01 loads
01 loads01 loads
01 loads
 
16 prosth[1]
16 prosth[1]16 prosth[1]
16 prosth[1]
 
Emphysema from Cl V restoration
Emphysema from Cl V restorationEmphysema from Cl V restoration
Emphysema from Cl V restoration
 
Esthetic in Dentistry
Esthetic in DentistryEsthetic in Dentistry
Esthetic in Dentistry
 
Color in esthetic dentistry
Color in esthetic dentistryColor in esthetic dentistry
Color in esthetic dentistry
 
ฟันปลอม
ฟันปลอมฟันปลอม
ฟันปลอม
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
 
Casepresentgivenpdf
CasepresentgivenpdfCasepresentgivenpdf
Casepresentgivenpdf
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
 
9789740335368
97897403353689789740335368
9789740335368
 
การดูแลผู้ป่วยทางศัลยกรรม
การดูแลผู้ป่วยทางศัลยกรรมการดูแลผู้ป่วยทางศัลยกรรม
การดูแลผู้ป่วยทางศัลยกรรม
 
เกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพ 2555 2
เกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพ 2555 2เกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพ 2555 2
เกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพ 2555 2
 
Review literature vital pulp therapy
Review literature vital pulp therapyReview literature vital pulp therapy
Review literature vital pulp therapy
 
07
0707
07
 

Mehr von dentyomaraj

Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55dentyomaraj
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languagedentyomaraj
 
Ortho price list 2012
Ortho price list 2012Ortho price list 2012
Ortho price list 2012dentyomaraj
 
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284dentyomaraj
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น dentyomaraj
 
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาสามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาdentyomaraj
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักdentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑dentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓dentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัวdentyomaraj
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697dentyomaraj
 
โยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะโยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะdentyomaraj
 
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechการพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechdentyomaraj
 
Poster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgeryPoster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgerydentyomaraj
 
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้  roojPoster ฟันเทียมถอดได้  rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้ roojdentyomaraj
 
What goes around comes around
What goes around comes aroundWhat goes around comes around
What goes around comes arounddentyomaraj
 
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับdentyomaraj
 

Mehr von dentyomaraj (20)

Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai language
 
Ortho price list 2012
Ortho price list 2012Ortho price list 2012
Ortho price list 2012
 
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาสามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 
โยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะโยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะ
 
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechการพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
 
Poster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgeryPoster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgery
 
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้  roojPoster ฟันเทียมถอดได้  rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
 
What goes around comes around
What goes around comes aroundWhat goes around comes around
What goes around comes around
 
