SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 13
ทวีปยุโรป
                        ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์
1. ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรป
      เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความเป็นมาของทวีปยุโรปในอดีต สรุป
กรณีสำาคัญได้ ดังนี้
             1.1 ต้นกำา เนิดอารยธรรมของทวีปยุโรป ความเจริญของยุ
โรคในด้านต่างๆ ล้วนมี รากฐาน มาจากอารยธรรมกรีก – โรมันในสมัย
โบราณเกือบทั้งสิ้น ทั้งในด้านปรัชญา วรรณกรรม ศิลปกรรมและการ
ปกครอง เป็นต้น
             1.2 ส มั ย ฟื้ น ฟู ศิ ล ป วิ ท ย า ก า ร ห รื อ เ ร อ เ น ส ซ อ ง ส์
(Renaissances) เป็ น ยุ คที่ ยุ โ รปกลั บ มานิ ย มรู ป แบบศิ ล ปวั ฒ นธรรม
ของกรี ก -โรมั น อี กครั้ ง เริ่ ม ตั้ ง แต่ ใ นคริ ส ต์ ศตวรรษที่ 15 เป็ น ต้ น มาดั ง
ปรากฏผลงานการสร้างสรรค์ทางด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมแขนง
ต่าง ๆ ทีเป็นมรดกตกทอดมาถึงปัจจุบัน
           ่
             1.3 การสำา รวจดิ น แดนโพ้ น ทะเล ในคริ ส ต์ ศ ตวรรษที่ 16
ชาวยุโรปหลายชาติออกเดินเรือสำา รวจทางทะเล เพื่อแสวงหาดินแดน
ใหม่ ๆ ที่มีความอุดมสมบูรณ์ในทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อครอบครองเป็น
อาณานิ ค มของตน ทั้ ง ในทวี ป อเมริ ก าเหนื อ ทวี ป แอฟริ ก า และทวี ป
เอเชีย ชาติที่ เป็ นผู้นำา ได้ แ ก่ สเปน โปร์ ตุเ กส ฝรั่ ง เศส และอั ง กฤษ
เป็นต้น
             1.4 ความก้ า วหน้ า ทางภู มิ ปั ญ ญาของชาวยุ โ รป ตั้ ง แต่
คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา เป็นผลจากการสำารวจดินแดนโพ้นทะเล
ทำา ให้ ช าวยุ โ รปได้ รั บ รู้ วิ ท ยาการของชนชาติ อ าหรั บ จี น อิ น เดี ย ฯลฯ
เกิ ดความเชื่ อมั่ น ในสติ ปั ญ ญาความสามารถของมนุ ษย์ มี ก ารค้ น คว้ า
ทดลองสิ่งประดิษฐ์และความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และหลุดพ้นจากการ
ครอบงำาทางความคิดของฝ่ายคริสตจักร
             1.5 การปฏิวัติอุตสาหกรรม ผลจากความเจริญก้าวหน้าทาง
ด้านวิทยาศาสตร์ทำา ให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม ในคริสต์สตวรรษที่
17 โดยเริ่มที่อังกฤษเป็นชาติแรก มีการเปลี่ ยนแปลงวิธีการผลิ ตจาก
การใช้แรงงานคนมาใช้เครื่องจักรแทน ทำาให้ผลิตสินค้าได้ปริมาณมาก
             1.6 การเกิดสงครามโลก ครั้งที่ 1 (ค.ศ.1914-1918) และ
สงครามโลก ครั้ ง ที่ 2 (ค.ศ.1939-1945) สมรภู มิ ก ารรบเกิ ด ขึ้ น ใน
ยุโรป โดยมีสาเหตุของสงครามเกี่ยวข้องกับประเทศต่าง ๆ ในยุโรปทั้ง
สิ้ น เช่ น ความขั ด แย้ ง ในผลประโยชน์ ท างเศรษฐกิ จ และการเมื อ ง
ปัญหาพรมแดน และปัญหาเชื้อชาติของประชากร เป็นต้น
             ลักษณะทางกายภาพของทวีปยุโรป
٢. ขนาด ทำาเลที่ตั้ง และจำานวนประเทศ
        2.1 ขนาด ทวีปยุโรปมีพื้นที่ประมาณ 10.5 ล้านตาราง
กิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ในบรรดาทวีปทั้ง 7 ทวีปของ
โลก

