SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 78
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โครงสรางวิชาภาษาไทย
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย                                                       ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง
สาระที่ 1 การอาน
มาตรฐาน ท.1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรัก
การอาน

                                                                        สาระการเรียนรูแกนกลาง
  รหัสตัวชี้วัด          ตัวชี้วัดขอที่                    ภาคเรียนที่ 1                        ภาคเรียนที่ 2
ท 1.1 ม.1/1       1. อานออกเสียงบทรอย             การอานออกเสียง                      การอานออกเสียง
                  แกวและบทรอยกรองได          ประกอบดวย                          ประกอบดวย
                  ถูกตองเหมาะสมกับเรื่องที่        - บทรอยแกวที่เปนบท                - บทรอยแกวที่เปนบท
                  อาน                              บรรยาย                               บรรยาย
                                                     - บทรอยกรอง เชน กลอน               - บทรอยกรอง เชน
                                                สุภาพ                                       กาพยยานี 11
                                                      กลอนสักวา และโคลงสี่                  กาพยฉบับ 16
                                                สุภาพ                                       กาพยสุรางคนางค 28
ท 1.1ม.1/2-4      2. จับใจความสําคัญจาก             การอานจับใจความจากสื่อ              การอานจับใจความจากสื่อ
                   เรื่องที่อาน                ตางๆ                               ตางๆ
                  3. ระบุเหตุและผล และ               เชน                               เชน
                       ขอเท็จจริงกับขอคิดเห็น     - วรรณคดีในบทเรียน                   - วรรณคดีในบทเรียน
                       จากเรื่องที่อาน             - นิทานชาดก                          - เรื่องสั้น
                  4. ระบุและอธิบายคํา               - เรื่องเลาจากประสบการณ            - บทสนทนา
                       เปรียบเทียบ และคําที่มี                                           - งานเขียนเชิงสรางสรรค
                       หลายความหมายใน
                       บริบทตางๆ จากการอาน
สาระการเรียนรูแกนกลาง
  รหัสตัวชี้วัด           ตัวชี้วัดขอที่                 ภาคเรียนที่ 1                    ภาคเรียนที่ 2
ท 1.1 ม.1/5       5. ตีความคํายากในเอกสาร           ตีความคํายากในเอกสาร              ตีความคํายากในเอกสาร
                     วิชาการ โดยพิจารณา         วิชาการ เชน                     วิชาการ เชน
                     จากบริบท                      - บทความ                           - บทความ
                                                    - เอกสารทางวิชาการที่มีคํา        - เอกสารทางวิชาการที่มีคํา
                                                ประโยค และขอความที่ตองใช ประโยค และขอความที่ตองใช
                                                บริบท                            บริบท
ท 1.1 ม.1/6       6. ระบุขอสังเกตและความ           งานเขียนประเภทชักจูง              งานเขียนประเภทชักจูง
                      สมเหตุสมผลของงาน             โนมนาวใจเชิงสรางสรรค           โนมนาวใจเชิงสรางสรรค
                      เขียนประเภทชักจูง
                      โนมนาวใจ
ท 1.1 ม.1/8       8. วิเคราะหคุณคาที่ไดรับ       หนังสืออานที่ครูและนักเรียน    หนังสือที่นักเรียนสนใจและ
                      จากการอานงานเขียน        กําหนดรวมกัน                    เหมาะสมกับวัย
                      อยางหลากหลายเพื่อ
                      นําไปใชแกปญหาใน
                      ชีวิต
ท 1.1 ม.1/9       9. มีมารยาทในการอาน             มารยาทในการอาน                   มารยาทในการอาน


สาระที่ 2      การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงาน
ขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

                                                                       สาระการเรียนรูแกนกลาง
  รหัสตัวชี้วัด           ตัวชี้วัดขอที่                  ภาคเรียนที่ 1                      ภาคเรียนที่ 2
ท 2.1 ม.1/1       1. คัดลายมือตัวบรรจง              การคัดลายมือตัวบรรจง                การคัดลายมือตัวบรรจง
                     ครึ่งบรรทัด                   ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ             ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ
                                                เขียน                              เขียน
                                                   ตัวอักษรไทย                         ตัวอักษรไทย
ท 2.1 ม.1/2       2. เขียนสื่อสารโดยใช             การเขียนสื่อสาร เชน                            -
                  ถอยคําถูกตองชัดเจน             - การเขียนแนะนําตนเอง
                  เหมาะสม และสละสลวย               - การเขียนแนะนําสถานที่
                                                      สําคัญๆ
                                                   - การเขียนบนสื่อ
                                                อิเล็กทรอนิกส
ท 2.1 ม.1/3       3. เขียนบรรยาย                                 -                      การบรรยายประสบการณ
ประสบการณ
                  โดยระบุสาระสําคัญและ
                  รายละเอียดสนับสนุน
ท 2.1 ม.1/4       4. เขียนเรียงความ                      การเขียนเรียงความเชิง          การเขียนเรียงความเชิง
                                                     พรรณนา                           พรรณนา
ท 2.1 ม.1/5       5. เขียนยอความจากเรื่อง               การเขียนยอความจากสื่อ                     -
                     ที่อาน                         ตางๆ
                                                        เชน เรื่องสั้น เรื่องเลา
                                                        ประสบการณ
ท 2.1 ม.1/6       6. เขียนแสดงความคิดเห็น                              -                   การเขียนแสดงความคิดเห็น
                  เกี่ยวกับสาระจากสื่อที่ไดรับ                                      เกี่ยวกับสาระจากสื่อตางๆ เชน
                                                                                         - ขาวและเหตุการณประจําวัน
                                                                                         - เหตุการณสําคัญตางๆ
                                                                                         - หนังสือที่นักเรียนสนใจ
                                                                         สาระการเรียนรูแกนกลาง
  รหัสตัวชี้วัด           ตัวชี้วัดขอที่                    ภาคเรียนที่ 1                      ภาคเรียนที่ 2
ท 2.1 ม.1/7       7. เขียนจดหมายสวนตัว                 การเขียนจดหมายสวนตัว               การเขียนจดหมายกิจธุระ
                  และ                                   - จดหมายขอความชวยเหลือ           - จดหมายสอบถามขอมูล
                      จดหมายกิจธุระ                     - จดหมายแนะนํา

ท 2.1 ม.1/8       8. เขียนรายงานการศึกษา                การเขียนรายงาน ไดแก            การเขียนรายงาน ไดแก
                     คนควาและโครงงาน                 - การเขียนรายงานจาก              - การเขียนรายงานโครงงาน
                                                     การศึกษา
                                                         คนควา
ท 2.1 ม.1/9       9. มีมารยาทในการเขียน                 มารยาทในการเขียน                 มารยาทในการเขียน

สาระที่ 3           การฟง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมี
วิจารณญาณและสรางสรรค

                                                                                  สาระการเรียนรูแกนกลาง
  รหัสตัวชี้วัด              ตัวชี้วัดขอที่                         ภาคเรียนที่ 1                      ภาคเรียนที่ 2
ท 3.1 ม.1/1-3      1. พูดสรุปใจความสําคัญของ                การพูดสรุปความ พูดแสดง                            -
                   เรื่องที่ฟงและดู                     ความรู ความคิดอยางสรางสรรค
                   2. เลาเรื่องยอจากเรื่องที่ฟง       จากเรื่องที่ฟงและดู
                   และดู
                   3. พูดแสดงความคิดเห็นอยาง
สรางสรรคเกี่ยวกับเรื่องที่ฟง
                   และดู
ท 3.1 ม.1/4        4. ประเมินความนาเชื่อถือของ                    -                     การพูดประเมินความนาเชื่อถือ
                   สื่อที่มีเนื้อหาโนมนาวใจ                                         ของสื่อที่มีเนื้อหาโนมนาว




ท 3.1 ม.1/5        5. พูดรายงานเรื่องหรือ                          -                      การพูดรายงานการศึกษาคนควา
                       ประเด็นที่ศึกษาคนควาจาก
                      การฟง การดูและการ
                      สนทนา
ท 3.1 ม.1/6        6. มีมารยาทในการฟง การดู            มารยาทในการฟง การดู และ          มารยาทในการฟง การดู และ
                      และการพูด                        การพูด                            การพูด

สาระที่ 4      หลักการใชภาษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิ ปญญาทางภาษา
และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

                                                                   สาระการเรียนรูแกนกลาง
  รหัสตัวชี้วัด           ตัวชี้วัดขอที่                  ภาคเรียนที่ 1               ภาคเรียนที่ 2
ท 4.1 ม.1/1       1. อธิบายลักษณะของเสียงใน          เสียงในภาษาไทย                          -
                     ภาษาไทย
ท 4.1 ม.1/2       2. สรางคําในภาษาไทย                         -                    การสรางคํา
                                                                                   - คําประสม คําซ้ํา คําซอน
                                                                                    - คําพอง
ท 4.1 ม.1/3       3. วิเคราะหชนิดและหนาที่    ชนิดและหนาที่ของคํา                          -
                  ของคําในประโยค
ท 4.1 ม.1/4       4. วิเคราะหความแตกตางของ                -                       ภาษาพูด
                  ภาษาพูดและภาษาเขียน                                               ภาษาเขียน
ท 4.1 ม.1/5       5. แตงบทรอยกรอง                         -                       กาพยยานี 11
ท 4.1 ม.1/6       6. จําแนกและใชสํานวนที่      สํานวนที่เปนคําพังเพยและ                     -
                  เปน คําพังเพยและสุภาษิต   สุภาษิต
สาระที่ 5      วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิต
จริง

                                                                   สาระการเรียนรูแกนกลาง
  รหัสตัวชี้วัด          ตัวชี้วัดขอที่               ภาคเรียนที่ 1                      ภาคเรียนที่ 2
ท 5.1 ม.1/1-4     1. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและ        สรุปเนื้อหาการวิเคราะห            สรุปเนื้อหาการวิเคราะห
                  วรรณกรรมที่อาน            คุณคา                            คุณคา
                  2. วิเคราะหวรรณคดีและ        และขอคิดจากวรรณคดีและ             และขอคิดจากวรรณคดีและ
                  วรรณกรรม ที่อานพรอม         วรรณกรรมที่เกี่ยวกับ               วรรณกรรมที่เกี่ยวกับ
                  ยกเหตุผลประกอบ                - บันทึกการเดินทาง                 - บันเทิงคดี
                  3. อธิบายคุณคาของ            - ศาสนา                            - สุภาษิตคําสอน
                  วรรณคดี แลวรรณกรรมที่        - ประเพณี                           - เหตุการณประวัติศาสตร
                  อาน                         - พิธีกรรม                         - วรรณกรรมทองถิ่น
                  4. สรุปความรูและขอคิด
                  จากการอานเพื่อประยุกตใช
                  ในชีวิตจริง
ท 5.1 ม.1/5       5. ทองจําบทอาขยานตามที่        บทอาขยานและบทรอย                  บทอาขยานและบทรอย
                  กําหนดและบทรอยกรองที่ กรองที่มีคุณคา                       กรองที่มีคุณคา
                  มีคุณคาตามความสนใจ           - บทอาขยานตามที่กําหนด             - บทอาขยานตามความสนใจ
โครงสรางวิชาภาษาไทย
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย         รายวิชา ท 22101 ภาษาไทย          ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง
สาระที่ 1 การอาน
มาตรฐานที่ 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการ
อาน
     รหัส                         ตัวชี้วัดขอที่                               สาระการเรียนแกนกลาง
   ตัวชี้วัด
 ท 1.1ม.2/1 1.อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง                     • การอานออกเสียงประกอบดวย
               ไดถูกตอง                                       -บทรอยแกวที่เปนบทบรรยายและบทสนทนา
                                                                -บทรอยกรองเชนกลอนบทละคร กลอนนิทาน
 ท 1.1ม.2/2 2.จับใจความสําคัญ สรุปความ และอธิบาย                      • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน
               รายละเอียดจากเรื่องที่อาน                       วรรณคดีในบทเรียน บทความ บันทึกเหตุการณ บท
                                                                สนทนา และเรื่องราวจากบทเรียนในกลุมสาระการ
                                                                เรียนรูภาษาไทยและกลุมสาระการเรียนรูอื่น
 ท 1.1ม.2/3 3.เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเขาใจในบทเรียน             • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน
               ตางๆที่อาน                                     วรรณคดีในบทเรียน บันทึกเหตุการณ บทโฆษณา
 ท 1.1ม.2/7 7.อานหนังสือ บทความ หรือคําประพันธอยาง                 • การอานตามความสนใจเชนหนังสืออานนอก
               หลากหลายและประเมินคุณคาหรือแนวคิดที่ไดจาก                เวลา
               การอานเพื่อนําไปใชแกปญหาในชีวิต
 ท 1.1ม.2/8 8.มีมารยาทในการอาน                                       • มารยาทในการอาน

สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐานที่ 2.1 ใชกระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูล
สารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ
    รหัส                        ตัวชี้วัดขอที่                                 สาระการเรียนแกนกลาง
  ตัวชี้วัด
 ท 2.1ม.2/1 1.คัดลายมือดวยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด                         • การคัดลายมือดวยตัวบรรจงครึ่ง
                                                                 บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย
 ท 2.1ม.2/2 2.เขียนบรรยายและพรรณนา                                     • การเขียนบรรยายและพรรณนา
 ท 2.1ม.2/3 3.เขียนเรียงความ                                           • การเขียนเรียงความเกี่ยวกับประสบการณ
 ท 2.1ม.2/4 4.เขียนยอความ                                             • การเขียนยอความจากสื่อตางๆเชน
                                                                 นิทาน คําสอน บทความทางวิชาการ บันทึกเหตุการณ
                                                                 เรื่องราวในบทเรียนในกลุมสาระการเรียนรูอื่น นิทาน
                                                                 ชาดก
 ท 2.1ม.2/5 5.เขียนรายงานการศึกษาคนควา                               • การเขียนรายงานจากการศึกษาคนควา
ท 2.1ม.2/6   6.เขียนจดหมายกิจธุระ                                  •     การเขียนจดหมายกิจธุระ จดหมายเชิญ
                                                                วิทยากร จดหมายขอความอนุเคราะห
 ท 2.1ม.2/7   7.เขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรู ความ           • การเขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดง
              คิดเห็น หรือโตแยงในเรื่องที่อานอยางมีเหตุผล   ความรู ความคิดเห็น หรือโตแยงจากสื่อตางๆเชน
                                                                บทความ บทเพลง หนังสืออานนอกเวลา
 ท 2.1ม.2/8   8.มีมารยาทในการเขียน                                   • มารยาทในการเขียน

สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด
มาตรฐานที่ 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆอยางมี
วิจารณญาณและสรางสรรค
    รหัส                         ตัวชี้วัดขอที่                               สาระการเรียนแกนกลาง
   ตัวชี้วัด
 ท 3.1ม.2/1 1.พูดสรุปใจความสําคัญของเรื่องที่ฟงและดู                • การพูดสรุปใจความสําคัญของเรื่องที่ฟงและ
                                                                          ดู
 ท 3.1ม.2/2 2.วิเคราะหขอเท็จจริง ขอคิดเห็น และความนาเชื่อถือ     • การพูดวิเคราะหและวิจารณ จากเรื่องที่
               ของขาวสารจากสื่อตางๆ                            ฟงและดู
 ท 3.1ม.2/5 5.พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการ        • การพูดรายงานจากการศึกษาคนควาจาก
               ฟง การดู และการสนทนา                                      แหลงเรียนรูตางๆ
 ท 3.1ม.2/6 6.มีมารยาทในการฟง การดู                                 • มารยาทในการฟง การดูและการพูด

สาระที่ 4 หลักการใชภาษาไทย
มาตรฐานที่ 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา
และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ
    รหัส                         ตัวชี้วัดขอที่                          สาระการเรียนแกนกลาง
  ตัวชี้วัด
 ท 4.1ม.2/1 1.สรางคําในภาษาไทย                                  • การสรางคําสมาส
 ท 4.1ม.2/3 3.แตงบทรอยกรอง                                     • กลอนสุภาพ
 ท 4.1ม.2/5 5.รวบรวมและอธิบายความหมายของคําใน                    • คําที่มาจากภาษาตางประเทศ
               ภาษาตางประเทศที่ใชในภาษาไทย
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐานที่ 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิต
จริง
     รหัส                       ตัวชี้วัดขอที่                             สาระการเรียนแกนกลาง
   ตัวชี้วัด
 ท 5.1ม.2/1 1.สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อานในระดับ         • วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ
               ที่ยากขึ้น                                     ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิต คําสอน เหตุการณ
                                                              ประวัติศาสตร บันเทิงคดี บันทึกการเดินทาง
 ท 5.1ม.2/2 2.วิเคราะหและวิจารณวรรณคดี วรรณกรรม และ             • วิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี
               วรรณกรรมทองถิ่นที่อานพรอมยกเหตุผลประกอบ     วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่น
 ท 5.1ม.2/3 3.อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน            • วิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี
                                                              วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่น
 ท 5.1ม.2/4 4.สรุปความรูและขอคิดจากการอานไปประยุกตใชใน       • วิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี
               ชีวิตจริง                                      วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่น
 ท 5.1ม.2/5 5.ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรองที่         • บทอาขยานและบทรอยกรองตามที่
               มีคุณคาตามความสนใจ                            กําหนด
โครงสรางวิชาภาษาไทย
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย        รายวิชา ท 22102 ภาษาไทย          ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง
สาระที่ 1 การอาน
มาตรฐานที่ 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการ
อาน
     รหัส                         ตัวชี้วัดขอที่                                สาระการเรียนแกนกลาง
   ตัวชี้วัด
 ท 1.1ม.2/1 1.อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง                     • การอานออกเสียงประกอบดวย
               ไดถูกตอง                                       -บทรอยแกวที่เปนบทบรรยายและบทสนทนา
                                                                -บทรอยกรองเชนกลอนเพลงยาว และกาพยหอโคลง
 ท 1.1ม.2/4 4.อภิปรายแสดงความคิดเห็นและขอโตแยงเกี่ยวกับ            • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน
               เรื่องที่อาน                                              บทความ บันทึกเหตุการณ บทโฆษณา งาน
                                                                          เขียนประเภทโนมนาวใจ งานเขียนหรือ
                                                                          บทความแดงขอเท็จจริง เรื่องราวจาก
                                                                          บทเรียนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
                                                                          และกลุมสาระการเรียนรูอื่น
 ท 1.1ม.2/5 5.วิเคราะหจําแนกขอเท็จจริงขอมูลสนับสนุน และ            • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน
               ขอคิดเห็นจากบทความที่อาน                                 วรรณคดีในบทเรียน บทความ บทสนทนา
                                                                          บทโฆษณา งานเขียนหรือบทความแสดง
                                                                          ขอเท็จจริง
 ท 1.1ม.2/6 6.ระบุขอสังเกตการชวนเชื่อ การโนมนาว หรือความ           • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชนบท
               สมเหตุสมผลของงานเขียน                                      โฆษณา งานเขียนประเภทโนมนาวใจ งาน
                                                                          เขียนหรือบทความแสดงขอเท็จจริง
 ท 1.1ม.2/7 7.อานหนังสือ บทความ หรือคําประพันธอยาง                 • การอานตามความสนใจเชนหนังสือ
               หลากหลายและประเมินคุณคาหรือแนวคิดที่ไดจาก                ที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย
               การอานเพื่อนําไปใชแกปญหาในชีวิต                      หนังสือที่ครูและนักเรียนกําหนดรวม
 ท 1.1ม.2/8 8.มีมารยาทในการอาน                                       • มารยาทในการอาน
สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐานที่ 2.1 ใชกระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูล
สารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ
    รหัส                           ตัวชี้วัดขอที่                              สาระการเรียนแกนกลาง
  ตัวชี้วัด
 ท 2.1ม.2/1 1.คัดลายมือดวยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด                         • การคัดลายมือดวยตัวบรรจงครึ่ง
                                                                 บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย
 ท 2.1ม.2/2 2.เขียนบรรยายและพรรณนา                                     • การเขียนบรรยายและพรรณนา
 ท 2.1ม.2/3 3.เขียนเรียงความ                                           • การเขียนเรียงความเกี่ยวกับประสบการณ
 ท 2.1ม.2/4 4.เขียนยอความ                                             • การเขียนยอความจากสื่อตางๆเชน
                                                                 นิทาน คําสอน บทความทางวิชาการ บันทึกเหตุการณ
                                                                 เรื่องราวในบทเรียนในกลุมสาระการเรียนรูอื่น นิทาน
                                                                 ชาดก
 ท 2.1ม.2/5 5.เขียนรายงานการศึกษาคนควา                               • การเขียนรายงานโครงงาน
 ท 2.1ม.2/7 7.เขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรู ความ               • การเขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรู
               คิดเห็น หรือโตแยงในเรื่องที่อานอยางมีเหตุผล              ความคิดเห็น หรือโตแยงจากสื่อตางๆเชน
                                                                            สารคดี บันเทิงคดี
 ท 2.1ม.2/8 8.มีมารยาทในการเขียน                                       • มารยาทในการเขียน

สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด
มาตรฐานที่ 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆอยางมี
วิจารณญาณและสรางสรรค
    รหัส                           ตัวชี้วัดขอที่                            สาระการเรียนแกนกลาง
   ตัวชี้วัด
 ท 3.1ม.2/3 3.วิเคราะหและวิจารณ เรื่องที่ฟงและดูอยางมีเหตุผล     • การพูดวิเคราะหและวิจารณ จากเรื่องที่ฟง
               เพื่อนําขอคิดมาประยุกตใชในการดําเนินชีวิต              และดู
 ท 3.1ม.2/4 4.พูดในโอกาสตางๆไดตรงตามวัตถุประสงค                   • การพูดในโอกาสตางๆเชนการพูดอวยพร
                                                                 การพูดโนมนาว การพูดโฆษณา
 ท 3.1ม.2/6 6.มีมารยาทในการฟง การดู                                 • มารยาทในการฟง การดูและการพูด
สาระที่ 4 หลักการใชภาษาไทย
มาตรฐานที่ 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา
และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ
    รหัส                         ตัวชี้วัดขอที่                         สาระการเรียนแกนกลาง
  ตัวชี้วัด
 ท 4.1ม.2/2 2.วิเคราะหโครงสรางประโยคสามัญ ประโยครวม            • ลักษณะประโยคในภาษาไทยประโยคสามัญ
               และประโยคซอน                                         ประโยครวมและประโยคซอน
 ท 4.1ม.2/4 4.ใชคําราชาศัพท                                    • คําราชาศัพท

สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐานที่ 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิต
จริง
     รหัส                       ตัวชี้วัดขอที่                            สาระการเรียนแกนกลาง
   ตัวชี้วัด
 ท 5.1ม.2/1 1.สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อานในระดับ         • วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ
               ที่ยากขึ้น                                           ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิต
                                                                    คําสอน เหตุการณประวัติศาสตร
                                                                    บันเทิงคดี บันทึกการเดินทาง
 ท 5.1ม.2/2 2.วิเคราะหและวิจารณวรรณคดี วรรณกรรม และ             • วิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี
               วรรณกรรมทองถิ่นที่อานพรอมยกเหตุผลประกอบ            วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่น
 ท 5.1ม.2/3 3.อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน            • วิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี
                                                                     วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่น
 ท 5.1ม.2/4 4.สรุปความรูและขอคิดจากการอานไปประยุกตใชใน       • วิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี
               ชีวิตจริง                                             วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่น
 ท 5.1ม.2/5 5.ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรองที่         • บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคาตาม
               มีคุณคาตามความสนใจ                                   ความสนใจ
โครงสรางวิชาภาษาไทย
 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย                                                           ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง
 สาระที่ 1 การอาน
 มาตรฐาน 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการ
 อาน
                                                                   สาระการเรียนรูแกนกลาง
 รหัสตัวชี้วัด               ตัวชี้วัดขอที่
                                                        ภาคเรียนที่ 1                      ภาคเรียนที่ 2
ท3.1 ม.3/1      1. อานออกเสียงบทรอยแกวและ -อานออกเสียงประกอบดวย            -อานออกเสียงระกอบดวย
                บทรอยกรองไดถูกตองเหมาะสม 1.บทรอยแกวที่เปนบทความ           1.บทรอยแกวที่เปนบทความ
                กับเรื่องที่อาน              ทั่วไปและบทความปกิณกะ             ทั่วไปและบทความปกิณกะ
                                              2. บทรอยกรองเชน กลอน            2. บทรอยกรองเชน กาพย
                                              บทละคร กลอนเสภา                   ฉบับ 16 และโคลงสี่สุภาพ
                                              กาพยยานี 11
ท3.1 ม.3/2      2. ระบุความแตกตางของคําที่มี -การอานจับใจความจากสื่อ          -การอานจับใจความจากสื่อ
                ความหมายโดยตรงและความ          เชน วรรณคดีในบทเรียน              เชน วรรณคดีในบทเรียน
                หมายโดยนัย                     ขาวและเหตุการณสําคัญ             ขาวและเหตุการณสําคัญ
ท3.1 ม.3/3      3.ระบุความสําคัญและราย        -บทความ                           -บทความ
                ละเอียดของขอมูลที่สนับสนุน                                     -บันเทิงคดี
                จากเรื่องที่อาน
ท3.1 ม.3/4      4. อานเรื่องตาง ๆ แลวเขียน                                   -สารคดี
                กรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก                                    -สารคดีเชิงประวัติ
                ยอความ และรายงาน                                               -ตํานาน