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
 

Mandibular third molar autotransplantation

  • 1. ทบทวนวรรณกรรม เรื่อง การปลูกถ่ายฟันให้ตนเอง (Autotranspantation) ั ั การปลูกถ่ายฟนให้ตนเอง (Autotranspantation) คือ การย้ายฟนจากทีหนึ่งไปปลูกอีกทีหนึ่งในช่องปากคน ่ ่ ั ้ ่ ั คนเดียวกัน บริเวณทีปลูกฟนนันอาจเป็ นบริเวณทีฟนถูกถอน หรือเบ้าฟนทีทาศัลยกรรมเพื่อรองรับการปลูกฟน1,2,3 ่ ั ่ ั ั ่ ั ่ ้ ่ ่ การปลูกฟนมักใช้แทนทีฟนทีหายไปในผูปวยทีอายุยงน้อย ซึงการใช้ implant ไม่ควรใช้ในผูปวยทีอายุน้อยทียงมีการ ั ่ ้ ่ ่ ่ ั ั พัฒนาของกระดูกรองรับรากฟน(alveolar bone) เนื่องจากอาจทาให้เกิด infraocclusion จากการเกิดความล้มเหลวใน การสร้างกระดูกรองรับรากฟนได้ ั ข้อบ่งชี้ในการปลูกฟั น(autotranspantation) 1,2,4 1. Impacted/Ectopic teeth 2. Premature tooth loss 3. Traumatic tooth loss ั 4. Replacement of developmentally absent teeth : ส่วนใหญ่ฟนซี่ mandibular second premolars และ ั ฟนซี่ maxiallary second premolars มักหายไป ั ่ ้ 5. Teeth with bad prognosis เช่น ฟนทีตองถอนเนื่องจาก caries หรือ periodontal disease โดยส่วนใหญ่ ั มักเป็ นฟนซี่ first permanent molar 6. Developmental anomalies of teeth and related syndromes เช่น tooth aplasia,cleidocranial dysplasia และ tooth agenesis ข้อดีของการปลูกฟัน1 ่ ี ั 1. อาจเป็ นทางเลือกทีดกว่าการใส่ฟนปลอมทังชนิดติดแน่นหรือถอดได้ ้ 2. ไม่จาเป็ นต้องกรอแต่งฟนข้างเคียง ั 3. ราคาถูก ข้อเสียของการปลูกฟัน1,5 1. ขันตอนทางศัลยกรรมยุงยากกว่าการถอนฟนธรรมดา ้ ่ ั 2. ทานายผลการรักษาได้ยาก ั 3. ภาวะแทรกซ้อนทีเกิดขึน(การละลายของรากฟน, การสูญเสียการยึดเกาะ) ทาให้เกิดการสูญเสียฟนตามมา ่ ้ ั ได้ ั ่ ั ฟนทีจะนาไปปลูกต้องมีรปร่างของตัวฟนและพัฒนาการของรากฟนทีเหมาะสม กรณีฟนทีจะย้ายไปปลูกยัง ู ั ่ ั ่ ั เจริญไม่เต็มที่ ควรมีการเจริญของรากฟนยาวประมาณ 2/3 หรือ 3/4 ซึงเป็ นระยะทีเหมาะสม ่ ่ และต้องแน่นพอดีและรากฟ ันต้องไม่แนบชิดจนเบียดกระดูกเบ้ารากฟนเพราะจะเกิดการชอกช้ากับรากฟนและการ ั ั กระแทกกับเนื้อเยือปริทนต์ ่ ั ่ ั บริเวณทีจะปลูกฟน ต้องมีขนาดเพียงพอทังในแนวใกล้กลาง-ไกลกลาง และ แนวใกล้แก้ม-ใกล้ลน และมี ้ ้ิ ั ่ กระดูกโดยรอบฟนทีปลูกอย่างน้อย 0.5 มม. โดยรอบและต้องไม่มการอักเสบ ี 5,7 เทคนิ คการทาศัลยกรรมปลูกถ่ายฟั น ู้ ่ 1. ให้ผปวยกินยา antibiotic ก่อนการผ่าตัด 1 ชัวโมง ่ 2.ฉีดยาชาทัง donor site และ recipient site ้ ั 3.ถอนฟนบริเวณ recipient site โดยระมัดระวังการทาอันตรายต่อบริเวณอวัยวะปริทนต์บริเวณเบ้ารากฟนให้น้อยทีสด ั ั ุ่ ถ้ามีพยาธิสภาพปลายรากฟน ให้กาจัดออก ั ั ่ 4. ถอนฟนทีจะนามาปลูก หลีกเลียงการทาอันตรายต่อ ตัวฟนและรากฟน โดยเฉพาะกรณีทฟนทีจะ ่ ั ั ่ี ั ่ ั ั ั นามาปลูกเป็ นฟนฝงคุด ไม่ควรใช้ elevator งัดฟนอย่างรุนแรง เนื่องจากจะทาอันตรายต่อเนื้อเยือปริทนต์ และเคลือบ ่ ั ั รากฟน โดยเฉพาะเยือบุหมรากเฮิรตวิก(Hertwig’s epithelial root sheath) ซึงเป็ นตัว ่ ุ้ ์ ่ 1
