SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 26
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
คาชี้แจง
เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยาถึง
ธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 5 มีทั้งหมด11เล่มดังต่อไปนี้
เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่าคาตาบลแม่เงิน
เล่มที่ 2 อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1(พระเจ้าอู่ทอง)
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ในเอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่ม มีองค์ประกอบ คือ ปกนอก
ปกใน คานา สารบัญ คาชี้แจง คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน
พร้อมเฉลยคาตอบ เนื้อเรื่องแต่ละเล่ม คาอธิบายศัพท์ แบบฝึกหัดประจาเล่ม
พร้อมเฉลยคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียนพร้อมเฉลยคาตอบและบรรณานุกรม
เอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่มใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ เล่มละ 1-2 ชั่วโมง
ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ รวมเวลาเรียน 18 ชั่วโมงใน 11 เล่ม
2
คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน
1. เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยา
ถึงธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 4
ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก เป็นเอกสาร
ประกอบการเรียนที่จะทาให้นักเรียนเกิดความรู้ และตระหนักถึงความสาคัญ
ของ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น
เกิดความ รักท้องถิ่น และภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง และ รักความเป็นไทย
เป็นคนดีของครอบครัวและสังคม ให้อยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข
2. ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนในเอกสารประกอบการเรียน
ชุดประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และสมัยอยุธยาถึงธนบุรี ดังนี้
2.1 ศึกษาคาชี้แจงการใช้สาระสาคัญ และจุดประสงค์การเรียนรู้
2.2 ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ ของ
นักเรียนในเรื่องที่กาลังจะเรียนว่าอยู่ในเกณฑ์ใด
2.3 ศึกษาเนื้อหาสาระประจาเล่ม และทาแบบฝึกหัด
2.4 ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ
ของนักเรียนว่าเพิ่มมากขึ้นกว่าก่อนเรียนหรือไม่
2.5 นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ มีความรับผิดชอบ
มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่เปิดดูเฉลยก่อน เมื่อเกิดปัญหาให้สอบถาม ครูผู้สอน
และหากทาคะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์สามารถกลับมาทบทวนเนื้อหาสาระ และทา
แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบใหม่จนผ่านเกณฑ์
3
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
ส 4.3 : เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย
มีความรัก ความภูมิใจ และธารงความเป็นไทย
ตัวชี้วัด
ส 4.3 ป. 5/3 บอกประวัติและผลงานของบุคคลสาคัญสมัยอยุธยาและ
ธนบุรีที่น่าภาคภูมิใจ
4
จุดประสงค์การเรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการแก้ปัญหา
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
เป็นผู้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์และมีวินัย
1.อธิบายประวัติพระยาพิชัยดาบหักได้
2. อธิบายวีรกรรมหรือผลงานของพระยาพิชัยดาบหักได้
3. เป็นผู้ที่มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์และมีวินัย
5
นักเรียนกาเครื่องหมาย  ทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
(ข้อละ 1 คะแนน)
1. พระยาพิชัยดาบหัก เป็นทหารผู้กล้าในสมัยของกษัตริย์องค์ใด
ก. พระเจ้าอู่ทอง
ข. พระเจ้ากรุงธนบุรี
ค. พระนเรศวรมหาราช
ง. พระนารายณ์มหาราช
2. พระยาพิชัยดาบหักแสดงความสามารถด้านใดก่อนที่จะเข้ารับราชการ
ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ก. ชกมวย
ข. ฟันดาบ
ค. ยิงธนู
ง. กระบี่กระบอง
3. ข้อใด ไม่ใช่ ตาแหน่งของพระยาพิชัยดาบหัก
ก. หลวงพิชัยอาสา
ข. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ
ค. พระยาสีหราชเดโช
ง. พระยาวชิรปราการ
แบบทดสอบก่อนเรียน
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
คาชี้แจง
6
4. บรรดาศักดิ์ขั้นแรกของพระยาพิชัยดาบหัก คือข้อใด
ก. พระยาพิชัย
ข. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ
ค. หลวงพิชัยอาสา
ง. พระยาสีหราชเดโช
5. กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าครั้งที่ 2 ในสมัยของใคร