                                                                             สาระการเรียนรูแกนกลาง
  รหัสตัวชี้วัด                ตัวชี้วัดขอที่
                                                                      ภาคเรียนที่ 1              ภาคเรียนที่ 2
ท3.1 ม.3/5        5. วิเคราะห วิจารณ และประเมิน
                  เรื่องที่อานโดยใชกลวิธีการเปรียบ
                  เทียบ เพื่อใหผูอานเขาใจไดดีขึ้น
ท3.1 ม.3/6        6. ประเมินความถูกตองของขอ
                  มูลที่ใชสนับสนุนในเรื่อง                      -งานเขียนเชิงสรางสรรค
                  ที่อาน
                                                                   -เรื่องราวของบทเรียนใน
                                                              กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ท3.1 ม.3/7        7. วิจารณความสมเหตุสมผล                    และกลุมสาระการเรียนรูอื่น
                  การลําดับความและความเปนไปได
ของเรื่อง
ท3.1 ม.3/8        8. วิเคราะหเพื่อแสดงความคิด
                  เห็นโตแยงเกี่ยวกับเรื่องที่อาน
ท3.1 ม.3/9        9. ตีความและประเมินคุณคาแนวคิดที่ การอานตามความสนใจ เชน      การอานตามความสนใจ
                  ไดจากงานเขียนอยางอยาง                                        เชน
                  หลากหลาย เพื่อนําไปใชแกปญหาใน
                  ชีวิต
                                                     -หนังสืออานนอกเวลา          -หนังสืออานนอกเวลา
                                                     -หนังสืออานตามความสนใจ      -หนังสืออานตามความ
                                                                                  สนใจ
                                                        และตามวัยของนักเรียน       และตามวัยของ
                                                                                  นักเรียน
                                                       -หนังสืออานที่ครูและ      -หนังสืออานที่ครูและ
                                                       นักเรียนรวมกันกําหนด      นักเรียนรวมกันกําหนด
ท3.1 ม.3/10       10. มีมารยาทในการอาน                -มารยาทในการอาน           -มารยาทในการอาน

 สาระที่ 2 การเขียน
 มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราว
          ในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

  รหัสตัวชี้วัด                ตัวชี้วัดขอที่                        สาระการเรียนรูแกนกลาง
                                                             ภาคเรียนที่ 1              ภาคเรียนที่ 2
 ท2.2ม.3/1        1.คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด       การคัดลายมือตัวบรรจง การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง
                                                       ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบ บรรทัดตามรูปแบบการเขียน
                                                       การเขียนตัวอักษรไทย ตัวอักษรไทย
 ท2.2 ม.3/2       2.เขียนขอความโดยใชถอยคําได       การเขียนคําขวัญ คําคม คําอวยพรในโอกาสตางๆ
                  ถูกตองตามระดับภาษา                  โฆษณา           คติพจน
                                                       สุนทรพจน
 ท2.2 ม.3/3       3.เขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติ   การเขียนอัตชีวประวัติ -
                  โดยเลาเหตุการณขอคิดเห็นและ        หรือชีวประวัติ
                  ทัศนคติในเรื่องตางๆ
 ท2.2 ม.3/4       4.เขียนยอความ                       นิทาน ประวัติ ตํานาน พระราชดํารัส   พระบรม
                                                       สารคดีทางวิชาการ     ราโชวาท จดหมายราชการ
 ท2.2ม.3/5        5.เขียนจดหมายกิจธุระ                 การเขียนจดหมายกิจ    -
                                                       ธุระ
                                                       จดหมายเชิญวิทยากร
                                                       จดหมายขอความ
อนุเคราะห จดหมาย
                                                แสดงความขอบคุณ
ท 2.2 ม.3/6      6.เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความ -                  การเขียนอธิบาย       ชี้แจง
                 คิดเห็นและโตแยงอยางมีเหตุผล                   แสดงความคิดเห็นและ
                                                                  โตแยงในเรื่องตางๆ


 รหัสตัวชี้วัด               ตัวชี้วัดขอที่                    สาระการเรียนรูแกนกลาง
                                                         ภาคเรียนที่ 1            ภาคเรียนที่ 2
ท2.2 ม.3/7       7.เขียนวิเคราะห วิจารณและแสดง การเขียนวิเคราะห          -
                 ความรู ความคิดเห็นหรือโตแยงใน วิจารณและแสดงความรู
                 เรื่องตางๆ                       ความคิดเห็นหรือโตแยง
                                                   จากสื่อตางๆ        เชน
                                                   บทความทางวิชาการ
                                                   บทโฆษณา
ท2.2 ม.3/8       8.กรอกแบบสมัครงานพรอมเขียน       -                        การกรอกแบบสมัครงาน
                 บรรยายเกี่ยวกับความรูและทักษะของ
                 ตนเองที่เหมาะสมกับงาน
ท 2.2 ม.3/9      9.เขียนรายงานการศึกษา คนควาและ การเขียนรายงานไดแก -
                 โครงงาน                           การเขียนรายงานจาก
                                                   การศึกษาคนควา การ
                                                   เขียนรายงานโครงการ
ท2.2ม.3/10       10.มีมารยาทในการเขียน             มารยาทในการเขียน         มารยาทในการเขียน

สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด
          มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟง และดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตาง
ๆ อยางมีวิจารณญาณ และสรางสรรค

 รหัสตัวชี้วัด               ตัวชี้วัดขอที่                            สาระการเรียนรูแกนกลาง
                                                                ภาคเรียนที่ 1              ภาคเรียนที่ 2
ท3.3ม.3/1        1.แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่อง -การพูดแสดงความ                  -การพูดแสดงความ
                 จากการฟงและดู                          คิดเห็นและประเมิน          คิดเห็นและประเมินเรื่อง
                                                         เรื่องจากการฟงและดู       จากการฟงและดู
ท3.3 ม.3/2       2.วิเคราะห และวิจารณเรื่องที่ฟงและดู -การพูดวิเคราะหวิจารณ -การพูดวิเคราะหวิจารณ
                 เพื่อนําขอคิดมาประยุกตใชในการ        จากเรื่องที่ฟงและดู       จากเรื่องที่ฟงและดู
                 ดําเนินชีวิต
ท3.3 ม.3/3       3.พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา -การพูดรายงาน                 -การพูดรายงาน
คนควา จากการฟง การดู และการ การศึกษาคนควา               การศึกษาคนควาเกี่ยวกับ
                  สนทนา                          เกี่ยวกับภูมิปญญา            ภูมิปญญาทองถิ่น
                                                 ทองถิ่น
ท3.3 ม.3/4        4.พูดในโอกาสตาง ๆ ไดตรงตาม -การอภิปราย                     -การพูดโตวาที
                  วัตถุประสงค                                                 -การอภิปราย
                                                                               -การพูดยอวาที

ท3.3 ม.3/5        5. พูดโนมนาวโดยนําเสนอหลักฐาน                      -การพูดโนมนาวใจ
                  ตามลําดับเนื้อหา อยางมีเหตุผลและ
                  นาเชื่อถือ
ท3.3 ม.3/5        6. มีมารยาทในการฟง การดู และการ -มารยาทในการฟง การ -มารยาทในการฟง การดู
                  พูด                               ดู และการพูด       และการพูด

สาระที่ 4      หลักการใชภาษาไทย
มาตรฐานท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา
และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

                                                                   สาระการเรียนรูแกนกลาง
  รหัสตัวชี้วัด             ตัวชี้วัดขอที่
                                                           ภาคเรียนที่ 1              ภาคเรียนที่ 2
ท 4.4ม.3/1          1.จําแนกและใชคํา            1. คําที่มาจาก
                    ภาษาตางประเทศที่ใชใน       ภาษาตางประเทศ
                    ภาษาไทย
ท 4.4ม.3/2          2.วิเคราะหโครงสรางประโยค                                 1.ประโยคซับซอน
                    ซับซอน
ท 4.4 ม.3/3         3.วิเคราะหระดับภาษา                                       1.ระดับภาษา

ท 4.4 ม.3/4         4.ใชคําทับศัพทและศัพท                                   1 คําทับศัพท
                    บัญญัติ                                                    2. คําศัพทบัญญัติ
ท 4.4 ม.3/5         5.อธิบายความหมายคําศัพท                                   1. คําศัพททางวิชาการและ
                    ทางวิชาการและวิชาชีพ                                       วิชาชีพ
ท 4.4 ม.3/6         6. แตงบทรอยกรอง            1.โคลงสี่สุภาพ                1.โคลงสี่สุภาพ
สาระที่ 5        วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐานท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิต
จริง

                                                           สาระการเรียนรูแกนกลาง
  รหัสตัวชี้วัด           ตัวชี้วัดขอที่
                                                   ภาคเรียนที่ 1                ภาคเรียนที่ 2
ท 5.5 ม.3/1       1. สรุปเนื้อหาวรรณคดี                                วรรณคดี วรรณกรรม และ
                  วรรณกรรมและวรรณกรรม                                  วรรณกรรมทองถิ่นเกี่ยวกับ
                  ทองถิ่นในระดับที่ยากยิ่งขึ้น                            -ศาสนา
                                                                           -ประเพณี
                                                                           -พิธีกรรม
                                                                           -สุภาษิตคําสอน
                                                                           -เหตุการณใน
                                                                       ประวัติศาสตร
                                                                           -บันเทิงคดี

ท 5.5 ม.3/2       2.วิเคราะหวิถีไทยและคุณคา                          การวิเคราะหวิถีไทยและ
                  จากวรรณคดีและ                                        คุณคาจากวรรณคดีและ
                  วรรณกรรมที่อาน                                      วรรณกรรม
                  3.สรุปความรูและขอคิดจาก
                  การอานเพื่อนําไป
                  ประยุกตใชในชีวิตจริง

ท 5.5 ม.3/4       4.ทองจําและบอกคุณคาบท                              บทอาขยานและบทรอย
                  อาขยานตามที่กําหนดและ                                กรองที่มีคุณคา
                  บทรอยกรอง ที่มีคุณคาตาม                             -บทอาขยานตามที่กําหนด
                  ความสนใจและนําไปใช                                   -บทรอยกรองตามความ
                  อางอิง                                              สนใจ
โครงสราง
วิชาพื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่1
          ท 21101      ภาษาไทย     3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค               1.5   หนวยกิต
          ท 21102      ภาษาไทย     3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค               1.5   หนวยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปที่2
          ท 22101      ภาษาไทย     3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค               1.5   หนวยกิต
          ท 22102      ภาษาไทย     3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค               1.5   หนวยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปที่3
          ท 23101      ภาษาไทย     3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค               1.5   หนวยกิต
          ท 23102      ภาษาไทย     3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค               1.5   หนวยกิต

วิชาเพิ่มเติม
           ท 20201 เพลงกลอมลูก                      2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค          1         หนวยกิต
           ท 20202 การอานและความเขาใจภาษา          2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค          1         หนวยกิต
           ท 20203 การเขียนเชิงสรางสรรค            2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค          1         หนวยกิต
           ท 20204 วรรณกรรมพื้นบาน                  2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค          1         หนวยกิต
           ท 20205 เสริมทักษะภาษา          2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค             1     หนวยกิต
           ท 20206 ศิลปะการพูด                       2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค          1         หนวยกิต
           ท 20207 การใช ภาษาในชีวิตประจําวัน 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค         1     หนวยกิต
           ท 20208 ศัพทไทยใชคลอง                  2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค          1         หนวยกิต
           ท 20209 พัฒนาทักษะภาษาไทย                 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค          1         หนวยกิต
           ท 20210 นานาสาระภาษาไทย                   2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค          1         หนวยกิต
           ท 20211 การอานและพิจารณา                 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค          1         หนวยกิต
                  วรรณกรรมเบื้องตน
           ท 20212 ภาษาไทยในเพลง                     2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค          1         หนวยกิต
           ท 20213 การพูดและการเขียน                 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค          1         หนวยกิต
                  เชิงสรางสรรค
           ท 20214 เพลงพื้นบาน                      2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค          1         หนวยกิต
           ท 20215 ภาษากับศิลปะพื้นบาน              2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค          1         หนวยกิต
วิชาพื้นฐานภาษาไทย
ท 21101 ภาษาไทย                        3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค                1.5 หนวยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปที่1                                                                    ภาคเรียนที่ 1
                                                  คําอธิบายรายวิชา

         ศึกษาหนังสือ นิทาน เรื่องเลา บทความ เอกสารทางวิชาการ งานเขียน เรื่องที่ฟง และดู เสียงใน
ภาษาไทย ชนิดและหนาที่ของคํา สํานวนที่เปนคําพังเพยและสุภาษิต วรรณคดีและวรรณกรรมที่เกี่ยวกับบันทึกการเดินทาง
ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม
         ฝกอานออกเสียงรอยแกว รอยกรอง อานจับใจความสําคัญ อานและปฏิบัติตามเอกสารคูมือ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง
บรรทัด เขียนสื่อสาร เขียนรียงความเชิงพรรณนา เขียนยอความ เขียนจดหมายสวนตัว จดหมายกิจธุระ เขียนรายงาน พูดสรุป
ใจความสําคัญ พูดแสดงความคิดเห็น ทองจําบทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา
         เพื่ออธิบาย ตีความ วิเคราะห ประเมินคา วรรณคดี วรรณกรรม และสื่อตางๆ ฝกอาน เขียน ฟง ดู พูดไดอยาง
ถูกตองเหมาะสม อยางมีมารยาทและมีนิสัยรักการอาน

