SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 13
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
    (Hearing Impaired Children)
ความรู้ทั่วไปสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
          ประวัติความเป็นมาด้านการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้
ยิน การศึกษาสาหรับเด็กหูหนวกในประเทศไทย เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2494 โดย ม.ร.ว.
เสริมศรี เกษมศรี ซึ่งสาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยกอลอเดท (Gallaudet
College) วิทยาลัยทางศิลปศาสตร์แห่งแรก และแห่งเดียวสาหรับคนหูหนวก ได้
เปิดหน่วยทดลองสอนคนหูหนวกขึ้นเป็นครั้งแรกที่โรงเรียนวัดโสมนัส การสอนคนหู
หนวกในตอนนั้นเป็นการสอนพูดโดยใช้ท่าภาษามือประกอบ ต่อมาคุณหญิงกมลา ไกร
ฤกษ์ ได้สาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเดียวกันมาเป็นครูใหญ่โรงเรียนสอนคนหูหนวก
ดุสิต (ปัจจุบันคือโรงเรียนเศรษฐเสถียร) ได้รวบรวมภาษามือขึ้นเป็นหนังสือภาษามือ
ไทยขึ้น เพื่อใช้สอนคนหูหนวกในประเทศไทย โดยให้มีการสอนพูดรวมกับการใช้ภาษามือ
และการสะกดนิ้วมือร่วมกับการอ่านและการเขียนตามปกติ
ความหมาย

                 เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
       หมายถึงเด็กหูหนวก และ เด็กหูตึงเด็กหูหนวก
       เป็นเด็กที่สามารถได้ยินเสียงคนพูดน้อยมาก
       ใช้เครื่องช่วยฟังก็ไม่ได้ผล ซึ่งเด็กหูตึงเป็นเด็ก
       ที่สามารถได้ยินเสียงพูดบ้าง แต่ต้องใช้
       เครื่องช่วยฟัง ช่วยขยายเสียงให้ชัดเจนขึ้น
สาเหตุที่ทาให้หูพิการมาตั้งแต่เด็ก