ก. พระมหินทราธิราช
ข. พระเจ้าเอกทัศ
ค. พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
ง. พระเจ้าบรมปาล
6. กองทัพของสมเด็จพระเจ้าตากสินตั้งมั่นอยู่ที่ใดก่อนจะกู้เอกราชคืนจากพม่า
ก. ลพบุรี
ข. สระบุรี
ค. สุพรรณบุรี
ง. จันทบุรี
7. ความดีความชอบครั้งสุดท้ายของพระยาพิชัยดาบหัก คือได้ไปปกครอง
เมืองใด
ก. ลพบุรี
ข. อุตรดิตถ์
ค. ตาก
ง. พิชัย
7
8. แม่ทัพพม่าผู้ใดเป็นผู้นาทัพไปโจมตีเมืองพิชัย เมื่อ พ.ศ. 2316
ก. โปสุพลา
ข. สุกี้นายกอง
ค. อะแซหวุ่นกี้
ง. จาเลงกาโบ
9. อาณาจักรใดมีพระเจ้าแผ่นดินเพียงพระองค์เดียว
ก. สุโขทัย
ข. อยุธยา
ค. ธนบุรี
ง. รัตนโกสินทร์
10. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงมีพระนามอีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร
ก. สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
ข. สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก
ค. สมเด็จพระเจ้าฟ้าวชิราวุธ
ง. สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์
เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ
ก่อนเรียนนะคะ
8
ข้อ คาตอบ
1. ข
2. ก
3. ง
4. ค
5. ข
6. ง
7. ง
8. ก
9. ค
10. ก
เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะคะ
9
พระยาพิชัยดาบหัก เป็นทหารเอกของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
มีชื่อเดิมว่าจ้อย เกิดที่เมืองพิชัย (ปัจจุบันคือบ้านห้วยคา อาเภอพิชัย จังหวัด
อุตรดิตถ์) ในราวปี พ.ศ. 2284 ในสมัยอยุธยาตอนปลาย ต่อมานายจ้อยได้เปลี่ยน
ชื่อใหม่เป็น “ทองดี” นายทองดีเป็นผู้ที่มีฝีมือมีความสามารถในการใช้ดาบหรือ
เชิงดาบและเป็นนักมวยที่มีฝีมือหาตัวจับยาก เป็นที่เลื่องลือในละแวกถิ่นที่อยู่
เป็นที่ชื่นชมของชาวบ้านผู้นิยมเชิงดาบและเชิงมวย
พระยาพิชัยดาบหัก
10
ต่อมาที่เมืองตาก (จังหวัดตากในปัจจุบัน) พระยาตาก (บรรดาศักดิ์ของ
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในขณะนั้น) ได้จัดให้มีพิธีการถือน้าพิพัฒน์
สัตยาที่วัดใหญ่เมืองตาก ได้จัดให้มีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ในงานนั้น
ได้จัดให้มีการประลองฝีมือในเชิงมวย นายทองดีได้เข้าไปเปรียบมวยด้วย
สามารถชกชนะนักมวยชั้นครูมวยหลายท่าน ฝีมือเป็นที่เลื่องลืออย่างยิ่ง
11
ในครั้งนั้น พระยาตากได้ชมการชกมวยแล้วรู้สึกพอใจเป็นอย่างยิ่ง
และชมเชยฝีมือในการชกมวยได้ให้ทรัพย์สินเงินทองพร้อมทั้งชักชวนให้ได้
เข้ารับราชการ นายทองดีจึงได้ตัดสินใจถวายตัวเป็นทหารของพระยาตากด้วย
ความจงรักภักดีตั้งแต่นั้นมา จนได้รับยศเป็น “หลวงพิชัยอาสา” รับการปูน
บาเหน็จรางวัลด้วยความสามารถในเวลาต่อมา
12
หลวงพิชัยอาสาได้ทุ่มเทกาลังความสามารถรับใช้ชาติอย่างเต็มที่เมื่อ
พระยาตากได้รับพระราชทาน โปรดเกล้าฯ จากสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์
อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) ให้เป็นพระยาวชิรปราการ ไปครองเมืองกาแพงเพชร
หลวงพิชัยอาสาได้ติดตามไปรับใช้อย่างใกล้ชิดด้วยความจงรักภักดีเสมอมา
13
ในปี พ.ศ. 2308 พม่าได้ล้อมกรุงศรีอยุธยา พระยาตากหรือพระยา
วชิรปราการได้ถูกเรียกตัวเข้าป้ องกันพระนครหลวงพระยาวชิรปราการ
หลวงพิชัยอาสาและทหารหาญได้เข้าปะทะต่อสู้กับพม่าจนพม่าถอยร่นไป
แต่พระองค์เกิดความท้อใจว่า กรุงศรีอยุธยาคงเสียแก่พม่าแน่นอน จึงพาทัพ
ตีฝ่าวงล้อมพม่า หนีไปที่จันทบุรี ครั้นถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2310 กรุงศรีอยุธยา
ก็เสียแก่พม่า แต่หลังจากนั้น 7 เดือน พระยาวชิรปราการได้ยกทัพขับไล่พม่า
จนพ่ายแพ้ออกจากกรุงศรีอยุธยาได้
14
หลวงพิชัยอาสามีส่วนร่วมกับพระยาตากในการกอบกู้เอกราชให้กับชาติไทย
เมื่อพระยาตากทาการปราบดาภิเษกขึ้นเป็นสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชและ
สถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานีแล้วจึงเลื่อนบรรดาศักดิ์หลวงพิชัยอาสาเป็นเจ้า
หมื่นไวยวรนาถ เป็นทหารราชองครักษ์ในพระองค์ใน พ.ศ. 2310 นั่นเอง ต่อมา
ในปี พ.ศ.2311พม่าได้ยกทัพเข้ามารุกรานกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เจ้าหมื่นไวยวรนาถได้เข้าโจมตีจนแตกพ่ายและได้มีการสู้รบปราบก๊กต่าง ๆ อีก
หลายคราว เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เสด็จกลับกรุงธนบุรี โปรดตั้งเจ้า
หมื่นไวยวรนาถเป็น“พระยาสีหราชเดโช”ก่อนจะเลื่อนขั้นและปูนบาเหน็จความชอบ
ให้เป็นพระยาพิชัย ปกครองเมืองพิชัย อันเป็นถิ่นกาเนิดของพระยาพิชัยต่อไป
15
จนกระทั่งใน พ.ศ.2316กองทัพพม่า นาโดยโปสุพลาแม่ทัพได้นาทัพพม่า
เข้าโจมตีเมืองพิชัย พระยาพิชัยใช้ดาบสองมือนาทัพออกต่อต้านอย่างเข้มแข็ง