  • 2. กาหนดการเจริญเติบโตของรากฟนเพราะหากได้รบอันตรายรุนแรงฉีกขาดไปมาก การเจริญเติบโตของ ั 6 รากจะหยุดไป ่ ั ั ้ 5. เมือถอนฟนออกมาได้แล้วควรตรวจดูรากฟนทังรูปร่าง ขนาด และสภาพของเยือปริทนต์ และควร ่ ั ั ั ั ่ เก็บฟนไว้ในเบ้าฟนเดิม ในขณะทีเตรียมเบ้าฟนทีจะรับฟนปลูก ถ้ามีความจาเป็ นต้องเก็บฟนไว้นอก ่ ั ั ช่องปาก ควรเก็บไว้ใน Hank’s balanced salt solution เพือรักษาความมีชวตของเซลล์เยือปริทนต์ ่ ีิ ่ ั ั ั ่ 6. แต่งเบ้าฟนให้มขนาดใหญ่กว่าฟนทีจะปลูกเล็กน้อย โดยใช้หวกรอความเร็วต่าและพ่นด้วยน้าเกลือ ี ั ขณะกรอแต่ง ั ่ ั 7. นาฟนทีถอนไว้ไปใส่ในบริเวณทีจะทาการปลูกฟน ให้อยูต่ากว่าระดับระนาบสบของฟนข้างเคียงเล็กน้อย และไม่ ่ ่ ั สบกับฟนคู่สบ ั ั 8. เย็บเหงือกโดยรอบบริเวณฟนปลูกให้แน่น เพือป้องกันไม่ให้แบคทีเรียในช่องปาก ลงไปยังเบ้าฟนที ่ ั ปลูกได้ ั 9. ตรึงฟนให้อยูนิ่งกับที่ โดยใช้ suture splinting ถ้าฟนยังไม่แน่น อาจใช้ wire และ acid-etch ่ ั composite โดยควรรอประมาณ 2-3 วันหลังจากทา suture splinting เพราะถ้าทาในคราวเดียวกันยัง มีเลือดออกจากแผลมาก จะทาให้ไม่ได้ผลดีเท่าทีควร ่ ั ั ่ ิ 10.ตรวจระดับการสบฟน ต้องไม่มการสบฟนทีผดปกติและส่งตรวจทางภาพถ่ายรังสี เพือตรวจดู ี ่ ตาแหน่งของฟนปลูก ั 11. ใส่ surgical dressing (periodontal packing) เพือป้องกันการสัมผัสกับเชือโรคในช่องปากนาน 3-4 วัน ่ ้ 10 การดูแลผูป่วยหลังการผ่าตัดปลูกฟั น ้ ั - ให้รบประทานอาหารอ่อน และไม่ควรใช้ฟนข้างทีมฟนปลูกบดเคียว ในระยะ 1 เดือนแรกหลังผ่าตัด ั ่ ี ั ้ - ให้ดแลทาความสะอาดอย่างเคร่งครัด เพือลดความเสียงต่อการติดเชือ ู ่ ่ ้ - ให้ยาต้านจุลชีพ และยาแก้ปวด เหมือนการผ่าตัดฟนคุดในช่องปาก ั การนัดผูป่วยเพื่อติ ดตามและประเมิ นฟั นปลูก ้ Andreasen ได้กาหนดแนวทางการติดตามและประเมินฟนปลูกหลังผ่าตัดดังนี้ ั 1 สัปดาห์ ตัดไหม ถ่ายภาพรังสี 4 สัปดาห์ ถ่ายภาพรังสีอกครังเพือประเมินดูฟนทีมความเสียงสูงต่อการเกิด ี ้ ่ ั ่ ี ่ ั ั การละลายรากฟน ในรายทีตองรักษาคลองรากฟนให้กาจัดเนื้อเยือในออกให้หมดแล้วใส่แคลเซียมไฮดรอกไซด์ ่ ้ ่ 8 สัปดาห์ ตรวจทางคลินิกและถ่ายภาพรังสี 6 เดือน ตรวจทางคลินิกและถ่ายภาพรังสี ทดสอบความมีชวตของฟน เปลียนแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ีิ ั ่ หรืออุดคลองรากฟนถาวร ั 1 ปี ตรวจทางคลินิกและถ่ายภาพรังสี ทดสอบความมีชวตของฟน เปลียนแคลเซียมไฮ ีิ ั ่ ดรอกไซด์หรืออุดคลองรากฟนถาวร ั ข้อมูลจากคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึงได้ให้การผ่าตัดปลูกถ่ายฟนแก่ผป่วย ในปี พ.