        2.2 ที่ตั้ง แผ่นดินของทวีปยุโรปทั้งหมดอยู่ในซีกโลกเหนือ
พิกัดทางภูมิศาสตร์คือ
          ละติจูด     ระหว่าง ٣٦             ถึง ٧١ องศาเหนือ
          ลองจิจูด ระหว่าง            ٩      องศาตะวันตก ถึง ٦٦
องศาตะวันออก
        ٢.٣ จำานวนประเทศ ทวีปยุโรปมีประเทศใหญ่น้อยรวมทั้งสิ้น
٤ ประเทศ
            (١) ประเทศทีมีพื้นที่ใหญ่ที่สุด คือ สหพันธรัฐรัสเซีย (٣,
                           ่
٨٩٣,٣٤٨ ตารางกิโลเมตร)
            (٢) รัฐอิสระที่มีพื้นที่เล็กที่สุด คือ นครรัฐวาติกัน (٠.
٤٤ ตารางกิโลเมตร)

٣. อาณาเขต
   ทวีปยุโรปมีอาณาเขตติดต่อกับน่านนำ้ามหาสมุทรและดิน
แดนต่าง ๆ ดังนี้
     ٣.١ ทิศเหนือ      จรดมหาสมุทรอาร์กติก
     ٣.٢ ทิศใต้    จรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
     ٣.٣ ทิศตะวันตก    จรดมหาสมุทรแอตแลนติก
     ٣.٤ ทิศตะวันออก จรดแผ่นดินทวีปเอเชีย

٤. พรมแดนธรรมชาติที่กั้นระหว่างทวีปยุโรปกับทวีป
เอเชีย
     ดินแดนทางด้านตะวันออกของทวีปยุโรป มีอาณาเขตจรดแผ่นดิน
ทวีปเอเชีย โดยมีพรมแดนธรรมชาติเป็นแนวกั้นแบ่งเขตแดน ดังนี้
     ٤.١ เทือกเขาอูราล
     ٤.٢ แม่นำ้าอูราล
٤.٣ ทะเลแคสเปียน
       ٤.٤ เทือกเขาคอเคซัส
       ٤.٥ ทะเลดำา

٥. โครงสร้างทางธรณีวิทยา
        ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาของทวีปยุโรป สรุปได้ ٢
ลักษณะ คือ
        5.1 เขตยุโรปใต้และยุโรปตะวันตก โครงสร้างเปลือกโลกอยู่ใน
ยุคหินใหม่ ประกอบด้วย เทือกเขาสูง ทีราบสูง และเกาะ ซึ่งเปลือกโลก
                                                ่
ยังคงมีความเปลียนแปลงไม่มั่นคง จึงอยู่ในแนวแผ่นดิน ไหวและ
                      ่
ภูเขาไฟระเบิด
        5.2 เขตยุโรปเหนือและยุโรปตะวันออก โครงสร้างเปลือกโลก
อยู่ ใ นยุ คหิ น เก่ า ซึ่ ง เปลื อ กโลกมี ค วามมั่ น คง มี ภู เ ขาไม่ สู ง ชั น มากนั ก
บริเวณยุโรปเหนือมีลักษณะชายฝั่งทะเลเว้า ๆ แหว่ง ๆ เป็นอ่าวเล็ก ๆ
เกิ ด จากการกั ด เซาะของธารนำ้า แข็ ง เรี ย กว่ า “ชายฝั่ ง แบบฟยอร์ ด ”
(Fjord) และยังมีทะเลสาบใหญ่น้อยอีกจำานวนมาก