ระหว่างการรบนั้นดาบในมือเล่มหนึ่งของพระยาพิชัยหักลง แต่พระยาพิชัย
ก็ไม่ได้ย่อท้อยังคงเข้าต่อสู้กับพม่าด้วยดาบดีและดาบหักในมือต่อไปจนในที่สุด
กองทัพพม่าก็แตกพ่ายไป วีรกรรมความกล้าหาญในครั้งนั้นทาให้พระยาพิชัย
ได้รับสมญาที่เรียกขานกันในเวลาต่อมาว่า “พระยาพิชัยดาบหัก”
เมื่อสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเป็นปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งหลังจาก
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสวรรคตแล้วพระองค์ทรงต้องการตัวพระยาพิชัย
ดาบหักไว้ใช้ในราชการ แต่พระยาพิชัยดาบหักมีความกตัญญูต่อสมเด็จ
พระเจ้าตากสินมหาราชมาก และได้ถึงแก่อสัญกรรมตามไป พระยาพิชัยดาบหัก
จึงได้ชื่อว่าเป็นแม่ทัพที่กล้าหาญ จงรักภักดี และยังมีความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ
ควรที่เราจะยึดถือเป็นเยี่ยงอย่าง
16
อนุสาวรีย์พระยาพิชัยดาบหัก ได้ถูกสร้างขึ้นและประดิษฐานอยู่หน้า
ศาลากลางจังหวัดอุตรดิตถ์ อาเภอเมือง เพื่อระลึกถึงเกียรติประวัติในเรื่องความ
องอาจกล้าหาญ รักชาติ และเสียสละของท่าน และมี “พิพิธภัณฑ์พระยาพิชัย” ที่
ภายในเก็บรวบรวมประวัติของพระยาพิชัยดาบหัก รวมทั้งแบบจาลองสนามรบ
และวิถีชีวิตผู้คนเมืองอุตรดิตถ์ในสมัยอยุธยาตอนปลาย รวมทั้งเครื่องมือ
เครื่องใช้ในสมัยโบราณ ซึ่งเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็นที่ศึกษาค้นคว้า
แสวงหาความรู้แก่อนุชนรุ่นหลังต่อไป
อนุสาวรีย์พระยาพิชัยดาบหัก
ที่มา : https://kiettisaktor.files.wordpress.com/2013/01/redding.jpg,2556.
17
ที่ คา อ่านว่า ความหมาย
1. ก๊ก ก๊ก พวก, หมู่, เหล่า
2. ความจงรักภักดี ความ-จง-รัก-ภัก-ดี การผูกใจรักด้วยความเคารพนับถือ
และรู้คุณอย่างยิ่งและความเลื่อมใส
3. จาลอง จา-ลอง แทน, ถ่ายแบบ
4. ถิ่นกาเนิด ถิ่น-กา-เหนิด ที่เกิด, ถิ่นฐานที่เกิด
5. ถือน้าพิพัฒน์
สัตยา
ถือ-น้า-พิ-พัด-
สัด-ตะ-ยา
ดื่มน้าสาบานถวายพระเจ้าแผ่นดิน
6. บรรดาศักดิ์ บัน-ดา-สัก ตาแหน่งขุนนางที่พระราชทานแก่
ข้าราชการ หรือบุคคลทั่วไปมีขุน
หลวง พระ พระยา เป็นต้น
7. ประดิษฐาน ประ-ดิด-สะ-ถาน การตั้งใจ, การก่อสร้าง
8. ประลอง ประ-ลอง ทดสอบความรู้ ความสามารถด้วย
การต่อสู้หรือแข่งขัน
9. ปูนบาเหน็จ ปูน-บา-เหน็ด ค่าความชอบเป็นพิเศษ, เงินตอบแทน
ความชอบที่ได้รับราชการ
10. พ่าย พ่าย แพ้
11. ยศ ยด เกียรติคุณ, ความยกย่องนับถือเกียรติ
ของตน, เกียรติของตน, เครื่องกาหนด
หมาย ฐานะ หรือชั้นของบุคคล
คาอธิบายศัพท์
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
18
ที่ คา อ่านว่า ความหมาย
12. ละแวก ละ-แวก บริเวณนั้น, ที่อยู่รอบจุดหมาย
ที่กาหนด
13. เลื่องลือ เลือง-ลือ รู้กันทั่วไป (มักใช้เกี่ยวกับชื่อเสียง)
14. สมญา สม-ยา ชื่อ, สมัญญา, สมญานาม
15. หาญ หาน กล้า, เก่ง, บังอาจ
16. องครักษ์ อง-คะ-รัก ผู้ใกล้ชิดรักษาความปลอดภัย
17. อนุชน อะ-นุ-ชน คนรุ่นต่อไป
18. เอกราช เอก-กะ-ราด ความเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่ใคร, มีอิสระ
เพื่อน ๆ มาทบทวนคาศัพท์
นะคะ
19
แบบฝึกหัดท้ายเล่ม
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
ให้นาอักษรทางขวามือมาเติมลงช่องว่างหน้าข้อความทางซ้ายมือ
ให้ถูกต้องมีความสัมพันธ์กัน (ข้อละ 1 คะแนน)
1. ชื่อเดิมของพระยาพิชัยดาบหัก
2. บ้านเกิดของพระยาพิชัยดาบหัก
3. สถานที่ประลองฝีมือเชิงมวย
4. พิธีการถือน้าพิพัฒน์ สัตยา
5. ยศของนายทองดีตอนถวายตัวเป็น
เป็นทหารพระยาตาก
6. ที่ตั้งของอนุสาวรีย์พระยาพิชัยดาบหัก
7. สถานที่รวบรวมประวัติของ
พระยาพิชัยดาบหัก
8. ก่อนปราบดาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์
แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
9. โปสุพลาแห่งทัพพม่ายกทัพโจมตีเมืองพิชัย
10. ผู้มีคุณธรรมด้านความกตัญญูกตเวทีความกล้าหาญ
และความจงรักภักดีต่อพระเจ้าตากสินมหาราช
ก. วัดใหญ่
ข. หน้าศาลากลาง
อาเภอ เมือง
จังหวัดอุตรดิตถ์
ค. พิพิธภัณฑ์พระยาพิชัย
ง. สมเด็จเจ้าพระยา
มหากษัตริย์ศึก
จ. ทองดีหรือจ้อย
ฉ. พ.ศ. 2316
ช. จังหวัดตาก
ซ. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ
ฌ. จังหวัดอุตรดิตถ์
ญ. พิพิธภัณฑ์สถาน
แห่งชาติ
ฎ. หลวงพิชัยอาสา
ฏ. พระยาพิชัยดาบหัก
คาชี้แจง
20
เฉลย แบบฝึกหัดท้ายเล่ม
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
ให้นาอักษรทางขวามือมาเติมลงช่องว่างหน้าข้อความทางซ้ายมือ
ให้ถูกต้องมีความสัมพันธ์กัน (ข้อละ 1 คะแนน)
จ 1. ชื่อเดิมของพระยาพิชัยดาบหัก
ฌ 2. บ้านเกิดของพระยาพิชัยดาบหัก
ช 3. สถานที่ประลองฝีมือเชิงมวย
ก 4. พิธีการถือน้าพิพัฒน์ สัตยา
ฎ 5. ยศของนายทองดีตอนถวายตัวเป็น