ขณะที่แม่ตั้งครรภ์อาจได้รับเชื้อไวรัสหัดเยอรมัน เยื้อหุ้ม
สมองอักเสบ และซิฟิลิส
ขณะที่แม่ตั้งครรภ์อาจได้รับสารหรือยาที่เป็นอันตราย
กรรมพันธุ์
เด็กขาดออกซิเจนเป็นเวลานาน ในขณะทาคลอด
เด็กที่ต้องคลอดก่อนกาหนด
ประเภทของเด็กที่มีความบกพร่ องทางการได้ ยน
                                         ิ
          เด็กหูหนวก หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยิน 90 เดซิเบล
ขึ้นไป วัดด้วยเสียงบริสุทธิ์ ณ ความถี่ 500,1000 และ2,000
เฮิร์ท ในหูข้างที่ดีกว่า เด็กไม่สามารถใช้การได้ยินให้เป็นประโยชน์ได้
อย่างเต็มประสิทธิภาพ อาจเป็นผู้ทสูนเสียการได้ยินมาแต่กาเนิดหรือ
                                    ี่
สูญเสียการได้ยินภายหลังก็ตาม
          เด็กหูตึง หมายถึง เด็กที่สญเสียการได้ยินระหว่าง 26-89
                                       ู
เดซิเบล วัดด้วยเสียงบริสุทธิ์ ณ ความถี่ 500,1000 และ
2,000 เฮิร์ทเป็นเด็กที่สูญเสียการได้ยินเล็กน้อยไปจนถึงการ
สูญเสียการได้ยินขั้นรุนแรง
ระดับการได้ยิน
          ระดับที่ 1 หูปกติ (ไม่เกิน 25 เดซิเบล)ได้ยิน
เสียงพูดกระซิบเบา ๆ
          ระดับที่ 2 หูตึงเล็กน้อย (26-40 เดซิเบล)ไม่ได้
ยินเสียงพูดเบา ๆ แต่ได้ยินเสียงพูดปกติ อาจใช้
เครื่องช่วยฟังบางโอกาส เช่น เรียนหนังสือ
          ระดับที่ 3 หูตึงปานกลาง (41-55 เดซิเบล)
ไม่ได้ยินเสียงปกติ ต้องพูดดังกว่าปกติจึงจะได้ยิน
จาเป็นต้องใช้เครื่องช่วยฟังขณะพูดคุย
ระดับที่ 4 หูตึงมาก (56-70 เดซิเบล) พูดเสียงดังแล้วยัง
ไม่ได้ยิน จาเป็นต้องใช้เครื่องช่วยฟังตลอดเวลา
        ระดับที่ 5 หูตึงรุนแรง (71-90 เดซิเบล) ต้องตะโกนหรือใช้
เครื่องขยายเสียงจึงจะได้ยิน แต่ได้ยินไม่ชัด
        ระดับที่ 6 หูหนวก (91 เดซิเบลขึ้นไป) ตะโกนหรือใช้เครื่อง
ขยายเสียงแล้วยังไม่ได้ยิน และไม่เข้าใจความหมาย
ทาอย่างไรถึงจะรู้ว่าเด็กมีความพิการทางหู
          จากคาแนะนาของคุณหมอเด็ก จากโรงพยาบาลที่มีชื่อเสียงแห่ง
หนึ่ง กล่าวว่า ถ้าอยากจะรู้ว่าเด็กคนนั้นมีความผิดปกติทางหูหรือไม่นน ั้
ต้องอาศัยการตรวจอย่างละเอียด อย่างสม่าเสมอ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 1
ขวบ ซึงการตรวจเช็คนันจะมีปัจจัยหลายอย่างที่ทาให้คุณหมอทราบว่าเด็ก
        ่             ้
คนนันมีความพิการทางหูหรือไม่ แต่คุณแม่สามารถสังเกตจากพัฒนาการ
      ้
การได้ยินเสียงของลูกได้ คือ เด็กตั้งแต่แรกเกิด เมื่อได้ยนเสียงดัง เค้าจะ
                                                        ิ
ผวา อายุ 5 เดือน เค้าก็จะพยายามเปล่งเสียง อ้อ แอ้ เพื่อตอบสนองเวลา
เราพูดด้วย และอายุ 9 เดือน ลูกจะพยายามหันมองตามเสียงที่เราเรียก
ดังนั้น คุณแม่ควรเฝ้าดูและช่วยกระตุ้นพัฒนาการทางการฟังของลูกน้อย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งควรพาลูกไปรับวัคซีนและพบคุณหมออย่างสม่าเสมอ
วิธีการทีจะช่วยเด็กที่มีความพิการทางหู มี 2 วิธี
                ่
            การฝึกฟัง จะช่วยพัฒนาทักษะในการใช้ประสาทสัมผัส ในส่วนของการได้
ยินเสียงที่เหลืออยู่ให้เกิดประโยชน์มากที่สด อุปกรณ์ที่มีวามสาคัญมากที่สุดในการ
                                            ุ
ฝึกฟัง คือ เครืองช่วยฟัง ซึงจะทาหน้าที่ขยายเสียงให้ดงขึ้น โดยมีปุ่มสามารถปรับ
                ่            ่                        ั
เสียงดังค่อยได้ตามความต้องการ มีอยู่ 4 ประเภท แล้วแต่ความถนัดของผู้ใช้ คือ
      เครื่องช่วยฟังแบบใส่ในรูหู
      เครื่องช่วยฟังแบบทัดหู
      เครื่องช่วยฟังแบบติดกระเป๋าเสื้อ
      เครื่องช่วยฟังแบบแว่นตา
            การฝึกพูด เพื่อส่งเสริมให้เด็กเข้าใจในภาษาพูด และสามารถสื่อสารกับ
     ผู้อื่นได้
กระบวนการแบบสองภาษา
       กระบวนการแบบสองภาษา เป็นการจัดการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งสาหรับเด็กหู
หนวก ทาการสอนโดยครู 2 คน คือ ครูหูหนวก และครูที่มีการ ได้ยิน โดยครูหูหนวกจะเป็น
แบบอย่างของการใช้ภาษามือ เป็นผู้ที่ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ วิถีชีวิตของคนหูหนวก
ให้กับเด็กหูหนวก และครูที่มีการได้ยินจะเป็นแบบอย่างของการใช้ภาษาไทย ทั้งการเขียน
การอ่าน และการพูด โดยเด็กหูหนวกจะต้องเรียนภาษามือที่สอนโดยครูหูหนวก เป็นภาษา
แรกให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้ จนเด็กสามารถใช้ภาษามือได้อย่างดี และเรียนรู้ภาษาไทยเป็น
ภาษาที่สองโดยครูที่มีการได้ยิน ซึ่งการสอนภาษาโดยใช้วิธีการสอนแบบภาษาที่สอง โดยใช้
ภาษามือไทยเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ภาษาไทย การสอนภาษาไทยจะสอนจากการเขียน
การอ่าน หรือการพูด ขึ้นอยู่กับเด็กแต่ละคน สาหรับเด็กโต บางวิชาอาจจะสอนด้วยภาษามือ
โดยครูหูหนวก เช่น วิชา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคม โดยใช้เทคนิค การสอนที่
ตอบสนองความต้องการและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนหูหนวก
ปัจจุบันการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินใน
ประเทศไทย มี 2 แบบคือ
          1. การจัดการศึกษาพิเศษ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ
ตั้งแต่ระดับชันเด็กเล็กประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ใช้หลักสูตรของ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีการปรับปรุงให้เหมาะสมเพียงเล็กน้อย
          2. จัดการเรียนร่วมกับคนปกติ จัดให้เข้าเรียนในโรงเรียนเดียวกับเด็ก
ปกติ โดยมีครูพิเศษช่วยเหลือในด้านภาษาและการสื่อสาร
สมาชิกกลุ่ม