รหัสตัวชี้วัด
          ท 1.1 ม.1/3-4 ท 1.1 ม.1/5 ท 1.1 ม.1/6 ท 3.1 ม.1/2 ท 4.1 ม.1/1 ท 4.1 ม.1/3 ท 4.1 ม.1/6
ท 5.1 ม.1/1-4 ท 1.1 ม.1/2 ท 1.1 ม.1/7 ท 1.1 ม.1/8 ท 2.1 ม.1/1 ท 2.1 ม.1/2 ท 2.1 ม.1/4 ท 2.1 ม.1/5 ท 2.1 ม.1/7 ท 2.1
ม.1/8 ท 3.1 ม.1/1,3 ท 5.1 ม.1/5 ท 1.1 ม.1/9 ท 2.1 ม.1/9 ท 3.1 ม.1/6
วิชาพื้นฐานภาษาไทย
ท 21102 ภาษาไทย                      3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค                         1.5 หนวยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปที่1                                                                           ภาคเรียนที่ 2
                                                     คําอธิบายรายวิชา

         ศึกษาหนังสือ เรื่องสั้น บทสนทนา งานเขียนเชิงสรางสรรค บทความ เอกสารทางวิชาการ งานเขียน    สื่อตางๆ
การสรางคํา วิเคราะหความแตกตางของภาษาพูดและภาษาเขียน วรรณคดีและวรรณกรรมที่เกี่ยวกับ บันเทิงคดี สุภาษิตคําสอน
เหตุการณประวัติศาสตร วรรณกรรมทองถิ่น
         ฝกการอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง อานจับใจความสําคัญ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนบรรยาย
ประสบการณ เขียนเรียงความเชิงพรรณนา เขียนแสดงความคิดเห็นจากสื่อตางๆ เขียนจดหมายกิจธุระ เขียนรายงาน แตงบทรอย
กรองประเภทกาพยยานี 11 ทองจําบทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา
         เพื่ออธิบาย ตีความ วิเคราะห ประเมินคา วรรณคดี วรรณกรรม และสื่อตางๆ ฝกอาน เขียน ฟง ดู พูดไดอยาง
ถูกตองเหมาะสม อยางมีมารยาทและมีนิสัยรักการอาน

รหัสตัวชี้วัด
          ท 1.1 ม.1/3-4 ท 1.1 ม.1/5 ท 1.1 ม.1/6 ท 3.1 ม.1/4 ท 4.1 ม.1/2 ท 4.1 ม.1/4 ท 5.1 ม.1/1-4
          ท 1.1 ม.1/2 ท 1.1 ม.1/8 ท 2.1 ม.1/1 ท 2.1 ม.1/3 ท 2.1 ม.1/4 ท 2.1 ม.1/6 ท 2.1 ม.1/7
           ท 2.1 ม.1/8 ท 3.1 ม.1/5 ท 4.1 ม.1/5 ท 5.1 ม.1/5
          ท 1.1 ม.1/9 ท 2.1 ม.1/9 ท 3.1 ม.1/6
วิชาพื้นฐานภาษาไทย
ท 22101 ภาษาไทย                            3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค                            1.5 หนวยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2                                                                       ภาคเรียนที่ 1
                                                  คําอธิบายรายวิชา
         ศึกษาหลักการอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง ประเมินคาจากเรื่องที่อาน บอกมารยาทในการอาน หลักการเขียน
บรรยายและพรรณนา หลักการเขียนเรียงความ ยอความ การเขียนรายงาน จดหมายกิจธุระ มารยาทในการเขียน มารยาทในการ
พูด วิธีสรางคําในภาษาไทย ลักษณะของคําภาษาตางประเทศ
ในภาษาไทย อธิบายฉันทลักษณ กลอนสุภาพ คุณคาของวรรณกรรมและวรรณคดีที่อาน
         ฝกปฏิบัติการอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง อานจับใจความ เขียนผังความคิดจากเรื่องที่อาน อานอยางมีมารยาท คัด
ลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนบรรยายและพรรณนา เขียนเรียงความ เขียนยอความ
รายงาน จดหมายกิจธุระ เขียนวิเคราะหวิจารณ
แสดงความคิดเห็น เขียนอยางมีมารยาท พูดสรุปใจความสําคัญ การพูดวิเคราะหขอเท็จจริงขอคิดเห็น ความนาเชื่อถือของ
ขาวสาร การพูดรายงาน การฟงและพูดอยางมีมารยาท การรวบรวมศึกษาภาษาตางประเทศในภาษาไทย วิเคราะหวิจารณ
วรรณคดีและวรรณกรรม การทองจําบทอาขยาน
ตามกําหนด
         เพื่ออธิบายคุณคาการใชภาษาไทย การวิจารณโตแยง มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง
การดูและการพูด เห็นคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม ตัดสินใจยอมรับและนําไปประยุกตใช
ในชีวิตประจําวัน

รหัสตัวชี้วัด
ท 1.1 ม. 2/1 ท 1.1 ม.2/2 ท 1.1 ม.2/3 ท 1.1 ม.2/7 ท 1.1 ม.2/8
ท 2.1 ม. 3/1 ท 2.1 ม.2/2 ท 2.1 ม.2/3 ท 2.1 ม.2/4 ท 2.1 ม.2/5 ท 2.1 ม.2/6 ท 2.1 ม.2/7 ท 2.1 ม.2/8
ท 3.1 ม.2/1 ท 3.1 ม.2/2 ท 3.1 ม.2/5 ท 3.1 ม.2/6
ท 4.1 ม.2/1 ท 4.1 ม.2/3 ท 4.1 ม.2/5
ท 5.1 ม.2/1 ท 5.1 ม.2/2 ท 5.1 ม.2/3 ท 5.1 ม.2/4 ท 5.1 ม.2/5
วิชาพื้นฐานภาษาไทย
ท 22102 ภาษาไทย                             3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค                               1.5 หนวยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2                                                                           ภาคเรียนที่ 2
                                                    คําอธิบายรายวิชา

         ศึกษาหลักการอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง มารยาทในการอาน การเขียนบรรยายและพรรณนา เรียงความ ยอความ
มารยาทในการเขียน หลักการพูดในโอกาสตางๆ มารยาทในการพูด หลักการใชคําราชาศัพท อภิปรายแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่
อาน วิเคราะหและจําแนกขอเท็จจริงจากเรื่องที่อาน ระบุขอสังเกตจากการอาน วิจารณเรื่องที่ฟงและดู อธิบายวิธีการเขียนรายงาน
โครงสรางประโยคสามัญ ประโยครวมและประโยคซอน คุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน ความรูและขอคิดจากเรื่องที่
อานและนําไปใช
         ฝกอานออกเสียงรอยแกว รอยกรอง มีมารยาทในการอาน คัดลายมือดวยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนบรรยายและ
พรรณนาเรียงความ ยอความ รายงาน เขียนวิเคราะหวิจารณแสดงความคิดเห็นอยางมีมารยาท พูดในโอกาสตางๆ ฟงดูและพูดอยาง
มีมารยาท ใชคําราชาศัพท วิเคราะหวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรม ทองศึกษาบทอาขยาน
         เพื่อเห็นคุณคา มารยาทการอาน การเขียน วิจารณโตแยง มารยาทการฟงการดูและพูด ตัดสินใจยอมรับและเห็นคุณคา
ของวรรณคดีและวรรณกรรม นําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

รหัสตัวชี้วัด
          ท 1.1 ม 2/1,ท 1.1 ม 2/4,ท 1.1 ม 2/5,ท 1.1 ม 2/6,ท 1.1 ม 2/7,ท 1.1 ม 2/8,ท 2.1 ม 2/2,
ท 2.1 ม 2/3,ท 2.1 ม 2/4,ท 2.1 ม 2/5,ท 2.1 ม 2/8,ท 3.1 ม 2/4,ท 3.1 ม 2/6,ท 4.1 ม 2/2,ท 4.1 ม 2/4,ท 5.1 ม 2/1,ท 5.1 ม 2/2,ท 5.1 ม
2/3,ท 5.1 ม 2/4ท 1.1 ม 2/1,ท 1.1 ม 2/8,ท 2.1 ม 2/1,ท 2.1 ม 2/2,ท 2.1 ม 2/3,ท 2.1 ม 2/4,ท 2.1 ม 2/5,ท 2.1 ม 2/6 ท 2.1 ม 2/7,ท
2.1 ม 2/8,ท 3.1 ม 2/4,ท 3.1 ม 2/6,ท 4.1 ม 2/4,ท 5.1 ม 2/5 ท 1.1 ม 2/7,ท 1.1 ม 2/8,ท 2.1 ม 2/7,ท 2.1 ม 2/8,ท 3.1 ม 2/3,ท 3.1 ม
2/6,ท 4.1 ม 2/4,ท 5.1 ม 2/3,ท 5.1 ม 2/4,ท 5.1 ม 2/5
วิชาพื้นฐานภาษาไทย
ท 23101 ภาษาไทย                           3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค                            1.5 หนวยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3                                                                      ภาคเรียนที่ 1
                                                  คําอธิบายรายวิชา

          ฝกอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง ระบุความแตกตางของคําที่มีความหมายโดยตรงและโดยนัย ใจความสําคัญ และ
รายละเอียดของขอมูล วิเคราะหวิจารณ ประเมินคาเรื่องที่อาน เปรียบเทียบ ประเมินความถูกตอง วิจารณความสมเหตุสมผล
วิเคราะหเพื่อแสดงความคิดเห็น โตแยง ตีความ และประเมินคุณคาจากเรื่องราว ประสบการณจากการอาน เพื่อนําไปใชในการ
แกปญหาในชีวิต และมีมารยาทในการอาน ฝกคัดลายมือ เขียนขอความ โดยใชถอยคําถูกตองตามระดับภาษา เขียนชีวประวัติ หรือ
อัตชีวประวัติ เลาเหตุการณ ขอคิดเห็น และทัศนคติ เขียนยอความ จดหมายกิจธุระ อธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโตแยง
วิเคราะหวิจารณ แสดงความรูความคิดเห็น โตแยง กรอกแบบสมัครงาน เขียนบรรยายเกี่ยวกับความรู และทักษะที่เหมาะสมกับ
ตนเองและงาน เขียนรางานการศึกษาคนควา และโครงงานจากเรื่องราวตาง ๆ เหตุการณ ประสบการณ และมีมารยาทในการเขียน
ฝกแสดงความคิดเห็น และประเมินเรื่อง วิเคราะหและวิจารณ พูดรายงาน ประเด็นที่ศึกษา พูดในโอกาสตาง ๆ ไดตรงวัตถุประสงค
พูดโนมนาว ลําดับเนื้อหาอยางมีเหตุมีผล จากเรื่องที่ฟงและดู และมีมารยาทในการฟงและการดู และการพูด ศึกษาจําแนกการใชคํา
ภาษาตางประเทศในภาษาไทย แตงบทรอยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ ทองจําและบอกคุณคาของวรรณคดี วรรณกรรม บทรอย
กรองที่มีคุณคาตามความสนใจ และนําไปใชอางอิง
           เพื่ออาน เขียน ฟง ดู พูด ใชภาษาถูกตองตามหลักเกณฑ เห็นคุณคาของวรรณคดี วรรณกรรม วรรณกรรมทองถิ่น มี
มารยาทในการใชภาษา นําความรู ประสบการณ ไปใชพัฒนาตนเองในชีวิตประจําวันไดอยางมีคุณภาพ

รหัสตัวชี้วัด
     ท 1.1 ม 3/1 ท 1.1 ม 3/2 ท 1.1 ม. 3/3 ท 1.1 ม 3/5 ท 1.1 ม 3/6 ท 1.1 ม. 3/7 ท 1.1 ม 3/8 ท 1.1 ม. 3/9 ท 1.1 ม. 3/10 ท
2.2 ม 3/1 ท 2.2 ม 3/2 ท 2.2 ม 3/3 ท 2.2 ม 3/4 ท 2.2 ม 3/5 ท 2.2 ม 3/7 ท 2.2 ม 3/9 ท 2.2 ม 3/10 ท 3.3 ม 3/1 ท 3.3 ม 3/2 ท
3.3 ม 3/3 ท 3.3 ม 3/4 ท 3.3 ม 3/6 ท 4.4 ม 3/1 ท 4.4 ม 3/6 ท 5.5 ม 3/2
ท 5.5 ม 3/4
วิชาพื้นฐานภาษาไทย
ท 23102 ภาษาไทย                           3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค                           1.5 หนวยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3                                                                     ภาคเรียนที่ 2
                                                 คําอธิบายรายวิชา

          ฝกอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง ระบุความแตกตางของคําที่มีความหมายโดยตรงและโดยนัย สรุปใจความสําคัญ
เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึกยอความ และรายงานจากเรื่องที่อาน ตีความ ประเมินคาแนวคิดจากเรื่องที่อาน และมี
มารยาทในการอาน ฝกคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนคําอวยพรในโอกาสตาง ๆ เขียนยอความ พระราชดํารัส พระบรม
ราโชวาท จดหมายราชการ เขียนอธิบายชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโตแยงในเรื่องตาง ๆ กรอกแบบสมัครงาน บรรยายความรู
และทักษะของตนเอง มีมารยาทในการเขียน ฝกพูดแสดงความคิดเห็น พูดวิเคราะหวิจารณเรื่องที่ฟงและดู พูดรายงาน พูดโตวาที
พูดอภิปราย ยอวาที โนมนาวใจ และมีมารยาทในการฟง การดู การพูด ศึกษาประโยคที่ซับซอนระดับภาษา วิเคราะหคํา ทับศัพท
คําศัพทบัญญัติ ศัพทวิชาการและวิชาชีพ แตงโคลงสี่สุภาพ อานวรรณคดีวรรณกรรม วรรณกรรมทองถิ่น วิเคราะหคุณคาจากเรื่องที
อาน ทองบทอาขยาน และบทรอยกรองที่มีคุณคา
          เพื่ออาน เขียน ฟง ดู พูด ใชภาษาไทยไดถูกตองตามหลักเกณฑ เห็นคุณคาของวรรณคดี วรรณกรรม วรรณกรรมทองถิ่น
และใชภาษาอยางมีมารยาท นําความรูไปใชพัฒนาตนเอง ในชีวิตประจําวันไดอยางมีคุณภาพ

รหัสตัวชี้วัด
     ท 1.1 ม 3/1 ท 1.1 ม 3/2 ท 1.1 ม. 3/3 ท 1.1 ม 3/4 ท 1.1 ม 3/9 ท 1.1 ม. 3/10 ท 2.2 ม 3/1 ท 2.2 ม 3/2 ท 2.2 ม 3/4 ท
2.2 ม 3/6 ท 2.2 ม 3/8 ท 2.2 ม 3/10
ท 3.3 ม 3/1 ท 3.3 ม 3/2 ท 3.3 ม 3/3 ท 3.3 ม 3/4 ท 3.3 ม 3/5 ท 3.3 ม 3/6
ท 4.4 ม 3/2 ท 4.4 ม 3/3 ท 4.4 ม 3/4 ท 4.4 ม 3/5 ท 4.4 ม 3/6 ท 5.5 ม 3/2
ท 5.5 ม 3/4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4
Thai 4

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2kruthirachetthapat
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษAoyly Aoyly
 
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิตวิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิตkrutip Kanayat
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมpong_4548
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสปายด์ 'ดื้อ
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบอำนาจ ศรีทิม
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2krutew Sudarat
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศBoonlert Aroonpiboon
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมssusere4367d
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมายkroonoi06
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร  ตารางวิเคราะห์หลักสูตร
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร krutip Kanayat
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 

Was ist angesagt? (20)

ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
 
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2
 
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิตวิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
 
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ป2
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ป2ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ป2
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ป2
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
18 พระบรมราโชวาท 2
18 พระบรมราโชวาท 218 พระบรมราโชวาท 2
18 พระบรมราโชวาท 2
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร  ตารางวิเคราะห์หลักสูตร
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 

Ähnlich wie Thai 4

หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์srkschool
 
8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษnang_phy29
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabusAJ Give KA
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
แผนสื่อสาร
แผนสื่อสารแผนสื่อสาร
แผนสื่อสารkrunoony
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยkruthai40
 
Foreign55
Foreign55Foreign55
Foreign55krutip
 
งานของ วิไลพร
งานของ วิไลพรงานของ วิไลพร
งานของ วิไลพรWilaiporn7
 

Ähnlich wie Thai 4 (20)

หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabus
 
10
1010
10
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
แผนสื่อสาร
แผนสื่อสารแผนสื่อสาร
แผนสื่อสาร
 
interactive M 4
interactive M 4interactive M 4
interactive M 4
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้นภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้น
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
Foreign55
Foreign55Foreign55
Foreign55
 