                           ลักษณะภูมิประเทศ
6. เขตภูมิประเทศของทวีปยุโรป
      ทวี ป ยุ โ รปได้ ชื่ อ ว่ า เป็ น คาบสมุ ท รส่ ว นหนึ่ ง ของทวี ป เอเชี ย มี
ชายฝั่ ง ทะเลยาวและเว้ า แหว่ ง มากลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศจำา แนกได้ ٦
เขต ดังนี้
      ٦.١ เขตเทื อ กเขาอู ร าล (Ural) เป็ น แนวเทื อ กเขายุ ค หิ น เก่ า
ทางด้ า นตะวั น ออกของทวี ป ยุ โ รป มี อ ายุ ม ากและได้ ผ่ า นกระบวนการ
กัดกร่อนพังทลายมานานแล้ว จึงมีภูเขาเตี้ย ๆ กระจายอยูทั่วไป        ่
      ٦.٢ เขตเทื อ กเขาสแกนดิ เ นเวี ย เป็ น แนวเทื อ กเขาทอดตั ว
เป็นแกนกลางของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย (ตอนเหนือของทวีปยุโรป)
เป็นเขตหินยุคเก่าที่มีอายุมากซึ่งถูกธารนำ้า แข็งกัดเซาะจนสึกกร่อนพัง
ทลายและลดระดับความสูงลง
      ٦.٣ เขตเทือกเขาภาคใต้ เป็นเขตภูเขายุคหินใหม่ที่เปลือกโลก
ยังไม่สงบตัวจึงอยู่ในแนวของแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด เป็นเทือก
เขาที่มีความสูงมาก ได้แก่ เทือกเขาแอลป์ (Alps) เทือกเขาแอปเพน
ไนน์ (Appenine) และเทือกเขาคาร์เปเทียน (Carpethian) เป็นต้น
6.4 เขตที่ ร าบใหญ่ ภ าคกลาง เป็ น ที่ ร าบกว้ า งใหญ่ ท างตอน
กลางของทวีปยุโรป มีดินและนำ้า อุดมสมบูรณ์จึงเป็นแหล่งเพาะปลูกที่
สำา คัญ มีแม่นำ้า ไหลผ่านหลายสาย มีประชากรหนาแน่น จึงเป็นเขตที่มี
ความสำาคัญต่อเศรษฐกิจของทวีปยุโรปอย่างมาก
          ٦.٥ เขตที่ราบสูงภาคกลาง ในอดีตเคยเป็นภูเขาสูงซึ่งเกิดการ
สึกกร่อนพังทลายจนกลาย เป็นที่ราบสูงและมีเทือกเขาเตี้ย ๆ กระจาย
อยู่ทวไป ทีราบสูงภาคกลาง ได้แก่
       ั่      ่
                   (١) ที่ ร าบสู ง เมเซตา (Meseta) คาบสมุ ท รไอบี เ รี ย
ประเทศสเปนและโปร์ตุเกส
                  (٢) ที่ ร าบสู ง มั ส ซิ ฟ ซองตรั ล (Massif Central) ประเทศ
ฝรั่งเศส
                   (٣) ที่ ร าบสู ง แบล็ ก ฟอเรสต์ (Black Forest) ประเทศ
เยอรมนี
                 (٤) ที่ราบสูงโบฮีเมีย (Bohemia) บริเวณรอยต่อพรมแดน
ของเยอรมนี และเช็ก
          ٦.٦ เกาะ คาบสมุ ทร และช่ อ งแคบ ลัก ษณะภู มิ ป ระเทศแบบ
พิเศษของทวีปยุโรป มีดังนี้
                 (١) เกาะ เกาะขนาดใหญ่ของทวีปยุโรป ได้แก่ เกาะอังกฤษ
และเกาะไอร์แ ลนด์ (Ireland) ส่ ว นใหญ่ มีลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศเป็ น ที่ ร าบ
ส่วนเกาะไอซ์แลนด์ (Iceland) มีภูมิประเทศเป็นภูเขา
                 (٢) คาบสมุทร เป็นแผ่น ดิน ที่ยื่น ออกสู่ ทะเล คาบสมุ ทรที่
สำา คั ญ ของทวี ป ยุ โ รป ได้ แ ก่ คาบสมุ ท รไอบี เ รี ย คาบสมุ ท รบอลคาน
คาบสมุทรอิตาลี คาบสมุทรจัตแลนด์ และคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย
                 (٣) ช่องแคบ เกิดจากการแยกตัวของแผ่นดิน ทำา ให้ทะเล
หรือมหาสมุทรเชื่อมต่อกัน ใช้ประโยชน์ในการเดินเรือทางทะเล ได้แก่
ช่องแคบยิบรอลตาร์ (Gibraltar) และช่องแคบโดเวอร์ (Dover) เป็นต้น