ศ.2534- ่ ั ู้ ั 2544 จานวน 78 รายเป็ นฟนปลูก 104 ซี่ ได้มการดูแลผูปวยดังนี้ ี ้ ่ 1 และ 3 วัน ั ตรวจดูสภาพของฟนปลูกและเนื้อเยือรอบฟนปลูก ล้างแผล ดูการยึดของไหม ่ ั 1 สัปดาห์ ตัดไหม ถ่ายภาพรังสี 2 สัปดาห์ ั ตรวจดูสภาพฟนปลูก ล้างแผล 2
  • 3. 1 เดือน ั ตรวจทางคลินิกและถ่ายภาพรังสี ในรายทีตองรักษาคลองรากฟนให้กาจัดเนื้อเยือ ่ ้ ่ ในออกให้หมดแล้วใส่แคลเซียมไฮดรอกไซด์ 3 เดือน ตรวจทางคลินิกและถ่ายภาพรังสี ทดสอบความมีชวตของเนื้อเยือใน ีิ ่ 6 เดือน ั ตรวจทางคลินิกและถ่ายภาพรังสี ทดสอบความมีชวตของฟน เปลียนแคลเซียมไฮ ีิ ่ ดรอกไซด์หรืออุดคลองรากฟนถาวร ั 1 ปี ตรวจทางคลินิกและถ่ายภาพรังสี ทดสอบความมีชวตของฟน ีิ ั การประเมิ นทางคลิ นิก สิ่ งที่ควรประเมิ นทางคลิ นิกมีดงต่อไปนี้ 9,10 ั ั ้ 1. ตาแหน่งของฟน ทังในแนวตังและแนวนอน ้ 2. การโยกของฟนปลูก ั 3. เคาะ ประเมินดู percussion tone เช่น high metallic sound ซึงแสดงถึงการเกิด ankylosis ่ 4. สภาพเหงือก และเนื้อเยื่อปริทนต์ เช่น วัด pocket depth โดยให้เริมวัดครังแรกในระยะ 3 เดือนหลัง ั ่ ้ ผ่าตัดเนื่องจากอวัยวะปริทนต์ทขนมาใหม่มความสมบูรณ์มากพอทีจะรับน้าหนักปกติได้ ั ่ี ้ึ ี ่ 5. การเชื่อมต่อระหว่างเหงือกกับฟนปลูก ั 6. การตอบสนองของเนื้อเยือต่อกระแสไฟฟ้า (EPT) ่ การตรวจทางภาพถ่ายรังสี สิ่ งที่ควรตรวจทางภาพถ่ายรังสี ได้แก่ 9,10 ั 1. กระดูกเบ้าฟน (alveolar bone) 2. เนื้อเยือปริทนต์ (periodontal ligament) ่ ั ั 3. ผิวกระดูกเบ้ารากฟน (lamina dura) ั ั 4. โพรงฟนและคลองรากฟน (dental pulp and pulp canal) เช่นประเมินการเกิดการตีบตันภายใน ั โพรงฟนส่วนใหญ่เกิดประมาณ 6 เดือนหลังผ่าตัด ั 5. การเจริญของปลายรากฟน (root development) การประเมิ นความสาเร็จ1 การประเมินทางคลินิก ได้แก่ ั - ฟนไม่โยก - สภาพเหงือกและเนื้อเยือปริทนต์ปกติ เช่น periodontal attachment level, pocket depths, ่ ั gingival contour และ gingival color อยูในสภาพปกติ่ การประเมินทางภาพถ่ายรังสี ได้แก่ - การ heal บริเวณ periapical ปกติไม่ม ี inflammatory pulpal change หรือ progressive root resorption -มีการเจริญของปลายรากฟน ั -พบ lamina dura (ผิวกระดูกเบ้ารากฟน)เป็ นปกติ ั ความสาเร็จในการรักษาและอัตราการคงอยู่ ั จากการศึกษาของ Andreasen และคณะในปี 1990 ซึงทาการปลูกฟนซี่ premolar ทังฟนทีมการสร้าง ่ ้ ั ่ ี ั ั ่ ั ั ่ ั ปลายรากฟนสมบูรณ์(มีการรักษาคลองรากฟนทีสปดาห์ท่ี 4)และฟนทียงสร้างปลายรากฟนไม่สมบูรณ์ ทังหมด ั ้ 3