1.   นายคณิต            คนคม         รหัสนักศึกษา 53181400106
2.   นางสาวปรางทิพย์    นามปวน       รหัสนักศึกษา 53181400123
3.   นางสาวสุพัตรา      ปานาม        รหัสนักศึกษา 53181400143
4.   นางสาวสุมนทร์ตรา
              ิ         แจ่มใส       รหัสนักศึกษา 53181400144

                 สาขาวิชา คณิตศาสตร์ กลุ่ม 1

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ความพกพร่องทางการพูดและภาษา
ความพกพร่องทางการพูดและภาษาความพกพร่องทางการพูดและภาษา
ความพกพร่องทางการพูดและภาษา
guesta3f6cb
 
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
pairop
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
srkschool
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
bambookruble
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
NU
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
NooAry Diiz'za
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
kruood
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
DekDoy Khonderm
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
Attapon Phonkamchon
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
pacharawalee
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
Bigbic Thanyarat
 

Was ist angesagt? (20)

ความพกพร่องทางการพูดและภาษา
ความพกพร่องทางการพูดและภาษาความพกพร่องทางการพูดและภาษา
ความพกพร่องทางการพูดและภาษา
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 

Ähnlich wie เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน

การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
guest38049e7
 
การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)
guest3e689f
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
guestc9722c1
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
guest00db6d99
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
guest00db6d99
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
guestc9722c1
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
guest38049e7
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
guest38049e7
 
การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)
guest3e689f
 
การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)
guest3e689f
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
guest00db6d99
 
การได้ยิน(อ.นิป3)
การได้ยิน(อ.นิป3)การได้ยิน(อ.นิป3)
การได้ยิน(อ.นิป3)
guest00db6d99
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
Thipa Srichompoo
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
itnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
Itnog Kamix
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
Waree Wera
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
Pignoi Chimpong
 

Ähnlich wie เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน (20)

การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)
 
การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)การได้ยิน(อ.นิป)
การได้ยิน(อ.นิป)
 
การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)การได้ยิน(อ.นิป2)
การได้ยิน(อ.นิป2)
 
การได้ยิน(อ.นิป3)
การได้ยิน(อ.นิป3)การได้ยิน(อ.นิป3)
การได้ยิน(อ.นิป3)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plan
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
 