٧. แม่นำ้าสายสำาคัญของทวีปยุโรป
     แม่ นำ้า สายสำา คั ญ ของทวี ป ยุ โ รปมี ค วามสำา คั ญ ต่ อ เศรษฐกิ จ ของ
ประเทศต่าง ๆ ที่แม่นำ้า ไหลผ่านทั้งในด้านการเพาะปลูก การท่องเที่ยว
และการคมนาคมขนส่งทางเรือก สรุปได้ ดังนี้
     ٧.١ แม่ นำ้า โวลกา (Volga) เป็ น แม่ นำ้า สายยาวที่ สุ ด ของทวี ป
ยุโรป (٣,٥٣١ กิโลเมตร) ไหลผ่านพื้นที่ของประเทศรัสเซีย จากตอนบน
ลงสู่ทะเลแคสเปียนทางตอนใต้ของประเทศ ใช้ในการคมนาคมขนส่ง
ทางเรือได้ดี
       7.2 แม่ นำ้า ดานู บ (Danube) เป็ น แม่ นำ้า ที่ ไ หลผ่ า นประเทศใน
ยุโรปหลายชาติ มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก เริ่ม
จากประเทศเยอรมนีและลงสู่ทะเลดำา มีความยาว ٢,٨٧٥ กิโลเมตร เป็น
แม่นำ้าที่มทัศนียภาพสองฝั่งที่สวยงาม
           ี
       ٧.٣ แม่นำ้า ไรน์ (Rhine) มีความยาว ١,٣٢٠ กิโลเมตร เกิดจาก
เทือกเขาแอลป์ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไหลย้อนขึ้นไปทางทิศเหนือ
ผ่ า นประเทศต่ า ง ๆ จนลงสู่ ท ะเลเหนื อ ในประเทศเนเธอร์ แ ลนด์ สวิ ต
เซอร์ แ ลนด์ ไหลย้ อ นขึ้ น ไปทางทิ ศ เหนื อ ผ่ า นประเทศต่ า ง ๆ จนลงสู่
ทะเลเหนือในประเทศเนเธอร์แลนด์
       ٧.٤ แม่ นำ้า สายสำา คั ญ อื่ น ๆ ของทวี ป ยุ โ รป ได้ แ ก่ แม่ นำ้า ดนี
เปรอ์ (Dnepr) แม่นำ้าลัวร์ (Loire) และแม่นำ้าโอเดอร์ (Oder) เป็นต้น

       ลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติ
8. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพภูมิอากาศ
       สภาพภูมิอากาศของทวีปยุโรปโดยทั่วไปมีภูมิอากาศอบอุ่นจนถึง
หนาวจัด ไม่มีภูมิอากาศร้อนหรือแห้งแล้งแบบทะเลทราย ทังนี้เพราะ
                                                         ้
เกิดจากปัจจัยสำาคัญ ดังนี้
       ٨.١ ทำาเลที่ตั้งของทวีปหรือละติดจูด ทวีปยุโรปตั้งอยู่ในเขต
ละติจูดกลางจนถึงเขตละติดจูด สูงใกล้เขตขั้วโลกเหนือ จึงมีสภาพ
อากาศอบอุ่นไปจนถึงหนาวจัด ไม่มีพื้นที่ใดอยู่ในเขตละติดจูดตำ่าใกล้
เส้นศูนย์สูตร ดังนั้น จึงไม่มีเขตอากาศร้อยแต่อย่างใด
       ٨.٢ ระยะใกล้และไกลจากทะเล ทวีปยุโรปมีชายฝั่งทะเลยาว
พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ไม่ห่างไกลจากทะเลมากนัก จึงได้รับอิทธิพลความชื้น
จากทะเลและมหาสมุทรมาก
       8.3 ลมประจำา ทวีปยุโรปได้รับอิทธิพลจากลมประจำาตะวันตกพัด
ผ่าน ทำาให้มีฝนตก
       ٨.٤ กระแสนำ้า กระแสนำ้า อุ่ น แอตแลนติ ก เหนื อ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ
ชายฝั่งทำาให้มีฝนตกชุกและมีอุณหภูมิของอากาศสูงขึ้น
       ٨.٥ การวางตั ว ของเทื อ กเขาสู ง เทื อ กเขาส่ ว นใหญ่ ข องทวี ป
ยุ โ รปวางตั ว ในแนวนอนหรื อ แนวตะวั น ตก ตะวั น ออก จึ ง ไม่ กี ด ขวาง
ทิศทางการพัดของลมประจำา ตะวันตกจากมหาสมุทรแอตแลนติก ทำา ให้
ทวีปยุโรปได้รับอิทธิพลความชื้นจากทะเลทัวถึงทุกพื้นที่
                                           ่
٩. เขตภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติ
      ทวีปยุโรปมีเขตภูมิอากาศจำาแนกได้ ٦ เขต ดังนี้
      ٩.١ ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายเขตอบอุ่น (BS)
      9.2 ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน (Cs)
      9.3 ภูมิอากาศแบบอบอุ่นขึ้น (Cfa)
      ٩.٤ ภูมิอากาศภาคพื้นสมุทรชายฝังตะวันตก (Cfb)
                                     ่
      9.5 ภูมิอากาศแบบเขตหนาว แบบกึ่งขั้วโลก หรือแบบไทกา (D)
      9.6 ภูมิอากาศแบบขัวโลก หรือแบบทุนดรา (E)
                         ้