เป็นทหารพระยาตาก
ข 6. ที่ตั้งของอนุสาวรีย์พระยาพิชัยดาบหัก
ค 7. สถานที่รวบรวมประวัติของ
พระยาพิชัยดาบหัก
ง 8. ก่อนปราบดาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์
แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ฉ 9. โปสุพลาแห่งทัพพม่ายกทัพโจมตีเมืองพิชัย
ฏ 10. ผู้มีคุณธรรมด้านความกตัญญูกตเวทีความกล้าหาญ
และความจงรักภักดีต่อพระเจ้าตากสินมหาราช
ก. วัดใหญ่
ข. หน้าศาลากลาง
อาเภอ เมือง
จังหวัดอุตรดิตถ์
ค. พิพิธภัณฑ์พระยาพิชัย
ง. สมเด็จเจ้าพระยา
มหากษัตริย์ศึก
จ. ทองดีหรือจ้อย
ฉ. พ.ศ. 2316
ช. จังหวัดตาก
ซ. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ
ฌ. จังหวัดอุตรดิตถ์
ญ. พิพิธภัณฑ์สถาน
แห่งชาติ
ฎ. หลวงพิชัยอาสา
ฏ. พระยาพิชัยดาบหัก
คาชี้แจง
21
นักเรียนกาเครื่องหมาย  ทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
(ข้อละ 1 คะแนน)
1. กองทัพของสมเด็จพระเจ้าตากสินตั้งมั่นอยู่ที่ใดก่อนจะกู้เอกราชคืนจากพม่า
ก. ลพบุรี
ข. สระบุรี
ค. สุพรรณบุรี
ง. จันทบุรี
2. ความดีความชอบครั้งสุดท้ายของพระยาพิชัยดาบหัก คือได้ไปปกครอง
เมืองใด
ก. ลพบุรี
ข. อุตรดิตถ์
ค. ตาก
ง. พิชัย
3. แม่ทัพพม่าผู้ใดเป็นผู้นาทัพไปโจมตีเมืองพิชัย เมื่อ พ.ศ. 2316
ก. โปสุพลา
ข. สุกี้นายกอง
ค. อะแซหวุ่นกี้
ง. จาเลงกาโบ
คาชี้แจง
แบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
22
4. อาณาจักรใดมีพระเจ้าแผ่นดินเพียงพระองค์เดียว
ก. สุโขทัย
ข. อยุธยา
ค. ธนบุรี
ง. รัตนโกสินทร์
5. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงมีพระนามอีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร
ก. สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
ข. สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก
ค. สมเด็จพระเจ้าฟ้าวชิราวุธ
ง. สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์
6. พระยาพิชัยดาบหัก เป็นทหารผู้กล้าในสมัยของกษัตริย์องค์ใด
ก. พระเจ้าอู่ทอง
ข. พระเจ้ากรุงธนบุรี
ค. พระนเรศวรมหาราช
ง. พระนารายณ์มหาราช
7. พระยาพิชัยดาบหักแสดงความสามารถด้านใดก่อนที่จะเข้ารับราชการ
ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ก. ชกมวย
ข. ฟันดาบ
ค. ยิงธนู
ง. กระบี่กระบอง
23
8. ข้อใด ไม่ใช่ ตาแหน่งของพระยาพิชัยดาบหัก
ก. หลวงพิชัยอาสา
ข. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ
ค. พระยาสีหราชเดโช
ง. พระยาวชิรปราการ
9. บรรดาศักดิ์ขั้นแรกของพระยาพิชัยดาบหัก คือข้อใด
ก. พระยาพิชัย
ข. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ
ค. หลวงพิชัยอาสา
ง. พระยาสีหราชเดโช
10.กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าครั้งที่ 2 ในสมัยของใคร
ก. พระมหินทราธิราช
ข. พระเจ้าเอกทัศ
ค. พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
ง. พระเจ้าบรมปาล
เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ
หลังเรียนนะครับ
24
ข้อ คาตอบ
1. ง
2. ง
3. ก
4. ค
5. ก
6. ข
7. ก
8. ง
9. ค
10. ข
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะครับ
25
ดนัย ไชยโยธา. ประวัติศาสตร์ไทย :ยุคอาณาจักรอยุธยา.กรุงเทพมหานคร :
โอเดียนสโตร์,2547.
นวลจันทร์ ตุลารักษ์. ประวัติศาสตร์ :การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาชาติไทย.
กรุงเทพมหานคร :โอเดียนสโตร์,2547.
พัชร มาศมุสิก. คู่มือสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมป.5กรุงเทพมหานคร :
เดอะบุคส์, 2551.
ยุทธพงษ์ วงศ์เมืองสรรค์. หนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา
และวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.
กรุงเทพมหานคร :ประพันธ์สาสน์,2547.
วุฒิชัย มูลศิลป์. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ ป.5.
กรุงเทพมหานคร :อักษรเจริญทัศน์,2549.
สุดารา สุขฉายา. ประวัติศาสตร์สมัยกรุงธนบุรี.กรุงเทพมหานคร:สารคดี,
2550.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียน
สาระการเรียนรู้พื้นฐานประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.
กรุงเทพมหานคร :คุรุสภา,2547.
เอกรินทร์ สี่มหาศาลและคณะ. สื่อการเรียนรู้ สาระพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมแม่บทมาตรฐานประวัติศาสตร์ ป.5.
กรุงเทพมหานคร :อักษรเจริญทัศน์,2555.
ระบบออนไลน์
ชีวประวัติพระยาพิชัยดาบหัก. (ออนไลน์).แหล่งที่มา:
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=874608,2556.
บรรณานุกรม
26
อนุสาวรีย์พระยาพิชัยดาบหัก(ออนไลน์).แหล่งที่มา:
https://kiettisaktor.files.wordpress.com/2013/01/redding.jpg,2556.