  • 4. จานวน 370 ซีพบsurvival rate ทีระยะเวลา 5 ปี เท่ากับ 98 % และ : 95 % ่ ่ ่ ั จากการศึกษาของ Ewa และคณะในปี 2002 ซึงทาการติดตามผลการปลูกฟน 30 ซีทเี่ วลาประมาณ ่ 26 ปีภายหลังการรักษาพบว่า survival rate เท่ากับ 90 % และ success rate เท่ากับ 79% ่ ั จากการศึกษาของ Kvint และคณะในปี 2010 ซึงทาการติดตามผลการปลูกฟน 215 ซีทเี่ วลาประมาณ ่ 15 ปีภายหลังการรักษาพบว่า success rate เท่ากับ 81% (175 teeth) การเปลี่ยนแปลงของฟันและเนื้ อเยื่อรอบ ๆ หลังการปลูกฟัน6,10 ่ ั ่ ั เนื้อเยือประสาทฟน (dental pulp) เนื้อเยือประสาทฟน เป็ นส่วนทีมเี ลือดมาเลียงมาก มีความสาคัญในการสร้าง ้ ั ั เนื้อฟน การตอบสนองของฟนจะเพิมมากขึนตามระยะเวลาทีเพิมขึนโดยพบ Positive pulpal response ที่ ่ ้ ่ ่ ้ ระยะเวลา 8 สัปดาห์เท่ากับ 2% ทีระยะ 6 เดือนเท่ากับ 90 และทีระยะ 1 ปีเท่ากับ 95% นอกจากนี้ยงพบการ ่ ่ ั ั ตีบตันภายในโพรงฟน(Pulp canal obliteration) ซึงส่วนใหญ่เกิดประมาณ 6 เดือนหลังผ่าตัดแสดงถึงการที่ ่ pulp มีเลือดมาเลียงใหม่ ้ ั ่ การหายของ pulp ขึนกับการเจริญพัฒนาของรากฟนทีนาไปปลูก Andreasen และคณะ พบว่า ฟนที่ ้ ั รากสร้างสมบูรณ์และยังไม่สมบูรณ์จะมีการหายของ pulp เป็ น 15% และ 96% ตามลาดับ ถ้าพบว่ามีพยาธิ ้ ่ ั ่ ั สภาพเกิดขึนต้องเอาเนื้อเยือประสาทฟนออกและใส่ Ca(OH)2 เพือทาการรักษาคลองรากฟนต่อไป การตาย ของ pulp และการติดเชือทีเกิดตามมาเป็ นสาเหตุของ inflammatory resorption ได้ ดังนันการรักษาคลองราก ้ ่ ้ ั ั ฟนจะช่วยให้การปลูกฟนได้ผลดียงขึน ิ่ ้ เยือปริทนต์ (periodontium) ่ ั ุ่ ั ่ ั ปฏิกรยาของเยื่อปริทนต์มความสาคัญมากทีสด ฟนทีปลูกลงไปในเบ้ารากฟนจะมีการสร้าง ิิ ั ี cementum ใหม่ โดย cementoblast และจะมี reattachment ของเยือปริทนต์ใหม่ทเี่ กิดจาก granulation tissue ่ ั รอบ ๆ ราก ถ้ามีการติดเชือหรือการอักเสบจะเป็ นสาเหตุให้ขบวนการนี้ล่าช้าได้ การหายของเยือปริทนต์ใน ้ ่ ั ั ่ ฟนทีปลูกจะสมบูรณ์ภายใน 8 สัปดาห์ หลังการผ่าตัด โดยตรวจดูได้จากภาพถ่ายรังสี จะพบ PDL space ที่ ต่อเนื่องตลอดรอบปลายรากฟน ั ภาวะแทรกซ้อนหลังการปลูกถ่ายฟั น9 ั ่ ทาให้เกิดการละลายของรากฟนซึงเกิดจากการกระทบกระเทือนเยือปริทนต์จาก surgical trauma ,ผิว ่ ั ั รากฟนแห้งเกินไป หรือมี injury ต่อเคลือบรากฟน ั ่ ั ั ่ 1.Surface resorption ลักษณะทางภาพรังสีจะพบมีชองว่างปริทนต์ (PDL space) รอบ ๆ ฟนทีปลูกเป็ นปกติ lamina dura ไม่มการขาดหาย และจะเห็นผิวขนาดเล็กทีมการละลาย ซึงตรวจพบทางภาพรังสีได้ภายใน ี ่ ี ่ ระยะเวลา 1 ปี ั 2. Inflammatory resorption ลักษณะทางภาพรังสีจะพบรากฟนมีการละลายอย่างต่อเนื่อง เห็นเป็ นเงาโปร่งรังสี ั รูปร่างคล้ายถ้วยบนผิวรากฟน อาจลามไปถึง lamina dura จะพบได้ในสัปดาห์ท่ี 3 หรือ 4 3. Replacement resorption (ankylosis) ลักษณะทางภาพรังสี พบว่า PDL space หายไปและจะเกิดการแทนที่ ด้วยกระดูก จะพบได้ในเดือนที่ 3 หรือ 4 ั ้ื 4. Loss of marginal attachment เหงือกร่น พบได้น้อยอาจเกิดจากการวางหน่อฟนไว้ตนมากเกินไปในเบ้าฟน ั 4