١٠. เขตภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายเขตอบอุ่น
(BS)
       ١٠.١ ลักษณะสำา คัญ เขตภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย
เขตอบอุ่ น (Bs) เป็ น เขตภู มิ อ ากาศที่ แ ห้ ง แล้ ง ที่ สุ ด ของทวี ป ยุ โ รป มี
ปริมาณฝนค่อนข้างน้อยเฉลี่ยปีละ ٦٠٠ มิลลิเมตร แต่มีอากาศอบอุ่น มี
อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี ١٨ องศาเซลเซียส
       ١٠.٢ พืชพรรณธรรมชาติ เป็นทุ่งหญ้าสเต๊ปป์ (Steppe)
       10.3 พื้ น ที่ เ ขตภู มิ อ ากาศแบบ BS อยู่ ท างตอนใต้ ข องทวี ป
ยุ โ รป ได้ แ ก่ ด้ า นเหนื อ ของทะเลดำา (ประเทศยู เ ครน) ตอนใต้ ข อง
ประเทศสเปน และตอนใต้ของรัสเซีย เป็นต้น
       ١٠.٤ ความสำาคัญทางเศรษฐกิจ เขตทุ่งหญ้าสเต็ปป์ในประเทศ
ยูเครนมีดินอุดมสมบูรณ์ จึงเป็นแหล่งปลูกข้าวสาลีและข้าวโพดที่สำาคัญ
ของทวีปยุโรป

11. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน (Cs)
        ١١.١ ลักษณะสำา คัญ เขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน (Cs)
เป็นเขตอากาศอบอุ่น ฤดูหนาวมีอากาศอบอุ่นและมีฝนตก เพราะได้รับ
อิ ท ธิ พ ลจากลมตะวั น ตก ฤดู ร้ อ นมี อ ากาศร้ อ นและแห้ ง แล้ ง อุ ณ หภู มิ
เฉลี่ยในฤดูร้อนประมาณ ٢٣ องศาเซลเซียส
        ١١.٢ พื ช พรรณธรรมชาติ ไม้ พุ่ ม มี ห นาม มะกอก และป่ า ไม้
ตระกูลไม้โอ๊ก
        ١١.٣ พื้นที่เขตภูมิอ ากาศแบบเมดิ เตอร์ เรเนี ยน (Cs) ได้ แก่
บริเวณชายฝั่ งทะเลเมดิ เตอร์ เรเนี ยนทางภาคใต้ข องทวีปยุโ รป ได้ แก่
ประเทศโปร์ตุเกส อิตาลี กรีซ บัลแกเรีย ตอนใต้ของสเปน และตอนใต้
ของฝรั่งเศส เป็นต้น
12. ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น (Cfa)
      ١٢.١ ลั ก ษณะสำา คั ญ เขตภู มิ อ ากาศแบบอบอุ่ น ขึ้ น (Cfa) มี
อากาศอบอุ่นและมีฝนตกตลอดปี ไม่มีเดือนใดที่ไม่มีฝนตกเนื่องจากได้
รับอิทธิพลความชื้นจากทะเล ฤดูร้อนมีอากาศร้อนและมีอุณหภูมิเฉลี่ย
สูงกว่า ٢٢ องศาเซลเซียส

      ١٢.٢ พืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าสนและป่าไม้ผลัดใบ
      ١٢.٣ พื้นที่ เขตภู มิอ ากาศแบบอบอุ่ นชื้ น (Cfa) อยู่ใ นบริ เวณ
ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป เช่น ตอนเหนือของประเทศอิตาลี
ตอนเหนือของคาบสมุทรบอลคาล ซึ่งเป็นประเทศโครเดเชียและสโลวี
เนีย เป็นต้น

1 ٣. ภูมิอากาศภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก (Cfb)
      ١٣.١ ลักษณะสำา คัญ เขตภูมิอากาศภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวัน
ตก (Cfb) มี ลั ก ษณะภู มิ อ ากาศคล้ า ยแบบอบอุ่ น ชื้ น คื อ มี ฝ นตกชุ ก
ตลอดปี เพราะอยู่ในทิศทางที่ลมประจำา ตะวันตกพัดผ่าน มีฤดูหนาวไม่
หนาวจัด อุณหภูมิเฉลี่ย ٧-١ องศาเซลเซียส ฤดูร้อนมีอุณหภูมิเฉลี่ยตำ่า
กว่า ٢٢ องศาเซลเซียส
      ١٣.٢ พืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าไม้ผลัดใบเขตอบอุ่นและป่า
สน พันธุ์ไม้ที่สำาคัญคือ ไม้โอ๊ก เมเปิล และวอลนัท เป็นต้น
      ١٣.٣ พื้นที่เขตภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก
(Cfb) อยู่บริเวณเกาะตอนเหนือและแผ่นดินใหญ่ของทวีปยุโรป ได้แก่
เกาะไอร์ แ ลนด์ เกาะอั ง กฤษ ประเทศฝรั่ ง เศส เยอรมนี โปแลนด์
เนเธอร์แลนด์ และบางส่วนของรัสเซีย เป็นต้น