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายkrunoree.wordpress.com
 
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียนแบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียนKansinee Kosirojhiran
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Pracha Wongsrida
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1school
 

Was ist angesagt? (20)

ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
 
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียนแบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
แบบระบายสีดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1
 

Andere mochten auch

ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ARM ARM
 
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...ครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์ หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์ สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านเล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านmaipoom
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ผอ.พีระยศ บุญเพ็ง
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำRung Kru
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพRung Kru
 

Andere mochten auch (13)

ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
นิทานหนังสืออ่านเพิ่มเติม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศษฐ...
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์ หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ครอบครัวสุขสันต์ เรื่องที่ 2ครอบครัวสุขสันต์
 
คุณธรรม8ประการ
คุณธรรม8ประการคุณธรรม8ประการ
คุณธรรม8ประการ
 
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านเล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
 

Ähnlich wie เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก

เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินChoengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนChoengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนChoengchai Rattanachai
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงรายเล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายChoengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสนChoengchai Rattanachai
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์sangworn
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1Beebe Benjamast
 
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ดุซงญอ ตำบล
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายChinnakorn Pawannay
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยRung Kru
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 

Ähnlich wie เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก (20)

เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงรายเล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
 
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 3  แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของเชียงแสน
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1
 
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
Brands so(o net)
Brands so(o net)Brands so(o net)
Brands so(o net)
 
ลังกากถา โดย ปิยเมธี
ลังกากถา โดย ปิยเมธีลังกากถา โดย ปิยเมธี
ลังกากถา โดย ปิยเมธี
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
 
ศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ยศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ย
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 

เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก

  • 1. 1 คาชี้แจง เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยาถึง ธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 มีทั้งหมด11เล่มดังต่อไปนี้ เล่มที่ 1 ตานานหมู่บ้านป่าคาตาบลแม่เงิน เล่มที่ 2 อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เล่มที่ 3 แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญของเชียงแสน เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สาคัญของเชียงแสน เล่มที่ 5 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1(พระเจ้าอู่ทอง) เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในเอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่ม มีองค์ประกอบ คือ ปกนอก ปกใน คานา สารบัญ คาชี้แจง คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน พร้อมเฉลยคาตอบ เนื้อเรื่องแต่ละเล่ม คาอธิบายศัพท์ แบบฝึกหัดประจาเล่ม พร้อมเฉลยคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียนพร้อมเฉลยคาตอบและบรรณานุกรม เอกสารประกอบการเรียนแต่ละเล่มใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ เล่มละ 1-2 ชั่วโมง ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ รวมเวลาเรียน 18 ชั่วโมงใน 11 เล่ม
  • 2. 2 คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน 1. เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสมัยอยุธยา ถึงธนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก เป็นเอกสาร ประกอบการเรียนที่จะทาให้นักเรียนเกิดความรู้ และตระหนักถึงความสาคัญ ของ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น เกิดความ รักท้องถิ่น และภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง และ รักความเป็นไทย เป็นคนดีของครอบครัวและสังคม ให้อยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข 2. ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนในเอกสารประกอบการเรียน ชุดประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และสมัยอยุธยาถึงธนบุรี ดังนี้ 2.1 ศึกษาคาชี้แจงการใช้สาระสาคัญ และจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.2 ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ ของ นักเรียนในเรื่องที่กาลังจะเรียนว่าอยู่ในเกณฑ์ใด 2.3 ศึกษาเนื้อหาสาระประจาเล่ม และทาแบบฝึกหัด 2.4 ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ ของนักเรียนว่าเพิ่มมากขึ้นกว่าก่อนเรียนหรือไม่ 2.5 นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมด้วยความตั้งใจ มีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่เปิดดูเฉลยก่อน เมื่อเกิดปัญหาให้สอบถาม ครูผู้สอน และหากทาคะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์สามารถกลับมาทบทวนเนื้อหาสาระ และทา แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบใหม่จนผ่านเกณฑ์
  • 3. 3 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.3 : เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธารงความเป็นไทย ตัวชี้วัด ส 4.3 ป. 5/3 บอกประวัติและผลงานของบุคคลสาคัญสมัยอยุธยาและ ธนบุรีที่น่าภาคภูมิใจ
  • 5. 5 นักเรียนกาเครื่องหมาย  ทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 1 คะแนน) 1. พระยาพิชัยดาบหัก เป็นทหารผู้กล้าในสมัยของกษัตริย์องค์ใด ก. พระเจ้าอู่ทอง ข. พระเจ้ากรุงธนบุรี ค. พระนเรศวรมหาราช ง. พระนารายณ์มหาราช 2. พระยาพิชัยดาบหักแสดงความสามารถด้านใดก่อนที่จะเข้ารับราชการ ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ก. ชกมวย ข. ฟันดาบ ค. ยิงธนู ง. กระบี่กระบอง 3. ข้อใด ไม่ใช่ ตาแหน่งของพระยาพิชัยดาบหัก ก. หลวงพิชัยอาสา ข. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ ค. พระยาสีหราชเดโช ง. พระยาวชิรปราการ แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก คาชี้แจง
  • 6. 6 4. บรรดาศักดิ์ขั้นแรกของพระยาพิชัยดาบหัก คือข้อใด ก. พระยาพิชัย ข. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ ค. หลวงพิชัยอาสา ง. พระยาสีหราชเดโช 5. กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าครั้งที่ 2 ในสมัยของใคร ก. พระมหินทราธิราช ข. พระเจ้าเอกทัศ ค. พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ง. พระเจ้าบรมปาล 6. กองทัพของสมเด็จพระเจ้าตากสินตั้งมั่นอยู่ที่ใดก่อนจะกู้เอกราชคืนจากพม่า ก. ลพบุรี ข. สระบุรี ค. สุพรรณบุรี ง. จันทบุรี 7. ความดีความชอบครั้งสุดท้ายของพระยาพิชัยดาบหัก คือได้ไปปกครอง เมืองใด ก. ลพบุรี ข. อุตรดิตถ์ ค. ตาก ง. พิชัย
  • 7. 7 8. แม่ทัพพม่าผู้ใดเป็นผู้นาทัพไปโจมตีเมืองพิชัย เมื่อ พ.ศ. 2316 ก. โปสุพลา ข. สุกี้นายกอง ค. อะแซหวุ่นกี้ ง. จาเลงกาโบ 9. อาณาจักรใดมีพระเจ้าแผ่นดินเพียงพระองค์เดียว ก. สุโขทัย ข. อยุธยา ค. ธนบุรี ง. รัตนโกสินทร์ 10. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงมีพระนามอีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร ก. สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ข. สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ค. สมเด็จพระเจ้าฟ้าวชิราวุธ ง. สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ ก่อนเรียนนะคะ
  • 8. 8 ข้อ คาตอบ 1. ข 2. ก 3. ง 4. ค 5. ข 6. ง 7. ง 8. ก 9. ค 10. ก เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะคะ
  • 9. 9 พระยาพิชัยดาบหัก เป็นทหารเอกของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มีชื่อเดิมว่าจ้อย เกิดที่เมืองพิชัย (ปัจจุบันคือบ้านห้วยคา อาเภอพิชัย จังหวัด อุตรดิตถ์) ในราวปี พ.ศ. 2284 ในสมัยอยุธยาตอนปลาย ต่อมานายจ้อยได้เปลี่ยน ชื่อใหม่เป็น “ทองดี” นายทองดีเป็นผู้ที่มีฝีมือมีความสามารถในการใช้ดาบหรือ เชิงดาบและเป็นนักมวยที่มีฝีมือหาตัวจับยาก เป็นที่เลื่องลือในละแวกถิ่นที่อยู่ เป็นที่ชื่นชมของชาวบ้านผู้นิยมเชิงดาบและเชิงมวย พระยาพิชัยดาบหัก