กำนดการสอนปี55
กำนดการสอนปี55กำนดการสอนปี55
กำนดการสอนปี55
 
งานของ วิไลพร
งานของ วิไลพรงานของ วิไลพร
งานของ วิไลพร
 

Thai 4

  • 1. โครงสรางวิชาภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1 การอาน มาตรฐาน ท.1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรัก การอาน สาระการเรียนรูแกนกลาง รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัดขอที่ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ท 1.1 ม.1/1 1. อานออกเสียงบทรอย การอานออกเสียง การอานออกเสียง แกวและบทรอยกรองได ประกอบดวย ประกอบดวย ถูกตองเหมาะสมกับเรื่องที่ - บทรอยแกวที่เปนบท - บทรอยแกวที่เปนบท อาน บรรยาย บรรยาย - บทรอยกรอง เชน กลอน - บทรอยกรอง เชน สุภาพ กาพยยานี 11 กลอนสักวา และโคลงสี่ กาพยฉบับ 16 สุภาพ กาพยสุรางคนางค 28 ท 1.1ม.1/2-4 2. จับใจความสําคัญจาก การอานจับใจความจากสื่อ การอานจับใจความจากสื่อ เรื่องที่อาน ตางๆ ตางๆ 3. ระบุเหตุและผล และ เชน เชน ขอเท็จจริงกับขอคิดเห็น - วรรณคดีในบทเรียน - วรรณคดีในบทเรียน จากเรื่องที่อาน - นิทานชาดก - เรื่องสั้น 4. ระบุและอธิบายคํา - เรื่องเลาจากประสบการณ - บทสนทนา เปรียบเทียบ และคําที่มี - งานเขียนเชิงสรางสรรค หลายความหมายใน บริบทตางๆ จากการอาน
  • 2. สาระการเรียนรูแกนกลาง รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัดขอที่ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ท 1.1 ม.1/5 5. ตีความคํายากในเอกสาร ตีความคํายากในเอกสาร ตีความคํายากในเอกสาร วิชาการ โดยพิจารณา วิชาการ เชน วิชาการ เชน จากบริบท - บทความ - บทความ - เอกสารทางวิชาการที่มีคํา - เอกสารทางวิชาการที่มีคํา ประโยค และขอความที่ตองใช ประโยค และขอความที่ตองใช บริบท บริบท ท 1.1 ม.1/6 6. ระบุขอสังเกตและความ งานเขียนประเภทชักจูง งานเขียนประเภทชักจูง สมเหตุสมผลของงาน โนมนาวใจเชิงสรางสรรค โนมนาวใจเชิงสรางสรรค เขียนประเภทชักจูง โนมนาวใจ ท 1.1 ม.1/8 8. วิเคราะหคุณคาที่ไดรับ หนังสืออานที่ครูและนักเรียน หนังสือที่นักเรียนสนใจและ จากการอานงานเขียน กําหนดรวมกัน เหมาะสมกับวัย อยางหลากหลายเพื่อ นําไปใชแกปญหาใน ชีวิต ท 1.1 ม.1/9 9. มีมารยาทในการอาน มารยาทในการอาน มารยาทในการอาน สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงาน ขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ สาระการเรียนรูแกนกลาง รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัดขอที่ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ท 2.1 ม.1/1 1. คัดลายมือตัวบรรจง การคัดลายมือตัวบรรจง การคัดลายมือตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการ เขียน เขียน ตัวอักษรไทย ตัวอักษรไทย ท 2.1 ม.1/2 2. เขียนสื่อสารโดยใช การเขียนสื่อสาร เชน - ถอยคําถูกตองชัดเจน - การเขียนแนะนําตนเอง เหมาะสม และสละสลวย - การเขียนแนะนําสถานที่ สําคัญๆ - การเขียนบนสื่อ อิเล็กทรอนิกส ท 2.1 ม.1/3 3. เขียนบรรยาย - การบรรยายประสบการณ
  • 3. ประสบการณ โดยระบุสาระสําคัญและ รายละเอียดสนับสนุน ท 2.1 ม.1/4 4. เขียนเรียงความ การเขียนเรียงความเชิง การเขียนเรียงความเชิง พรรณนา พรรณนา ท 2.1 ม.1/5 5. เขียนยอความจากเรื่อง การเขียนยอความจากสื่อ - ที่อาน ตางๆ เชน เรื่องสั้น เรื่องเลา ประสบการณ ท 2.1 ม.1/6 6. เขียนแสดงความคิดเห็น - การเขียนแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับสาระจากสื่อที่ไดรับ เกี่ยวกับสาระจากสื่อตางๆ เชน - ขาวและเหตุการณประจําวัน - เหตุการณสําคัญตางๆ - หนังสือที่นักเรียนสนใจ สาระการเรียนรูแกนกลาง รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัดขอที่ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ท 2.1 ม.1/7 7. เขียนจดหมายสวนตัว การเขียนจดหมายสวนตัว การเขียนจดหมายกิจธุระ และ - จดหมายขอความชวยเหลือ - จดหมายสอบถามขอมูล จดหมายกิจธุระ - จดหมายแนะนํา ท 2.1 ม.1/8 8. เขียนรายงานการศึกษา การเขียนรายงาน ไดแก การเขียนรายงาน ไดแก คนควาและโครงงาน - การเขียนรายงานจาก - การเขียนรายงานโครงงาน การศึกษา คนควา ท 2.1 ม.1/9 9. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขียน มารยาทในการเขียน สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมี วิจารณญาณและสรางสรรค สาระการเรียนรูแกนกลาง รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัดขอที่ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ท 3.1 ม.1/1-3 1. พูดสรุปใจความสําคัญของ การพูดสรุปความ พูดแสดง - เรื่องที่ฟงและดู ความรู ความคิดอยางสรางสรรค 2. เลาเรื่องยอจากเรื่องที่ฟง จากเรื่องที่ฟงและดู และดู 3. พูดแสดงความคิดเห็นอยาง
  • 4. สรางสรรคเกี่ยวกับเรื่องที่ฟง และดู ท 3.1 ม.1/4 4. ประเมินความนาเชื่อถือของ - การพูดประเมินความนาเชื่อถือ สื่อที่มีเนื้อหาโนมนาวใจ ของสื่อที่มีเนื้อหาโนมนาว ท 3.1 ม.1/5 5. พูดรายงานเรื่องหรือ - การพูดรายงานการศึกษาคนควา ประเด็นที่ศึกษาคนควาจาก การฟง การดูและการ สนทนา ท 3.1 ม.1/6 6. มีมารยาทในการฟง การดู มารยาทในการฟง การดู และ มารยาทในการฟง การดู และ และการพูด การพูด การพูด สาระที่ 4 หลักการใชภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิ ปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ สาระการเรียนรูแกนกลาง รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัดขอที่ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ท 4.1 ม.1/1 1. อธิบายลักษณะของเสียงใน เสียงในภาษาไทย - ภาษาไทย ท 4.1 ม.1/2 2. สรางคําในภาษาไทย - การสรางคํา - คําประสม คําซ้ํา คําซอน - คําพอง ท 4.1 ม.1/3 3. วิเคราะหชนิดและหนาที่ ชนิดและหนาที่ของคํา - ของคําในประโยค ท 4.1 ม.1/4 4. วิเคราะหความแตกตางของ - ภาษาพูด ภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาเขียน ท 4.1 ม.1/5 5. แตงบทรอยกรอง - กาพยยานี 11 ท 4.1 ม.1/6 6. จําแนกและใชสํานวนที่ สํานวนที่เปนคําพังเพยและ - เปน คําพังเพยและสุภาษิต สุภาษิต
  • 5. สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิต จริง สาระการเรียนรูแกนกลาง รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัดขอที่ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ท 5.1 ม.1/1-4 1. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและ สรุปเนื้อหาการวิเคราะห สรุปเนื้อหาการวิเคราะห วรรณกรรมที่อาน คุณคา คุณคา 2. วิเคราะหวรรณคดีและ และขอคิดจากวรรณคดีและ และขอคิดจากวรรณคดีและ วรรณกรรม ที่อานพรอม วรรณกรรมที่เกี่ยวกับ วรรณกรรมที่เกี่ยวกับ ยกเหตุผลประกอบ - บันทึกการเดินทาง - บันเทิงคดี 3. อธิบายคุณคาของ - ศาสนา - สุภาษิตคําสอน วรรณคดี แลวรรณกรรมที่ - ประเพณี - เหตุการณประวัติศาสตร อาน - พิธีกรรม - วรรณกรรมทองถิ่น 4. สรุปความรูและขอคิด จากการอานเพื่อประยุกตใช ในชีวิตจริง ท 5.1 ม.1/5 5. ทองจําบทอาขยานตามที่ บทอาขยานและบทรอย บทอาขยานและบทรอย กําหนดและบทรอยกรองที่ กรองที่มีคุณคา กรองที่มีคุณคา มีคุณคาตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กําหนด - บทอาขยานตามความสนใจ
  • 6. โครงสรางวิชาภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย รายวิชา ท 22101 ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1 การอาน มาตรฐานที่ 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการ อาน รหัส ตัวชี้วัดขอที่ สาระการเรียนแกนกลาง ตัวชี้วัด ท 1.1ม.2/1 1.อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง • การอานออกเสียงประกอบดวย ไดถูกตอง -บทรอยแกวที่เปนบทบรรยายและบทสนทนา -บทรอยกรองเชนกลอนบทละคร กลอนนิทาน ท 1.1ม.2/2 2.จับใจความสําคัญ สรุปความ และอธิบาย • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน รายละเอียดจากเรื่องที่อาน วรรณคดีในบทเรียน บทความ บันทึกเหตุการณ บท สนทนา และเรื่องราวจากบทเรียนในกลุมสาระการ เรียนรูภาษาไทยและกลุมสาระการเรียนรูอื่น ท 1.1ม.2/3 3.เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเขาใจในบทเรียน • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน ตางๆที่อาน วรรณคดีในบทเรียน บันทึกเหตุการณ บทโฆษณา ท 1.1ม.2/7 7.อานหนังสือ บทความ หรือคําประพันธอยาง • การอานตามความสนใจเชนหนังสืออานนอก หลากหลายและประเมินคุณคาหรือแนวคิดที่ไดจาก เวลา การอานเพื่อนําไปใชแกปญหาในชีวิต ท 1.1ม.2/8 8.มีมารยาทในการอาน • มารยาทในการอาน สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐานที่ 2.1 ใชกระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูล สารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ รหัส ตัวชี้วัดขอที่ สาระการเรียนแกนกลาง ตัวชี้วัด ท 2.1ม.2/1 1.คัดลายมือดวยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด • การคัดลายมือดวยตัวบรรจงครึ่ง บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ท 2.1ม.2/2 2.เขียนบรรยายและพรรณนา • การเขียนบรรยายและพรรณนา ท 2.1ม.2/3 3.เขียนเรียงความ • การเขียนเรียงความเกี่ยวกับประสบการณ ท 2.1ม.2/4 4.เขียนยอความ • การเขียนยอความจากสื่อตางๆเชน นิทาน คําสอน บทความทางวิชาการ บันทึกเหตุการณ เรื่องราวในบทเรียนในกลุมสาระการเรียนรูอื่น นิทาน ชาดก ท 2.1ม.2/5 5.เขียนรายงานการศึกษาคนควา • การเขียนรายงานจากการศึกษาคนควา
  • 7. ท 2.1ม.2/6 6.เขียนจดหมายกิจธุระ • การเขียนจดหมายกิจธุระ จดหมายเชิญ วิทยากร จดหมายขอความอนุเคราะห ท 2.1ม.2/7 7.เขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรู ความ • การเขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดง คิดเห็น หรือโตแยงในเรื่องที่อานอยางมีเหตุผล ความรู ความคิดเห็น หรือโตแยงจากสื่อตางๆเชน บทความ บทเพลง หนังสืออานนอกเวลา ท 2.1ม.2/8 8.มีมารยาทในการเขียน • มารยาทในการเขียน สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด มาตรฐานที่ 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆอยางมี วิจารณญาณและสรางสรรค รหัส ตัวชี้วัดขอที่ สาระการเรียนแกนกลาง ตัวชี้วัด ท 3.1ม.2/1 1.พูดสรุปใจความสําคัญของเรื่องที่ฟงและดู • การพูดสรุปใจความสําคัญของเรื่องที่ฟงและ ดู ท 3.1ม.2/2 2.วิเคราะหขอเท็จจริง ขอคิดเห็น และความนาเชื่อถือ • การพูดวิเคราะหและวิจารณ จากเรื่องที่ ของขาวสารจากสื่อตางๆ ฟงและดู ท 3.1ม.2/5 5.พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการ • การพูดรายงานจากการศึกษาคนควาจาก ฟง การดู และการสนทนา แหลงเรียนรูตางๆ ท 3.1ม.2/6 6.มีมารยาทในการฟง การดู • มารยาทในการฟง การดูและการพูด สาระที่ 4 หลักการใชภาษาไทย มาตรฐานที่ 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ รหัส ตัวชี้วัดขอที่ สาระการเรียนแกนกลาง ตัวชี้วัด ท 4.1ม.2/1 1.สรางคําในภาษาไทย • การสรางคําสมาส ท 4.1ม.2/3 3.แตงบทรอยกรอง • กลอนสุภาพ ท 4.1ม.2/5 5.รวบรวมและอธิบายความหมายของคําใน • คําที่มาจากภาษาตางประเทศ ภาษาตางประเทศที่ใชในภาษาไทย
  • 8. สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐานที่ 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิต จริง รหัส ตัวชี้วัดขอที่ สาระการเรียนแกนกลาง ตัวชี้วัด ท 5.1ม.2/1 1.สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อานในระดับ • วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ ที่ยากขึ้น ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิต คําสอน เหตุการณ ประวัติศาสตร บันเทิงคดี บันทึกการเดินทาง ท 5.1ม.2/2 2.วิเคราะหและวิจารณวรรณคดี วรรณกรรม และ • วิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี วรรณกรรมทองถิ่นที่อานพรอมยกเหตุผลประกอบ วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่น ท 5.1ม.2/3 3.อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน • วิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่น ท 5.1ม.2/4 4.สรุปความรูและขอคิดจากการอานไปประยุกตใชใน • วิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี ชีวิตจริง วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่น ท 5.1ม.2/5 5.ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรองที่ • บทอาขยานและบทรอยกรองตามที่ มีคุณคาตามความสนใจ กําหนด