14. ภูมิอากาศแบบเขตหนาว หรือแบบกึ่งขั้วโลก (D)
      ١4.١ ลักษณะสำา คัญ ภูมิอากาศแบบเขตหนาว หรือแบบกึ่งขั้ว
โลก (D) อาจเรี ย กชื่ อ อี ก อย่ า งหนึ่ ง ว่ า “เขตภู มิ อ ากาศแบบไทกา”
(Taiga Climate) เป็นลักษณะอากาศหนาวเย็น ในเดือนที่อากาศหนาว
เย็นที่สุดมีอุณหภูมิเฉลี่ยตำ่า กว่า -٣ องศาเซลเซียส ในฤดูร้อนอาจจะมี
อุณหภูมิสูงถึง ٢٢ องศาเซลเซียส มีฝนตกตลอดปี แต่ส่วนใหญ่จะตก
เป็นหิมะ
      ١٤.٢ พื ช พรรณธรรมชาติ เป็ น ป่ า สน เรี ย กว่ า “ป่ า ไทกา”
(Taiga)
١٤.٣ พื้นที่เขตภูมิอากาศแบบเขตหนาว (D) อยู่บริเวณตอน
เหนือของทวีปยุโรป ได้แก่ คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ประเทศฟินแลนด์
และภาคเหนือของรัสเซีย

15. ภูมิอากาศแบบขั้วโลก หรือแบบทุนดรา (E)
      15.1 ลั ก ษณะสำา คั ญ ภู มิ อ ากาศแบบขั้ ว โลก (E) เป็ น เขตภู มิ
อากาศหนาวเย็นจัด มีอุณหภูมิตำ่า ตลอดปี เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “เขตภูมิ
อากาศแบบทุนดรา” (Tundra Climate) ไม่มีฤดูร้อน เดือนที่มีอุณหภูมิ
สูงสุดจะไม่เกิน ١٠ องศาเซลเซียส ฝนจะตกในรูปของหิมะ
      ١٥.٢ พืชพรรณธรรมชาติ เป็นพืชชั้นตำ่า เช่น มอส ตะไคร่นำ้า
สาหร่าย
      ١ ٥.٣ พื้ น ที่ เ ขต ภู มิ อ า กา ศแ บบ ขั้ ว โ ล ก E ไ ด้ แ ก่ ชา ย ฝั่ ง
มหาสมุ ท รอาร์ ก ติ ก เช่ น ตอนเหนื อ ของคาบสมุ ท รสแกนดิ เ นเวี ย และ
ตอนเหนือของไซบีเรีย (ของรัสเซีย)