  • 10. 10 ต่อมาที่เมืองตาก (จังหวัดตากในปัจจุบัน) พระยาตาก (บรรดาศักดิ์ของ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในขณะนั้น) ได้จัดให้มีพิธีการถือน้าพิพัฒน์ สัตยาที่วัดใหญ่เมืองตาก ได้จัดให้มีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ในงานนั้น ได้จัดให้มีการประลองฝีมือในเชิงมวย นายทองดีได้เข้าไปเปรียบมวยด้วย สามารถชกชนะนักมวยชั้นครูมวยหลายท่าน ฝีมือเป็นที่เลื่องลืออย่างยิ่ง
  • 11. 11 ในครั้งนั้น พระยาตากได้ชมการชกมวยแล้วรู้สึกพอใจเป็นอย่างยิ่ง และชมเชยฝีมือในการชกมวยได้ให้ทรัพย์สินเงินทองพร้อมทั้งชักชวนให้ได้ เข้ารับราชการ นายทองดีจึงได้ตัดสินใจถวายตัวเป็นทหารของพระยาตากด้วย ความจงรักภักดีตั้งแต่นั้นมา จนได้รับยศเป็น “หลวงพิชัยอาสา” รับการปูน บาเหน็จรางวัลด้วยความสามารถในเวลาต่อมา
  • 12. 12 หลวงพิชัยอาสาได้ทุ่มเทกาลังความสามารถรับใช้ชาติอย่างเต็มที่เมื่อ พระยาตากได้รับพระราชทาน โปรดเกล้าฯ จากสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์ อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) ให้เป็นพระยาวชิรปราการ ไปครองเมืองกาแพงเพชร หลวงพิชัยอาสาได้ติดตามไปรับใช้อย่างใกล้ชิดด้วยความจงรักภักดีเสมอมา
  • 13. 13 ในปี พ.ศ. 2308 พม่าได้ล้อมกรุงศรีอยุธยา พระยาตากหรือพระยา วชิรปราการได้ถูกเรียกตัวเข้าป้ องกันพระนครหลวงพระยาวชิรปราการ หลวงพิชัยอาสาและทหารหาญได้เข้าปะทะต่อสู้กับพม่าจนพม่าถอยร่นไป แต่พระองค์เกิดความท้อใจว่า กรุงศรีอยุธยาคงเสียแก่พม่าแน่นอน จึงพาทัพ ตีฝ่าวงล้อมพม่า หนีไปที่จันทบุรี ครั้นถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2310 กรุงศรีอยุธยา ก็เสียแก่พม่า แต่หลังจากนั้น 7 เดือน พระยาวชิรปราการได้ยกทัพขับไล่พม่า จนพ่ายแพ้ออกจากกรุงศรีอยุธยาได้
  • 14. 14 หลวงพิชัยอาสามีส่วนร่วมกับพระยาตากในการกอบกู้เอกราชให้กับชาติไทย เมื่อพระยาตากทาการปราบดาภิเษกขึ้นเป็นสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชและ สถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานีแล้วจึงเลื่อนบรรดาศักดิ์หลวงพิชัยอาสาเป็นเจ้า หมื่นไวยวรนาถ เป็นทหารราชองครักษ์ในพระองค์ใน พ.ศ. 2310 นั่นเอง ต่อมา ในปี พ.ศ.2311พม่าได้ยกทัพเข้ามารุกรานกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เจ้าหมื่นไวยวรนาถได้เข้าโจมตีจนแตกพ่ายและได้มีการสู้รบปราบก๊กต่าง ๆ อีก หลายคราว เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เสด็จกลับกรุงธนบุรี โปรดตั้งเจ้า หมื่นไวยวรนาถเป็น“พระยาสีหราชเดโช”ก่อนจะเลื่อนขั้นและปูนบาเหน็จความชอบ ให้เป็นพระยาพิชัย ปกครองเมืองพิชัย อันเป็นถิ่นกาเนิดของพระยาพิชัยต่อไป
  • 15. 15 จนกระทั่งใน พ.ศ.2316กองทัพพม่า นาโดยโปสุพลาแม่ทัพได้นาทัพพม่า เข้าโจมตีเมืองพิชัย พระยาพิชัยใช้ดาบสองมือนาทัพออกต่อต้านอย่างเข้มแข็ง ระหว่างการรบนั้นดาบในมือเล่มหนึ่งของพระยาพิชัยหักลง แต่พระยาพิชัย ก็ไม่ได้ย่อท้อยังคงเข้าต่อสู้กับพม่าด้วยดาบดีและดาบหักในมือต่อไปจนในที่สุด กองทัพพม่าก็แตกพ่ายไป วีรกรรมความกล้าหาญในครั้งนั้นทาให้พระยาพิชัย ได้รับสมญาที่เรียกขานกันในเวลาต่อมาว่า “พระยาพิชัยดาบหัก” เมื่อสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเป็นปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งหลังจาก สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสวรรคตแล้วพระองค์ทรงต้องการตัวพระยาพิชัย ดาบหักไว้ใช้ในราชการ แต่พระยาพิชัยดาบหักมีความกตัญญูต่อสมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราชมาก และได้ถึงแก่อสัญกรรมตามไป พระยาพิชัยดาบหัก จึงได้ชื่อว่าเป็นแม่ทัพที่กล้าหาญ จงรักภักดี และยังมีความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ ควรที่เราจะยึดถือเป็นเยี่ยงอย่าง
  • 16. 16 อนุสาวรีย์พระยาพิชัยดาบหัก ได้ถูกสร้างขึ้นและประดิษฐานอยู่หน้า ศาลากลางจังหวัดอุตรดิตถ์ อาเภอเมือง เพื่อระลึกถึงเกียรติประวัติในเรื่องความ องอาจกล้าหาญ รักชาติ และเสียสละของท่าน และมี “พิพิธภัณฑ์พระยาพิชัย” ที่ ภายในเก็บรวบรวมประวัติของพระยาพิชัยดาบหัก รวมทั้งแบบจาลองสนามรบ และวิถีชีวิตผู้คนเมืองอุตรดิตถ์ในสมัยอยุธยาตอนปลาย รวมทั้งเครื่องมือ เครื่องใช้ในสมัยโบราณ ซึ่งเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็นที่ศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้แก่อนุชนรุ่นหลังต่อไป อนุสาวรีย์พระยาพิชัยดาบหัก ที่มา : https://kiettisaktor.files.wordpress.com/2013/01/redding.jpg,2556.
  • 17. 17 ที่ คา อ่านว่า ความหมาย 1. ก๊ก ก๊ก พวก, หมู่, เหล่า 2. ความจงรักภักดี ความ-จง-รัก-ภัก-ดี การผูกใจรักด้วยความเคารพนับถือ และรู้คุณอย่างยิ่งและความเลื่อมใส 3. จาลอง จา-ลอง แทน, ถ่ายแบบ 4. ถิ่นกาเนิด ถิ่น-กา-เหนิด ที่เกิด, ถิ่นฐานที่เกิด 5. ถือน้าพิพัฒน์ สัตยา ถือ-น้า-พิ-พัด- สัด-ตะ-ยา ดื่มน้าสาบานถวายพระเจ้าแผ่นดิน 6. บรรดาศักดิ์ บัน-ดา-สัก ตาแหน่งขุนนางที่พระราชทานแก่ ข้าราชการ หรือบุคคลทั่วไปมีขุน หลวง พระ พระยา เป็นต้น 7. ประดิษฐาน ประ-ดิด-สะ-ถาน การตั้งใจ, การก่อสร้าง 8. ประลอง ประ-ลอง ทดสอบความรู้ ความสามารถด้วย การต่อสู้หรือแข่งขัน 9. ปูนบาเหน็จ ปูน-บา-เหน็ด ค่าความชอบเป็นพิเศษ, เงินตอบแทน ความชอบที่ได้รับราชการ 10. พ่าย พ่าย แพ้ 11. ยศ ยด เกียรติคุณ, ความยกย่องนับถือเกียรติ ของตน, เกียรติของตน, เครื่องกาหนด หมาย ฐานะ หรือชั้นของบุคคล คาอธิบายศัพท์ เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
  • 18. 18 ที่ คา อ่านว่า ความหมาย 12. ละแวก ละ-แวก บริเวณนั้น, ที่อยู่รอบจุดหมาย ที่กาหนด 13. เลื่องลือ เลือง-ลือ รู้กันทั่วไป (มักใช้เกี่ยวกับชื่อเสียง) 14. สมญา สม-ยา ชื่อ, สมัญญา, สมญานาม 15. หาญ หาน กล้า, เก่ง, บังอาจ 16. องครักษ์ อง-คะ-รัก ผู้ใกล้ชิดรักษาความปลอดภัย 17. อนุชน อะ-นุ-ชน คนรุ่นต่อไป 18. เอกราช เอก-กะ-ราด ความเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่ใคร, มีอิสระ เพื่อน ๆ มาทบทวนคาศัพท์ นะคะ