  • 9. โครงสรางวิชาภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย รายวิชา ท 22102 ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1 การอาน มาตรฐานที่ 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการ อาน รหัส ตัวชี้วัดขอที่ สาระการเรียนแกนกลาง ตัวชี้วัด ท 1.1ม.2/1 1.อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง • การอานออกเสียงประกอบดวย ไดถูกตอง -บทรอยแกวที่เปนบทบรรยายและบทสนทนา -บทรอยกรองเชนกลอนเพลงยาว และกาพยหอโคลง ท 1.1ม.2/4 4.อภิปรายแสดงความคิดเห็นและขอโตแยงเกี่ยวกับ • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน เรื่องที่อาน บทความ บันทึกเหตุการณ บทโฆษณา งาน เขียนประเภทโนมนาวใจ งานเขียนหรือ บทความแดงขอเท็จจริง เรื่องราวจาก บทเรียนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย และกลุมสาระการเรียนรูอื่น ท 1.1ม.2/5 5.วิเคราะหจําแนกขอเท็จจริงขอมูลสนับสนุน และ • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน ขอคิดเห็นจากบทความที่อาน วรรณคดีในบทเรียน บทความ บทสนทนา บทโฆษณา งานเขียนหรือบทความแสดง ขอเท็จจริง ท 1.1ม.2/6 6.ระบุขอสังเกตการชวนเชื่อ การโนมนาว หรือความ • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชนบท สมเหตุสมผลของงานเขียน โฆษณา งานเขียนประเภทโนมนาวใจ งาน เขียนหรือบทความแสดงขอเท็จจริง ท 1.1ม.2/7 7.อานหนังสือ บทความ หรือคําประพันธอยาง • การอานตามความสนใจเชนหนังสือ หลากหลายและประเมินคุณคาหรือแนวคิดที่ไดจาก ที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย การอานเพื่อนําไปใชแกปญหาในชีวิต หนังสือที่ครูและนักเรียนกําหนดรวม ท 1.1ม.2/8 8.มีมารยาทในการอาน • มารยาทในการอาน
  • 10. สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐานที่ 2.1 ใชกระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูล สารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ รหัส ตัวชี้วัดขอที่ สาระการเรียนแกนกลาง ตัวชี้วัด ท 2.1ม.2/1 1.คัดลายมือดวยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด • การคัดลายมือดวยตัวบรรจงครึ่ง บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ท 2.1ม.2/2 2.เขียนบรรยายและพรรณนา • การเขียนบรรยายและพรรณนา ท 2.1ม.2/3 3.เขียนเรียงความ • การเขียนเรียงความเกี่ยวกับประสบการณ ท 2.1ม.2/4 4.เขียนยอความ • การเขียนยอความจากสื่อตางๆเชน นิทาน คําสอน บทความทางวิชาการ บันทึกเหตุการณ เรื่องราวในบทเรียนในกลุมสาระการเรียนรูอื่น นิทาน ชาดก ท 2.1ม.2/5 5.เขียนรายงานการศึกษาคนควา • การเขียนรายงานโครงงาน ท 2.1ม.2/7 7.เขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรู ความ • การเขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรู คิดเห็น หรือโตแยงในเรื่องที่อานอยางมีเหตุผล ความคิดเห็น หรือโตแยงจากสื่อตางๆเชน สารคดี บันเทิงคดี ท 2.1ม.2/8 8.มีมารยาทในการเขียน • มารยาทในการเขียน สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด มาตรฐานที่ 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆอยางมี วิจารณญาณและสรางสรรค รหัส ตัวชี้วัดขอที่ สาระการเรียนแกนกลาง ตัวชี้วัด ท 3.1ม.2/3 3.วิเคราะหและวิจารณ เรื่องที่ฟงและดูอยางมีเหตุผล • การพูดวิเคราะหและวิจารณ จากเรื่องที่ฟง เพื่อนําขอคิดมาประยุกตใชในการดําเนินชีวิต และดู ท 3.1ม.2/4 4.พูดในโอกาสตางๆไดตรงตามวัตถุประสงค • การพูดในโอกาสตางๆเชนการพูดอวยพร การพูดโนมนาว การพูดโฆษณา ท 3.1ม.2/6 6.มีมารยาทในการฟง การดู • มารยาทในการฟง การดูและการพูด
  • 11. สาระที่ 4 หลักการใชภาษาไทย มาตรฐานที่ 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ รหัส ตัวชี้วัดขอที่ สาระการเรียนแกนกลาง ตัวชี้วัด ท 4.1ม.2/2 2.วิเคราะหโครงสรางประโยคสามัญ ประโยครวม • ลักษณะประโยคในภาษาไทยประโยคสามัญ และประโยคซอน ประโยครวมและประโยคซอน ท 4.1ม.2/4 4.ใชคําราชาศัพท • คําราชาศัพท สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐานที่ 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิต จริง รหัส ตัวชี้วัดขอที่ สาระการเรียนแกนกลาง ตัวชี้วัด ท 5.1ม.2/1 1.สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อานในระดับ • วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ ที่ยากขึ้น ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิต คําสอน เหตุการณประวัติศาสตร บันเทิงคดี บันทึกการเดินทาง ท 5.1ม.2/2 2.วิเคราะหและวิจารณวรรณคดี วรรณกรรม และ • วิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี วรรณกรรมทองถิ่นที่อานพรอมยกเหตุผลประกอบ วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่น ท 5.1ม.2/3 3.อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน • วิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่น ท 5.1ม.2/4 4.สรุปความรูและขอคิดจากการอานไปประยุกตใชใน • วิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี ชีวิตจริง วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่น ท 5.1ม.2/5 5.ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรองที่ • บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคาตาม มีคุณคาตามความสนใจ ความสนใจ
  • 12. โครงสรางวิชาภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1 การอาน มาตรฐาน 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการ อาน สาระการเรียนรูแกนกลาง รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัดขอที่ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ท3.1 ม.3/1 1. อานออกเสียงบทรอยแกวและ -อานออกเสียงประกอบดวย -อานออกเสียงระกอบดวย บทรอยกรองไดถูกตองเหมาะสม 1.บทรอยแกวที่เปนบทความ 1.บทรอยแกวที่เปนบทความ กับเรื่องที่อาน ทั่วไปและบทความปกิณกะ ทั่วไปและบทความปกิณกะ 2. บทรอยกรองเชน กลอน 2. บทรอยกรองเชน กาพย บทละคร กลอนเสภา ฉบับ 16 และโคลงสี่สุภาพ กาพยยานี 11 ท3.1 ม.3/2 2. ระบุความแตกตางของคําที่มี -การอานจับใจความจากสื่อ -การอานจับใจความจากสื่อ ความหมายโดยตรงและความ เชน วรรณคดีในบทเรียน เชน วรรณคดีในบทเรียน หมายโดยนัย ขาวและเหตุการณสําคัญ ขาวและเหตุการณสําคัญ ท3.1 ม.3/3 3.ระบุความสําคัญและราย -บทความ -บทความ ละเอียดของขอมูลที่สนับสนุน -บันเทิงคดี จากเรื่องที่อาน ท3.1 ม.3/4 4. อานเรื่องตาง ๆ แลวเขียน -สารคดี กรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก -สารคดีเชิงประวัติ ยอความ และรายงาน -ตํานาน สาระการเรียนรูแกนกลาง รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัดขอที่ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ท3.1 ม.3/5 5. วิเคราะห วิจารณ และประเมิน เรื่องที่อานโดยใชกลวิธีการเปรียบ เทียบ เพื่อใหผูอานเขาใจไดดีขึ้น ท3.1 ม.3/6 6. ประเมินความถูกตองของขอ มูลที่ใชสนับสนุนในเรื่อง -งานเขียนเชิงสรางสรรค ที่อาน -เรื่องราวของบทเรียนใน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ท3.1 ม.3/7 7. วิจารณความสมเหตุสมผล และกลุมสาระการเรียนรูอื่น การลําดับความและความเปนไปได
  • 13. ของเรื่อง ท3.1 ม.3/8 8. วิเคราะหเพื่อแสดงความคิด เห็นโตแยงเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ท3.1 ม.3/9 9. ตีความและประเมินคุณคาแนวคิดที่ การอานตามความสนใจ เชน การอานตามความสนใจ ไดจากงานเขียนอยางอยาง เชน หลากหลาย เพื่อนําไปใชแกปญหาใน ชีวิต -หนังสืออานนอกเวลา -หนังสืออานนอกเวลา -หนังสืออานตามความสนใจ -หนังสืออานตามความ สนใจ และตามวัยของนักเรียน และตามวัยของ นักเรียน -หนังสืออานที่ครูและ -หนังสืออานที่ครูและ นักเรียนรวมกันกําหนด นักเรียนรวมกันกําหนด ท3.1 ม.3/10 10. มีมารยาทในการอาน -มารยาทในการอาน -มารยาทในการอาน สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัดขอที่ สาระการเรียนรูแกนกลาง ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ท2.2ม.3/1 1.คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด การคัดลายมือตัวบรรจง การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบ บรรทัดตามรูปแบบการเขียน การเขียนตัวอักษรไทย ตัวอักษรไทย ท2.2 ม.3/2 2.เขียนขอความโดยใชถอยคําได การเขียนคําขวัญ คําคม คําอวยพรในโอกาสตางๆ ถูกตองตามระดับภาษา โฆษณา คติพจน สุนทรพจน ท2.2 ม.3/3 3.เขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติ การเขียนอัตชีวประวัติ - โดยเลาเหตุการณขอคิดเห็นและ หรือชีวประวัติ ทัศนคติในเรื่องตางๆ ท2.2 ม.3/4 4.เขียนยอความ นิทาน ประวัติ ตํานาน พระราชดํารัส พระบรม สารคดีทางวิชาการ ราโชวาท จดหมายราชการ ท2.2ม.3/5 5.เขียนจดหมายกิจธุระ การเขียนจดหมายกิจ - ธุระ จดหมายเชิญวิทยากร จดหมายขอความ
  • 14. อนุเคราะห จดหมาย แสดงความขอบคุณ ท 2.2 ม.3/6 6.เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความ - การเขียนอธิบาย ชี้แจง คิดเห็นและโตแยงอยางมีเหตุผล แสดงความคิดเห็นและ โตแยงในเรื่องตางๆ รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัดขอที่ สาระการเรียนรูแกนกลาง ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ท2.2 ม.3/7 7.เขียนวิเคราะห วิจารณและแสดง การเขียนวิเคราะห - ความรู ความคิดเห็นหรือโตแยงใน วิจารณและแสดงความรู เรื่องตางๆ ความคิดเห็นหรือโตแยง จากสื่อตางๆ เชน บทความทางวิชาการ บทโฆษณา ท2.2 ม.3/8 8.กรอกแบบสมัครงานพรอมเขียน - การกรอกแบบสมัครงาน บรรยายเกี่ยวกับความรูและทักษะของ ตนเองที่เหมาะสมกับงาน ท 2.2 ม.3/9 9.เขียนรายงานการศึกษา คนควาและ การเขียนรายงานไดแก - โครงงาน การเขียนรายงานจาก การศึกษาคนควา การ เขียนรายงานโครงการ ท2.2ม.3/10 10.มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขียน มารยาทในการเขียน สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟง และดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตาง ๆ อยางมีวิจารณญาณ และสรางสรรค รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัดขอที่ สาระการเรียนรูแกนกลาง ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ท3.3ม.3/1 1.แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่อง -การพูดแสดงความ -การพูดแสดงความ จากการฟงและดู คิดเห็นและประเมิน คิดเห็นและประเมินเรื่อง เรื่องจากการฟงและดู จากการฟงและดู ท3.3 ม.3/2 2.วิเคราะห และวิจารณเรื่องที่ฟงและดู -การพูดวิเคราะหวิจารณ -การพูดวิเคราะหวิจารณ เพื่อนําขอคิดมาประยุกตใชในการ จากเรื่องที่ฟงและดู จากเรื่องที่ฟงและดู ดําเนินชีวิต ท3.3 ม.3/3 3.พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา -การพูดรายงาน -การพูดรายงาน
  • 15. คนควา จากการฟง การดู และการ การศึกษาคนควา การศึกษาคนควาเกี่ยวกับ สนทนา เกี่ยวกับภูมิปญญา ภูมิปญญาทองถิ่น ทองถิ่น ท3.3 ม.3/4 4.พูดในโอกาสตาง ๆ ไดตรงตาม -การอภิปราย -การพูดโตวาที วัตถุประสงค -การอภิปราย -การพูดยอวาที ท3.3 ม.3/5 5. พูดโนมนาวโดยนําเสนอหลักฐาน -การพูดโนมนาวใจ ตามลําดับเนื้อหา อยางมีเหตุผลและ นาเชื่อถือ ท3.3 ม.3/5 6. มีมารยาทในการฟง การดู และการ -มารยาทในการฟง การ -มารยาทในการฟง การดู พูด ดู และการพูด และการพูด สาระที่ 4 หลักการใชภาษาไทย มาตรฐานท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ สาระการเรียนรูแกนกลาง รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัดขอที่ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ท 4.4ม.3/1 1.จําแนกและใชคํา 1. คําที่มาจาก ภาษาตางประเทศที่ใชใน ภาษาตางประเทศ ภาษาไทย ท 4.4ม.3/2 2.วิเคราะหโครงสรางประโยค 1.ประโยคซับซอน ซับซอน ท 4.4 ม.3/3 3.วิเคราะหระดับภาษา 1.ระดับภาษา ท 4.4 ม.3/4 4.ใชคําทับศัพทและศัพท 1 คําทับศัพท บัญญัติ 2. คําศัพทบัญญัติ ท 4.4 ม.3/5 5.อธิบายความหมายคําศัพท 1. คําศัพททางวิชาการและ ทางวิชาการและวิชาชีพ วิชาชีพ ท 4.4 ม.3/6 6. แตงบทรอยกรอง 1.โคลงสี่สุภาพ 1.โคลงสี่สุภาพ
  • 16. สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐานท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิต จริง สาระการเรียนรูแกนกลาง รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัดขอที่ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ท 5.5 ม.3/1 1. สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณคดี วรรณกรรม และ วรรณกรรมและวรรณกรรม วรรณกรรมทองถิ่นเกี่ยวกับ ทองถิ่นในระดับที่ยากยิ่งขึ้น -ศาสนา -ประเพณี -พิธีกรรม -สุภาษิตคําสอน -เหตุการณใน ประวัติศาสตร -บันเทิงคดี ท 5.5 ม.3/2 2.วิเคราะหวิถีไทยและคุณคา การวิเคราะหวิถีไทยและ จากวรรณคดีและ คุณคาจากวรรณคดีและ วรรณกรรมที่อาน วรรณกรรม 3.สรุปความรูและขอคิดจาก การอานเพื่อนําไป ประยุกตใชในชีวิตจริง ท 5.5 ม.3/4 4.ทองจําและบอกคุณคาบท บทอาขยานและบทรอย อาขยานตามที่กําหนดและ กรองที่มีคุณคา บทรอยกรอง ที่มีคุณคาตาม -บทอาขยานตามที่กําหนด ความสนใจและนําไปใช -บทรอยกรองตามความ อางอิง สนใจ