Mehr von Darika Roopdee

นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
Darika Roopdee
 
งานสังเกตรร.วังเหนือ
งานสังเกตรร.วังเหนืองานสังเกตรร.วังเหนือ
งานสังเกตรร.วังเหนือ
Darika Roopdee
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อน
Darika Roopdee
 
การสอนเด็กตาบอด211
การสอนเด็กตาบอด211การสอนเด็กตาบอด211
การสอนเด็กตาบอด211
Darika Roopdee
 
พฤติกรรมและอารมณ์1
พฤติกรรมและอารมณ์1พฤติกรรมและอารมณ์1
พฤติกรรมและอารมณ์1
Darika Roopdee
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1
Darika Roopdee
 
โครงการหนังสือทำมือ1
โครงการหนังสือทำมือ1โครงการหนังสือทำมือ1
โครงการหนังสือทำมือ1
Darika Roopdee
 
การ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาการ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอา
Darika Roopdee
 
แผนการ์ตูน
แผนการ์ตูนแผนการ์ตูน
แผนการ์ตูน
Darika Roopdee
 
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยากทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
Darika Roopdee
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
Darika Roopdee
 
เด็กออทิสติก
เด็กออทิสติกเด็กออทิสติก
เด็กออทิสติก
Darika Roopdee
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
Darika Roopdee
 

Mehr von Darika Roopdee (13)

นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
 
งานสังเกตรร.วังเหนือ
งานสังเกตรร.วังเหนืองานสังเกตรร.วังเหนือ
งานสังเกตรร.วังเหนือ
 
เด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อนเด็กพิการซ้ำซ็อน
เด็กพิการซ้ำซ็อน
 
การสอนเด็กตาบอด211
การสอนเด็กตาบอด211การสอนเด็กตาบอด211
การสอนเด็กตาบอด211
 
พฤติกรรมและอารมณ์1
พฤติกรรมและอารมณ์1พฤติกรรมและอารมณ์1
พฤติกรรมและอารมณ์1
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์1
 
โครงการหนังสือทำมือ1
โครงการหนังสือทำมือ1โครงการหนังสือทำมือ1
โครงการหนังสือทำมือ1
 
การ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาการ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอา
 
แผนการ์ตูน
แผนการ์ตูนแผนการ์ตูน
แผนการ์ตูน
 
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยากทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
เด็กออทิสติก
เด็กออทิสติกเด็กออทิสติก
เด็กออทิสติก
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง11
 

เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน

  • 2. ความรู้ทั่วไปสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ประวัติความเป็นมาด้านการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ ยิน การศึกษาสาหรับเด็กหูหนวกในประเทศไทย เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2494 โดย ม.ร.ว. เสริมศรี เกษมศรี ซึ่งสาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยกอลอเดท (Gallaudet College) วิทยาลัยทางศิลปศาสตร์แห่งแรก และแห่งเดียวสาหรับคนหูหนวก ได้ เปิดหน่วยทดลองสอนคนหูหนวกขึ้นเป็นครั้งแรกที่โรงเรียนวัดโสมนัส การสอนคนหู หนวกในตอนนั้นเป็นการสอนพูดโดยใช้ท่าภาษามือประกอบ ต่อมาคุณหญิงกมลา ไกร ฤกษ์ ได้สาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเดียวกันมาเป็นครูใหญ่โรงเรียนสอนคนหูหนวก ดุสิต (ปัจจุบันคือโรงเรียนเศรษฐเสถียร) ได้รวบรวมภาษามือขึ้นเป็นหนังสือภาษามือ ไทยขึ้น เพื่อใช้สอนคนหูหนวกในประเทศไทย โดยให้มีการสอนพูดรวมกับการใช้ภาษามือ และการสะกดนิ้วมือร่วมกับการอ่านและการเขียนตามปกติ
  • 3. ความหมาย เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน หมายถึงเด็กหูหนวก และ เด็กหูตึงเด็กหูหนวก เป็นเด็กที่สามารถได้ยินเสียงคนพูดน้อยมาก ใช้เครื่องช่วยฟังก็ไม่ได้ผล ซึ่งเด็กหูตึงเป็นเด็ก ที่สามารถได้ยินเสียงพูดบ้าง แต่ต้องใช้ เครื่องช่วยฟัง ช่วยขยายเสียงให้ชัดเจนขึ้น
  • 5. ประเภทของเด็กที่มีความบกพร่ องทางการได้ ยน ิ เด็กหูหนวก หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยิน 90 เดซิเบล ขึ้นไป วัดด้วยเสียงบริสุทธิ์ ณ ความถี่ 500,1000 และ2,000 เฮิร์ท ในหูข้างที่ดีกว่า เด็กไม่สามารถใช้การได้ยินให้เป็นประโยชน์ได้ อย่างเต็มประสิทธิภาพ อาจเป็นผู้ทสูนเสียการได้ยินมาแต่กาเนิดหรือ ี่ สูญเสียการได้ยินภายหลังก็ตาม เด็กหูตึง หมายถึง เด็กที่สญเสียการได้ยินระหว่าง 26-89 ู เดซิเบล วัดด้วยเสียงบริสุทธิ์ ณ ความถี่ 500,1000 และ 2,000 เฮิร์ทเป็นเด็กที่สูญเสียการได้ยินเล็กน้อยไปจนถึงการ สูญเสียการได้ยินขั้นรุนแรง
  • 6. ระดับการได้ยิน ระดับที่ 1 หูปกติ (ไม่เกิน 25 เดซิเบล)ได้ยิน เสียงพูดกระซิบเบา ๆ ระดับที่ 2 หูตึงเล็กน้อย (26-40 เดซิเบล)ไม่ได้ ยินเสียงพูดเบา ๆ แต่ได้ยินเสียงพูดปกติ อาจใช้ เครื่องช่วยฟังบางโอกาส เช่น เรียนหนังสือ ระดับที่ 3 หูตึงปานกลาง (41-55 เดซิเบล) ไม่ได้ยินเสียงปกติ ต้องพูดดังกว่าปกติจึงจะได้ยิน จาเป็นต้องใช้เครื่องช่วยฟังขณะพูดคุย
  • 7. ระดับที่ 4 หูตึงมาก (56-70 เดซิเบล) พูดเสียงดังแล้วยัง ไม่ได้ยิน จาเป็นต้องใช้เครื่องช่วยฟังตลอดเวลา ระดับที่ 5 หูตึงรุนแรง (71-90 เดซิเบล) ต้องตะโกนหรือใช้ เครื่องขยายเสียงจึงจะได้ยิน แต่ได้ยินไม่ชัด ระดับที่ 6 หูหนวก (91 เดซิเบลขึ้นไป) ตะโกนหรือใช้เครื่อง ขยายเสียงแล้วยังไม่ได้ยิน และไม่เข้าใจความหมาย