                        ทรัพยากรธรรมชาติ
١٦. ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปยุโรป
      ทวีปยุโรปมีทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นรากฐานความเจริญก้าวหน้า
ทางเศรษฐกิจ ดังนี้
      ١٦.١ ดิน แหล่งที่มีดินอุดมสมบู รณ์ และเป็นเขตเพาะปลู กที่
หนาแน่ น ของทวี ป ยุ โ รป ได้ แ ก่ เขตยุ โ รปตะวั น ออก ยุ โ รปกลาง และ
ยุโรปใต้ ส่วนเขตเทือกเขาหรือที่ราบสูง หรือเขตทุ่งหญ้าที่มีดินไม่อุดม
สมบูรณ์จะใช้เป็นแหล่งทุงหญ้าเลี้ยงสัตว์
                         ่
      ١٦.٢ ป่าไม้ เขตป่าไม้ที่สำาคัญของทวีปยุโรป คือ เขตภูมิอากาศ
แบบไทกาในคาบสมุ ทรสแกนดิ เ นเวี ย และตอนเหนื อ ของทวี ป ยุ โ รป (
ประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย) เป็นแหล่งไม้เนื้ออ่อนประเภทป่า
สนที่ใหญ่ของโลก
      ١٦.٣ สัตว์นำ้า แหล่งประมงทางทะเลที่มีปลาและสัตว์นำ้า ชุ กชุ ม
ได้แก่ ทะเลเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลดำา และทะเลแคสเปียน
เป็นต้น
      ١٦.٤ แร่ธาตุ ทวีปยุโรปมีทรัพยากรแร่ธาตุไม่อุดมสมบูรณ์มาก
นัก ปริมาณที่ใช้ไม่เ พีย งพอ กั บความต้อ งการ ส่ว นใหญ่ จึง ต้อ งนำา เข้า
จากทวีปอื่น ๆ แร่ธาตุที่ผลิตได้มาก มีดังนี้
(١) แร่ เ หล็ ก แหล่ ง ผลิ ต สำา คั ญ ได้ แ ก่ ฝรั่ ง เศส สวี เ ดน
รัสเซีย และยูเครน
              (٢) แร่ธาตุชนิดอื่น ๆ เช่น บ็อกไซต์ ทองแดง สังกะสี และ
ตะกั่ว
       ١٦.٥ พลังงาน ทวีปยุโรปใช้พลังงานในการพัฒนาอุตสาหกรรม
ผลิตกระแสไฟฟ้า และการคมนาคมขนส่ง ดังนี้
                (١) ถ่ า นหิ น แหล่ ง ผลิ ต สำา คั ญ อยู่ ใ นสหราชอาณาจั ก ร
เยอรมนี ฝรังเศส ยูเครน
            ่                        โรมาเนีย และโปแลนด์ เป็นต้น
                (٢) นำ้า มั น และก๊ า ซธรรมชาติ แหล่ ง สำา คั ญ อยู่ บ ริ เ วณ
ทะเลเหนือ ประเทศที่ผลิตได้มาก คือ สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์
และนอร์เวย์ รองลงมาเป็นแหล่งทะเลดำา ผลิตโดยประเทศรัสเซีย และ
โรมาเนีย
               (٣) พลั ง งานนิ ว เคลี ย ร์ ประเทศที่ ใ ช้ แ ร่ ยู เ รเนี ย มเป็ น เชื้ อ
เพลิ งพลั งงานนิวเคลี ยร์และผลิ ตกระแสไฟฟ้า ได้ แก่ ฝรั่ง เศส รั ส เซี ย
และยูเครน เป็นต้น
              (٤) พลังงานนำ้า มีหลายประเทศในยุโรปที่สร้างเขื่อนผลิต
กระแสไฟฟ้าพลังนำ้า
               (٥) พลั ง งานความร้ อ นใต้ พิ ภ พ ประเทศไอซ์ แ ลนด์ ใ ช้
พลังงานความร้ อนใต้ พิภพผลิตกระแสไฟฟ้า เนื่อ งจากมีภูเขาไฟที่ยั ง
ทรงพลังอยู่

                     ลักษณะทางด้านเศรษฐกิจ
١٧. การเพาะปลูก
      ١٧.١ การเพาะปลู ก ส่ ว นใหญ่ ข องทวี ป ยุ โ รปมี ค วามเจริ ญ
ก้าวหน้า มีการนำา เทคโนโลยีมาใช้ในการเพาะปลูกทำา ให้ได้ผลผลิต
ต่อไร่สูง แต่ก็ยังไม่เพียงพอกับปริมาณความต้องการบริโภคภายในทวีป
ต้องนำาเข้าจากทวีปอื่น ๆ ปีละมาก ๆ
          ١٧.٢ ข้ า วสาลี เ ป็ น พื ช เศรษฐกิ จ ที่ สำา คั ญ ที่ สุ ด ของทวี ป
ยุโรป มีผลผลิตรวมกันทั้งทวีปมากกว่าร้อยละ ٦٠ ของผลผลิตรวมทั่ว
โลก ประเทศที่ผลิตได้มากที่สุด คือ ยูเครน
          ١٧.٣ พืชเศรษฐกิจอื่น ๆ ได้แก่ ข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เลย์ ข้าว
ไรย์ ข้าวโพด ผักกาดหวาน มันฝรั่ง องุ่น ส้ม ฯลฯ
          ١٧.٤ บริเวณดินดีและมีภูมิอากาศเหมาะสมในการเพาะ
ปลูก ได้แก่ ยุโรปตะวันตก ยุโรปกลาง ยุโรปใต้ และยุโรปตะวันออก