  • 17. โครงสราง วิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่1 ท 21101 ภาษาไทย 3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1.5 หนวยกิต ท 21102 ภาษาไทย 3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1.5 หนวยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปที่2 ท 22101 ภาษาไทย 3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1.5 หนวยกิต ท 22102 ภาษาไทย 3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1.5 หนวยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปที่3 ท 23101 ภาษาไทย 3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1.5 หนวยกิต ท 23102 ภาษาไทย 3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1.5 หนวยกิต วิชาเพิ่มเติม ท 20201 เพลงกลอมลูก 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1 หนวยกิต ท 20202 การอานและความเขาใจภาษา 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1 หนวยกิต ท 20203 การเขียนเชิงสรางสรรค 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1 หนวยกิต ท 20204 วรรณกรรมพื้นบาน 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1 หนวยกิต ท 20205 เสริมทักษะภาษา 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1 หนวยกิต ท 20206 ศิลปะการพูด 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1 หนวยกิต ท 20207 การใช ภาษาในชีวิตประจําวัน 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1 หนวยกิต ท 20208 ศัพทไทยใชคลอง 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1 หนวยกิต ท 20209 พัฒนาทักษะภาษาไทย 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1 หนวยกิต ท 20210 นานาสาระภาษาไทย 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1 หนวยกิต ท 20211 การอานและพิจารณา 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1 หนวยกิต วรรณกรรมเบื้องตน ท 20212 ภาษาไทยในเพลง 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1 หนวยกิต ท 20213 การพูดและการเขียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1 หนวยกิต เชิงสรางสรรค ท 20214 เพลงพื้นบาน 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1 หนวยกิต ท 20215 ภาษากับศิลปะพื้นบาน 2 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1 หนวยกิต
  • 18. วิชาพื้นฐานภาษาไทย ท 21101 ภาษาไทย 3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1.5 หนวยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปที่1 ภาคเรียนที่ 1 คําอธิบายรายวิชา ศึกษาหนังสือ นิทาน เรื่องเลา บทความ เอกสารทางวิชาการ งานเขียน เรื่องที่ฟง และดู เสียงใน ภาษาไทย ชนิดและหนาที่ของคํา สํานวนที่เปนคําพังเพยและสุภาษิต วรรณคดีและวรรณกรรมที่เกี่ยวกับบันทึกการเดินทาง ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม ฝกอานออกเสียงรอยแกว รอยกรอง อานจับใจความสําคัญ อานและปฏิบัติตามเอกสารคูมือ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง บรรทัด เขียนสื่อสาร เขียนรียงความเชิงพรรณนา เขียนยอความ เขียนจดหมายสวนตัว จดหมายกิจธุระ เขียนรายงาน พูดสรุป ใจความสําคัญ พูดแสดงความคิดเห็น ทองจําบทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา เพื่ออธิบาย ตีความ วิเคราะห ประเมินคา วรรณคดี วรรณกรรม และสื่อตางๆ ฝกอาน เขียน ฟง ดู พูดไดอยาง ถูกตองเหมาะสม อยางมีมารยาทและมีนิสัยรักการอาน รหัสตัวชี้วัด ท 1.1 ม.1/3-4 ท 1.1 ม.1/5 ท 1.1 ม.1/6 ท 3.1 ม.1/2 ท 4.1 ม.1/1 ท 4.1 ม.1/3 ท 4.1 ม.1/6 ท 5.1 ม.1/1-4 ท 1.1 ม.1/2 ท 1.1 ม.1/7 ท 1.1 ม.1/8 ท 2.1 ม.1/1 ท 2.1 ม.1/2 ท 2.1 ม.1/4 ท 2.1 ม.1/5 ท 2.1 ม.1/7 ท 2.1 ม.1/8 ท 3.1 ม.1/1,3 ท 5.1 ม.1/5 ท 1.1 ม.1/9 ท 2.1 ม.1/9 ท 3.1 ม.1/6
  • 19. วิชาพื้นฐานภาษาไทย ท 21102 ภาษาไทย 3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1.5 หนวยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปที่1 ภาคเรียนที่ 2 คําอธิบายรายวิชา ศึกษาหนังสือ เรื่องสั้น บทสนทนา งานเขียนเชิงสรางสรรค บทความ เอกสารทางวิชาการ งานเขียน สื่อตางๆ การสรางคํา วิเคราะหความแตกตางของภาษาพูดและภาษาเขียน วรรณคดีและวรรณกรรมที่เกี่ยวกับ บันเทิงคดี สุภาษิตคําสอน เหตุการณประวัติศาสตร วรรณกรรมทองถิ่น ฝกการอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง อานจับใจความสําคัญ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนบรรยาย ประสบการณ เขียนเรียงความเชิงพรรณนา เขียนแสดงความคิดเห็นจากสื่อตางๆ เขียนจดหมายกิจธุระ เขียนรายงาน แตงบทรอย กรองประเภทกาพยยานี 11 ทองจําบทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา เพื่ออธิบาย ตีความ วิเคราะห ประเมินคา วรรณคดี วรรณกรรม และสื่อตางๆ ฝกอาน เขียน ฟง ดู พูดไดอยาง ถูกตองเหมาะสม อยางมีมารยาทและมีนิสัยรักการอาน รหัสตัวชี้วัด ท 1.1 ม.1/3-4 ท 1.1 ม.1/5 ท 1.1 ม.1/6 ท 3.1 ม.1/4 ท 4.1 ม.1/2 ท 4.1 ม.1/4 ท 5.1 ม.1/1-4 ท 1.1 ม.1/2 ท 1.1 ม.1/8 ท 2.1 ม.1/1 ท 2.1 ม.1/3 ท 2.1 ม.1/4 ท 2.1 ม.1/6 ท 2.1 ม.1/7 ท 2.1 ม.1/8 ท 3.1 ม.1/5 ท 4.1 ม.1/5 ท 5.1 ม.1/5 ท 1.1 ม.1/9 ท 2.1 ม.1/9 ท 3.1 ม.1/6
  • 20. วิชาพื้นฐานภาษาไทย ท 22101 ภาษาไทย 3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1.5 หนวยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 คําอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักการอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง ประเมินคาจากเรื่องที่อาน บอกมารยาทในการอาน หลักการเขียน บรรยายและพรรณนา หลักการเขียนเรียงความ ยอความ การเขียนรายงาน จดหมายกิจธุระ มารยาทในการเขียน มารยาทในการ พูด วิธีสรางคําในภาษาไทย ลักษณะของคําภาษาตางประเทศ ในภาษาไทย อธิบายฉันทลักษณ กลอนสุภาพ คุณคาของวรรณกรรมและวรรณคดีที่อาน ฝกปฏิบัติการอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง อานจับใจความ เขียนผังความคิดจากเรื่องที่อาน อานอยางมีมารยาท คัด ลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนบรรยายและพรรณนา เขียนเรียงความ เขียนยอความ รายงาน จดหมายกิจธุระ เขียนวิเคราะหวิจารณ แสดงความคิดเห็น เขียนอยางมีมารยาท พูดสรุปใจความสําคัญ การพูดวิเคราะหขอเท็จจริงขอคิดเห็น ความนาเชื่อถือของ ขาวสาร การพูดรายงาน การฟงและพูดอยางมีมารยาท การรวบรวมศึกษาภาษาตางประเทศในภาษาไทย วิเคราะหวิจารณ วรรณคดีและวรรณกรรม การทองจําบทอาขยาน ตามกําหนด เพื่ออธิบายคุณคาการใชภาษาไทย การวิจารณโตแยง มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด เห็นคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม ตัดสินใจยอมรับและนําไปประยุกตใช ในชีวิตประจําวัน รหัสตัวชี้วัด ท 1.1 ม. 2/1 ท 1.1 ม.2/2 ท 1.1 ม.2/3 ท 1.1 ม.2/7 ท 1.1 ม.2/8 ท 2.1 ม. 3/1 ท 2.1 ม.2/2 ท 2.1 ม.2/3 ท 2.1 ม.2/4 ท 2.1 ม.2/5 ท 2.1 ม.2/6 ท 2.1 ม.2/7 ท 2.1 ม.2/8 ท 3.1 ม.2/1 ท 3.1 ม.2/2 ท 3.1 ม.2/5 ท 3.1 ม.2/6 ท 4.1 ม.2/1 ท 4.1 ม.2/3 ท 4.1 ม.2/5 ท 5.1 ม.2/1 ท 5.1 ม.2/2 ท 5.1 ม.2/3 ท 5.1 ม.2/4 ท 5.1 ม.2/5
  • 21. วิชาพื้นฐานภาษาไทย ท 22102 ภาษาไทย 3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1.5 หนวยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 คําอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักการอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง มารยาทในการอาน การเขียนบรรยายและพรรณนา เรียงความ ยอความ มารยาทในการเขียน หลักการพูดในโอกาสตางๆ มารยาทในการพูด หลักการใชคําราชาศัพท อภิปรายแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ อาน วิเคราะหและจําแนกขอเท็จจริงจากเรื่องที่อาน ระบุขอสังเกตจากการอาน วิจารณเรื่องที่ฟงและดู อธิบายวิธีการเขียนรายงาน โครงสรางประโยคสามัญ ประโยครวมและประโยคซอน คุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน ความรูและขอคิดจากเรื่องที่ อานและนําไปใช ฝกอานออกเสียงรอยแกว รอยกรอง มีมารยาทในการอาน คัดลายมือดวยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนบรรยายและ พรรณนาเรียงความ ยอความ รายงาน เขียนวิเคราะหวิจารณแสดงความคิดเห็นอยางมีมารยาท พูดในโอกาสตางๆ ฟงดูและพูดอยาง มีมารยาท ใชคําราชาศัพท วิเคราะหวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรม ทองศึกษาบทอาขยาน เพื่อเห็นคุณคา มารยาทการอาน การเขียน วิจารณโตแยง มารยาทการฟงการดูและพูด ตัดสินใจยอมรับและเห็นคุณคา ของวรรณคดีและวรรณกรรม นําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน รหัสตัวชี้วัด ท 1.1 ม 2/1,ท 1.1 ม 2/4,ท 1.1 ม 2/5,ท 1.1 ม 2/6,ท 1.1 ม 2/7,ท 1.1 ม 2/8,ท 2.1 ม 2/2, ท 2.1 ม 2/3,ท 2.1 ม 2/4,ท 2.1 ม 2/5,ท 2.1 ม 2/8,ท 3.1 ม 2/4,ท 3.1 ม 2/6,ท 4.1 ม 2/2,ท 4.1 ม 2/4,ท 5.1 ม 2/1,ท 5.1 ม 2/2,ท 5.1 ม 2/3,ท 5.1 ม 2/4ท 1.1 ม 2/1,ท 1.1 ม 2/8,ท 2.1 ม 2/1,ท 2.1 ม 2/2,ท 2.1 ม 2/3,ท 2.1 ม 2/4,ท 2.1 ม 2/5,ท 2.1 ม 2/6 ท 2.1 ม 2/7,ท 2.1 ม 2/8,ท 3.1 ม 2/4,ท 3.1 ม 2/6,ท 4.1 ม 2/4,ท 5.1 ม 2/5 ท 1.1 ม 2/7,ท 1.1 ม 2/8,ท 2.1 ม 2/7,ท 2.1 ม 2/8,ท 3.1 ม 2/3,ท 3.1 ม 2/6,ท 4.1 ม 2/4,ท 5.1 ม 2/3,ท 5.1 ม 2/4,ท 5.1 ม 2/5
  • 22. วิชาพื้นฐานภาษาไทย ท 23101 ภาษาไทย 3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1.5 หนวยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 คําอธิบายรายวิชา ฝกอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง ระบุความแตกตางของคําที่มีความหมายโดยตรงและโดยนัย ใจความสําคัญ และ รายละเอียดของขอมูล วิเคราะหวิจารณ ประเมินคาเรื่องที่อาน เปรียบเทียบ ประเมินความถูกตอง วิจารณความสมเหตุสมผล วิเคราะหเพื่อแสดงความคิดเห็น โตแยง ตีความ และประเมินคุณคาจากเรื่องราว ประสบการณจากการอาน เพื่อนําไปใชในการ แกปญหาในชีวิต และมีมารยาทในการอาน ฝกคัดลายมือ เขียนขอความ โดยใชถอยคําถูกตองตามระดับภาษา เขียนชีวประวัติ หรือ อัตชีวประวัติ เลาเหตุการณ ขอคิดเห็น และทัศนคติ เขียนยอความ จดหมายกิจธุระ อธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโตแยง วิเคราะหวิจารณ แสดงความรูความคิดเห็น โตแยง กรอกแบบสมัครงาน เขียนบรรยายเกี่ยวกับความรู และทักษะที่เหมาะสมกับ ตนเองและงาน เขียนรางานการศึกษาคนควา และโครงงานจากเรื่องราวตาง ๆ เหตุการณ ประสบการณ และมีมารยาทในการเขียน ฝกแสดงความคิดเห็น และประเมินเรื่อง วิเคราะหและวิจารณ พูดรายงาน ประเด็นที่ศึกษา พูดในโอกาสตาง ๆ ไดตรงวัตถุประสงค พูดโนมนาว ลําดับเนื้อหาอยางมีเหตุมีผล จากเรื่องที่ฟงและดู และมีมารยาทในการฟงและการดู และการพูด ศึกษาจําแนกการใชคํา ภาษาตางประเทศในภาษาไทย แตงบทรอยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ ทองจําและบอกคุณคาของวรรณคดี วรรณกรรม บทรอย กรองที่มีคุณคาตามความสนใจ และนําไปใชอางอิง เพื่ออาน เขียน ฟง ดู พูด ใชภาษาถูกตองตามหลักเกณฑ เห็นคุณคาของวรรณคดี วรรณกรรม วรรณกรรมทองถิ่น มี มารยาทในการใชภาษา นําความรู ประสบการณ ไปใชพัฒนาตนเองในชีวิตประจําวันไดอยางมีคุณภาพ รหัสตัวชี้วัด ท 1.1 ม 3/1 ท 1.1 ม 3/2 ท 1.1 ม. 3/3 ท 1.1 ม 3/5 ท 1.1 ม 3/6 ท 1.1 ม. 3/7 ท 1.1 ม 3/8 ท 1.1 ม. 3/9 ท 1.1 ม. 3/10 ท 2.2 ม 3/1 ท 2.2 ม 3/2 ท 2.2 ม 3/3 ท 2.2 ม 3/4 ท 2.2 ม 3/5 ท 2.2 ม 3/7 ท 2.2 ม 3/9 ท 2.2 ม 3/10 ท 3.3 ม 3/1 ท 3.3 ม 3/2 ท 3.3 ม 3/3 ท 3.3 ม 3/4 ท 3.3 ม 3/6 ท 4.4 ม 3/1 ท 4.4 ม 3/6 ท 5.5 ม 3/2 ท 5.5 ม 3/4
  • 23. วิชาพื้นฐานภาษาไทย ท 23102 ภาษาไทย 3 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค 1.5 หนวยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 คําอธิบายรายวิชา ฝกอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง ระบุความแตกตางของคําที่มีความหมายโดยตรงและโดยนัย สรุปใจความสําคัญ เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึกยอความ และรายงานจากเรื่องที่อาน ตีความ ประเมินคาแนวคิดจากเรื่องที่อาน และมี มารยาทในการอาน ฝกคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนคําอวยพรในโอกาสตาง ๆ เขียนยอความ พระราชดํารัส พระบรม ราโชวาท จดหมายราชการ เขียนอธิบายชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโตแยงในเรื่องตาง ๆ กรอกแบบสมัครงาน บรรยายความรู และทักษะของตนเอง มีมารยาทในการเขียน ฝกพูดแสดงความคิดเห็น พูดวิเคราะหวิจารณเรื่องที่ฟงและดู พูดรายงาน พูดโตวาที พูดอภิปราย ยอวาที โนมนาวใจ และมีมารยาทในการฟง การดู การพูด ศึกษาประโยคที่ซับซอนระดับภาษา วิเคราะหคํา ทับศัพท คําศัพทบัญญัติ ศัพทวิชาการและวิชาชีพ แตงโคลงสี่สุภาพ อานวรรณคดีวรรณกรรม วรรณกรรมทองถิ่น วิเคราะหคุณคาจากเรื่องที อาน ทองบทอาขยาน และบทรอยกรองที่มีคุณคา เพื่ออาน เขียน ฟง ดู พูด ใชภาษาไทยไดถูกตองตามหลักเกณฑ เห็นคุณคาของวรรณคดี วรรณกรรม วรรณกรรมทองถิ่น และใชภาษาอยางมีมารยาท นําความรูไปใชพัฒนาตนเอง ในชีวิตประจําวันไดอยางมีคุณภาพ รหัสตัวชี้วัด ท 1.1 ม 3/1 ท 1.1 ม 3/2 ท 1.1 ม. 3/3 ท 1.1 ม 3/4 ท 1.1 ม 3/9 ท 1.1 ม. 3/10 ท 2.2 ม 3/1 ท 2.2 ม 3/2 ท 2.2 ม 3/4 ท 2.2 ม 3/6 ท 2.2 ม 3/8 ท 2.2 ม 3/10 ท 3.3 ม 3/1 ท 3.3 ม 3/2 ท 3.3 ม 3/3 ท 3.3 ม 3/4 ท 3.3 ม 3/5 ท 3.3 ม 3/6 ท 4.4 ม 3/2 ท 4.4 ม 3/3 ท 4.4 ม 3/4 ท 4.4 ม 3/5 ท 4.4 ม 3/6 ท 5.5 ม 3/2 ท 5.5 ม 3/4