  • 19. 19 แบบฝึกหัดท้ายเล่ม เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก ให้นาอักษรทางขวามือมาเติมลงช่องว่างหน้าข้อความทางซ้ายมือ ให้ถูกต้องมีความสัมพันธ์กัน (ข้อละ 1 คะแนน) 1. ชื่อเดิมของพระยาพิชัยดาบหัก 2. บ้านเกิดของพระยาพิชัยดาบหัก 3. สถานที่ประลองฝีมือเชิงมวย 4. พิธีการถือน้าพิพัฒน์ สัตยา 5. ยศของนายทองดีตอนถวายตัวเป็น เป็นทหารพระยาตาก 6. ที่ตั้งของอนุสาวรีย์พระยาพิชัยดาบหัก 7. สถานที่รวบรวมประวัติของ พระยาพิชัยดาบหัก 8. ก่อนปราบดาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ 9. โปสุพลาแห่งทัพพม่ายกทัพโจมตีเมืองพิชัย 10. ผู้มีคุณธรรมด้านความกตัญญูกตเวทีความกล้าหาญ และความจงรักภักดีต่อพระเจ้าตากสินมหาราช ก. วัดใหญ่ ข. หน้าศาลากลาง อาเภอ เมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ค. พิพิธภัณฑ์พระยาพิชัย ง. สมเด็จเจ้าพระยา มหากษัตริย์ศึก จ. ทองดีหรือจ้อย ฉ. พ.ศ. 2316 ช. จังหวัดตาก ซ. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ ฌ. จังหวัดอุตรดิตถ์ ญ. พิพิธภัณฑ์สถาน แห่งชาติ ฎ. หลวงพิชัยอาสา ฏ. พระยาพิชัยดาบหัก คาชี้แจง
  • 20. 20 เฉลย แบบฝึกหัดท้ายเล่ม เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก ให้นาอักษรทางขวามือมาเติมลงช่องว่างหน้าข้อความทางซ้ายมือ ให้ถูกต้องมีความสัมพันธ์กัน (ข้อละ 1 คะแนน) จ 1. ชื่อเดิมของพระยาพิชัยดาบหัก ฌ 2. บ้านเกิดของพระยาพิชัยดาบหัก ช 3. สถานที่ประลองฝีมือเชิงมวย ก 4. พิธีการถือน้าพิพัฒน์ สัตยา ฎ 5. ยศของนายทองดีตอนถวายตัวเป็น เป็นทหารพระยาตาก ข 6. ที่ตั้งของอนุสาวรีย์พระยาพิชัยดาบหัก ค 7. สถานที่รวบรวมประวัติของ พระยาพิชัยดาบหัก ง 8. ก่อนปราบดาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ฉ 9. โปสุพลาแห่งทัพพม่ายกทัพโจมตีเมืองพิชัย ฏ 10. ผู้มีคุณธรรมด้านความกตัญญูกตเวทีความกล้าหาญ และความจงรักภักดีต่อพระเจ้าตากสินมหาราช ก. วัดใหญ่ ข. หน้าศาลากลาง อาเภอ เมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ค. พิพิธภัณฑ์พระยาพิชัย ง. สมเด็จเจ้าพระยา มหากษัตริย์ศึก จ. ทองดีหรือจ้อย ฉ. พ.ศ. 2316 ช. จังหวัดตาก ซ. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ ฌ. จังหวัดอุตรดิตถ์ ญ. พิพิธภัณฑ์สถาน แห่งชาติ ฎ. หลวงพิชัยอาสา ฏ. พระยาพิชัยดาบหัก คาชี้แจง
  • 21. 21 นักเรียนกาเครื่องหมาย  ทับหน้าข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว (ข้อละ 1 คะแนน) 1. กองทัพของสมเด็จพระเจ้าตากสินตั้งมั่นอยู่ที่ใดก่อนจะกู้เอกราชคืนจากพม่า ก. ลพบุรี ข. สระบุรี ค. สุพรรณบุรี ง. จันทบุรี 2. ความดีความชอบครั้งสุดท้ายของพระยาพิชัยดาบหัก คือได้ไปปกครอง เมืองใด ก. ลพบุรี ข. อุตรดิตถ์ ค. ตาก ง. พิชัย 3. แม่ทัพพม่าผู้ใดเป็นผู้นาทัพไปโจมตีเมืองพิชัย เมื่อ พ.ศ. 2316 ก. โปสุพลา ข. สุกี้นายกอง ค. อะแซหวุ่นกี้ ง. จาเลงกาโบ คาชี้แจง แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
  • 22. 22 4. อาณาจักรใดมีพระเจ้าแผ่นดินเพียงพระองค์เดียว ก. สุโขทัย ข. อยุธยา ค. ธนบุรี ง. รัตนโกสินทร์ 5. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงมีพระนามอีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร ก. สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ข. สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ค. สมเด็จพระเจ้าฟ้าวชิราวุธ ง. สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ 6. พระยาพิชัยดาบหัก เป็นทหารผู้กล้าในสมัยของกษัตริย์องค์ใด ก. พระเจ้าอู่ทอง ข. พระเจ้ากรุงธนบุรี ค. พระนเรศวรมหาราช ง. พระนารายณ์มหาราช 7. พระยาพิชัยดาบหักแสดงความสามารถด้านใดก่อนที่จะเข้ารับราชการ ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ก. ชกมวย ข. ฟันดาบ ค. ยิงธนู ง. กระบี่กระบอง
  • 23. 23 8. ข้อใด ไม่ใช่ ตาแหน่งของพระยาพิชัยดาบหัก ก. หลวงพิชัยอาสา ข. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ ค. พระยาสีหราชเดโช ง. พระยาวชิรปราการ 9. บรรดาศักดิ์ขั้นแรกของพระยาพิชัยดาบหัก คือข้อใด ก. พระยาพิชัย ข. เจ้าหมื่นไวยวรนาถ ค. หลวงพิชัยอาสา ง. พระยาสีหราชเดโช 10.กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าครั้งที่ 2 ในสมัยของใคร ก. พระมหินทราธิราช ข. พระเจ้าเอกทัศ ค. พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ง. พระเจ้าบรมปาล เพื่อน ๆ ทาแบบทดสอบ หลังเรียนนะครับ
  • 24. 24 ข้อ คาตอบ 1. ง 2. ง 3. ก 4. ค 5. ก 6. ข 7. ก 8. ง 9. ค 10. ข เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก เพื่อน ๆ ตรวจคาตอบนะครับ
  • 25. 25 ดนัย ไชยโยธา. ประวัติศาสตร์ไทย :ยุคอาณาจักรอยุธยา.กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์,2547. นวลจันทร์ ตุลารักษ์. ประวัติศาสตร์ :การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาชาติไทย. กรุงเทพมหานคร :โอเดียนสโตร์,2547. พัชร มาศมุสิก. คู่มือสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมป.5กรุงเทพมหานคร : เดอะบุคส์, 2551. ยุทธพงษ์ วงศ์เมืองสรรค์. หนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพมหานคร :ประพันธ์สาสน์,2547. วุฒิชัย มูลศิลป์. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ ป.5. กรุงเทพมหานคร :อักษรเจริญทัศน์,2549. สุดารา สุขฉายา. ประวัติศาสตร์สมัยกรุงธนบุรี.กรุงเทพมหานคร:สารคดี, 2550. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐานประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพมหานคร :คุรุสภา,2547. เอกรินทร์ สี่มหาศาลและคณะ. สื่อการเรียนรู้ สาระพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมแม่บทมาตรฐานประวัติศาสตร์ ป.5. กรุงเทพมหานคร :อักษรเจริญทัศน์,2555. ระบบออนไลน์ ชีวประวัติพระยาพิชัยดาบหัก. (ออนไลน์).แหล่งที่มา: http://www.oknation.net/blog/print.php?id=874608,2556. บรรณานุกรม