  • 8. ทาอย่างไรถึงจะรู้ว่าเด็กมีความพิการทางหู จากคาแนะนาของคุณหมอเด็ก จากโรงพยาบาลที่มีชื่อเสียงแห่ง หนึ่ง กล่าวว่า ถ้าอยากจะรู้ว่าเด็กคนนั้นมีความผิดปกติทางหูหรือไม่นน ั้ ต้องอาศัยการตรวจอย่างละเอียด อย่างสม่าเสมอ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 1 ขวบ ซึงการตรวจเช็คนันจะมีปัจจัยหลายอย่างที่ทาให้คุณหมอทราบว่าเด็ก ่ ้ คนนันมีความพิการทางหูหรือไม่ แต่คุณแม่สามารถสังเกตจากพัฒนาการ ้ การได้ยินเสียงของลูกได้ คือ เด็กตั้งแต่แรกเกิด เมื่อได้ยนเสียงดัง เค้าจะ ิ ผวา อายุ 5 เดือน เค้าก็จะพยายามเปล่งเสียง อ้อ แอ้ เพื่อตอบสนองเวลา เราพูดด้วย และอายุ 9 เดือน ลูกจะพยายามหันมองตามเสียงที่เราเรียก ดังนั้น คุณแม่ควรเฝ้าดูและช่วยกระตุ้นพัฒนาการทางการฟังของลูกน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งควรพาลูกไปรับวัคซีนและพบคุณหมออย่างสม่าเสมอ
  • 9. วิธีการทีจะช่วยเด็กที่มีความพิการทางหู มี 2 วิธี ่ การฝึกฟัง จะช่วยพัฒนาทักษะในการใช้ประสาทสัมผัส ในส่วนของการได้ ยินเสียงที่เหลืออยู่ให้เกิดประโยชน์มากที่สด อุปกรณ์ที่มีวามสาคัญมากที่สุดในการ ุ ฝึกฟัง คือ เครืองช่วยฟัง ซึงจะทาหน้าที่ขยายเสียงให้ดงขึ้น โดยมีปุ่มสามารถปรับ ่ ่ ั เสียงดังค่อยได้ตามความต้องการ มีอยู่ 4 ประเภท แล้วแต่ความถนัดของผู้ใช้ คือ  เครื่องช่วยฟังแบบใส่ในรูหู  เครื่องช่วยฟังแบบทัดหู  เครื่องช่วยฟังแบบติดกระเป๋าเสื้อ  เครื่องช่วยฟังแบบแว่นตา การฝึกพูด เพื่อส่งเสริมให้เด็กเข้าใจในภาษาพูด และสามารถสื่อสารกับ ผู้อื่นได้
  • 10. กระบวนการแบบสองภาษา กระบวนการแบบสองภาษา เป็นการจัดการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งสาหรับเด็กหู หนวก ทาการสอนโดยครู 2 คน คือ ครูหูหนวก และครูที่มีการ ได้ยิน โดยครูหูหนวกจะเป็น แบบอย่างของการใช้ภาษามือ เป็นผู้ที่ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ วิถีชีวิตของคนหูหนวก ให้กับเด็กหูหนวก และครูที่มีการได้ยินจะเป็นแบบอย่างของการใช้ภาษาไทย ทั้งการเขียน การอ่าน และการพูด โดยเด็กหูหนวกจะต้องเรียนภาษามือที่สอนโดยครูหูหนวก เป็นภาษา แรกให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้ จนเด็กสามารถใช้ภาษามือได้อย่างดี และเรียนรู้ภาษาไทยเป็น ภาษาที่สองโดยครูที่มีการได้ยิน ซึ่งการสอนภาษาโดยใช้วิธีการสอนแบบภาษาที่สอง โดยใช้ ภาษามือไทยเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ภาษาไทย การสอนภาษาไทยจะสอนจากการเขียน การอ่าน หรือการพูด ขึ้นอยู่กับเด็กแต่ละคน สาหรับเด็กโต บางวิชาอาจจะสอนด้วยภาษามือ โดยครูหูหนวก เช่น วิชา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคม โดยใช้เทคนิค การสอนที่ ตอบสนองความต้องการและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนหูหนวก
  • 11. ปัจจุบันการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินใน ประเทศไทย มี 2 แบบคือ 1. การจัดการศึกษาพิเศษ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่ระดับชันเด็กเล็กประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ใช้หลักสูตรของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีการปรับปรุงให้เหมาะสมเพียงเล็กน้อย 2. จัดการเรียนร่วมกับคนปกติ จัดให้เข้าเรียนในโรงเรียนเดียวกับเด็ก ปกติ โดยมีครูพิเศษช่วยเหลือในด้านภาษาและการสื่อสาร
  • 12.
  • 13. สมาชิกกลุ่ม 1. นายคณิต คนคม รหัสนักศึกษา 53181400106 2. นางสาวปรางทิพย์ นามปวน รหัสนักศึกษา 53181400123 3. นางสาวสุพัตรา ปานาม รหัสนักศึกษา 53181400143 4. นางสาวสุมนทร์ตรา ิ แจ่มใส รหัสนักศึกษา 53181400144 สาขาวิชา คณิตศาสตร์ กลุ่ม 1