  • 5. ั ทีเตรียมไว้ทาให้การสมานบาดแผลของขอบเหงือกกับเคลือบรากฟนเกิดขึนไม่ได้ทาให้เชือโรคเข้าไปตามขอบ ้ ้ ั เหงือกได้หรือเกิดจากการโยกของฟน 5
  • 6. เอกสารอ้างอิ ง 1. Mendes RA. Et al. Mandibular third molar autotransplantation-Literature review with clinical cases. J Can Dent Assoc 2004;70(11):761-6. 2. Frenken JW, Baart JA, Jovanovic A. Autotransplantation of premolars.A retrospective study. Int J Oral Maxillofac Surg 1998; 27(3):181–5. 3. Cohen AS, Shen TC, Pogrel MA. Transplanting teeth successfully: autografts and allografts that work. JADA 1995; 126(4):481-5. 4. Thomas S, Turner SR, Sandy JR. Autotransplantation of teeth: is therea role? Br J Orthod 1998; 25(4):275–82. 5. Tsukiboshi M. Autotransplantation of teeth.: requirements for predictable success. Dental traumatology 2002:18;157-180. 6. Andreasen JO, Paulsen HU, Yu Z, Bayer T, Schwartz O. A long-term study of 370 autotransplanted premolars. Part II. Tooth survival and pulp healing subsequent to transplantation. Eur J Orthod 1990; 12(1):14-24. 7. Andreasen JO, Paulsen HU, Yu Z, Ahlquist R, Bayer T, Schwartz O.A long-term study of 370 autotransplanted premolars. Part I. Surgical procedures and standardized techniques for monitoring healing. Eur J Orthod 1990; 12(1):3-13. 8. Andreasen JO, Paulsen HU, Yu Z, Bayer T. A long-term study of 370 autotransplanted premolars. Part IV. Root development subsequent to transplantation. Eur J Orthod 1990; 12(1):38-50. 9. Andreasen JO, Paulsen HU, Yu Z, Schwartz O. A long-term study of 370 autotransplanted premolars. Part III. Periodontal healing subsequent to transplantation. Eur J Orthod 1990; 12(1):25-37 ั 10. อรสา ไวคกุล.การปลูกถ่ายฟน:การวางแผนผ่าตัดและการประเมินผล.กรุงเทพมหานคร;โฮลิสติก พับลิชชิง.2545. ่ 11. Ewa M. et al. Outcome of tooth transplantation : survival and success rates 17-41 years posttreatment.Am J Orthod Dentofacial Orthop 2002;121:110-9. 12. Kvint S. et al. Autotransplantation of teeth in 215 patients ; a follow-up study. Angle Orthod.2002;80:446- 451. 6