18. การเลี้ยงสัตว์
การเลี้ ย งสั ต ว์ เ ป็ น กิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ ที่ สำา คั ญ ของทวี ป
ยุโรป โดยเฉพาะในเขตที่มีสภาพภูมิอากาศอบอุ่นไม่หนาวเย็นจนเกิน
ไปและมี ทุ่ ง หญ้ า เลี้ ย งสั ต ว์ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ เขตเลี้ ย งสั ต ว์ ที่ สำา คั ญ ของ
ทวีปยุโรป ได้แก่
        ١٨.١ เขตภูเขาและที่ราบสูง ในสวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี และ
ออสเตรีย มีการเลี้ยงโคเนื้อ โคนม และแกะ
        ١٨.٢ เขตภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก มี
อากาศอบอุ่นชื้น และมีฝนตกตลอดปี ในประเทศเดนมาร์กและสหราช
อาณาจักร มีการทำาฟาร์มโคนม
        ١٨.٣ เขตภู มิ อ ากาศแบบทุ่ ง หญ้ า สเตปป์ (Steppe) ใน
ประเทศยูเครน ฮังการี โรมาเนีย และภาคใต้ของรัสเซีย มีการเลี้ยงโค
เนื้อ แพะ แกะ และม้า

١٩. การประมง
     ١٩.١ แหล่งประมงที่มีสัตว์นำ้าอุดมสมบูรณ์มากที่สุดของทวีป
ยุโรปและของโลก คือ เขต “ดอกเกอร์แบงก์” (Dogger Bank) บริเวณ
ทะเลเหนือ เนื่องจากมีกระแสนำ้า อุ่นแอตแลนติกเหนือกับกระแสนำ้า เย็น
กรีนแลนด์ไหลมาบรรจบกัน ทำาให้มีปลาชุกชุม
     19.2 ประเทศที่ มี ผ ลผลิ ต จากการประมงในเขตทะเลเหนื อ
มากที่ สุ ด ได้ แ ก่ สหราชอาณาจั ก รนอร์ เ วย์ ไอซ์ แ ลนด์ และ
เนเธอร์แลนด์

٢٠. การทำาป่าไม้
      ٢٠.١ ทวี ป ยุ โ รปมี พื้ น ที่ ป่ า ไม้ จ ากธรรมชาติ เ หลื อ อยู่ โดย
เฉพาะยุโรปตะวันตก เนื่องจากถูกตัดโค่นทำา ลายเพื่อใช้ประโยชน์จาก
เนื้อไม้ และใช้พื้นที่เพื่อการเกษตรกรรม อุตสาหกรรม เส้นทางคมนาคม
และที่อยู่อาศัย ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้ทปลูกขึ้นมาใหม่
                                           ี่
      ٢٠.٢ แหล่งป่าไม้สำา คัญของทวีปยุโรปอยู่ในเขตยุโรปเหนือ
ประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ นอร์เวย์ และรัสเซีย ส่วนใหญ่เป็นป่าสน นำา
มาใช้ทำาเยื่อกระดาษและลังไม้



٢١. การอุตสาหกรรม
٢١.١ ทวีปยุโรปมีการพัฒนาอุตสาหกรรมเจริญก้าวหน้า มี
เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยและเป็นรายได้หลักของเกือบทุกประเทศ
ในทวี ป แหล่ ง อุ ต สาหกรรมที่ สำา คั ญ อยู่ ใ นเขตยุ โ รปตะวั น ตก ได้ แ ก่
เยอรมนี สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และอิตาลี
       ٢١.٢ ประเภทของอุตสาหกรรมที่สำาคัญ ได้แก่ การผลิตเหล็ก
และเหล็กกล้า เครื่องจักรกล การต่อเรือ เครื่อ งบิ นโดยสาร เคมีภัณฑ์
สิ่ ง ทอ การแปรรู ป สิ น ค้ า เกษตร ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหาร นมและเนย และ
ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น

٢٢. การพาณิชยกรรม
       ٢٢.١ ทวีปยุโรปมีความเจริญก้าวหน้าทางการค้าระหว่าง
ประเทศมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีตลาดการค้ากระจายไปทั่วทุก
ภูมิภาคของโลก ประเทศที่มีมูลค่าการค้าระหว่างประเทศสูงมาก ได้แก่
เยอรมนี ฝรังเศส สหราชอาณาจักร อิตาลี และเนเธอร์แลนด์
             ่
       ٢٢.٢ สิ น ค้ า เข้ า ที่ สำา คั ญ ได้ แ ก่ นำ้า มั น เชื้ อ เพลิ ง อาหาร และ
วัตถุดิบในการผลิตอุตสาหกรรม
       ٢٢.٣ สิ น ค้ า ออกที่ สำา คั ญ ได้ แ ก่ สิ น ค้ า อุ ต สาหกรรม และ
ผลิตภัณฑ์อาหาร นม เนย ฯลฯ
       ٢٢.٤ การรวมกลุ่ ม ทางเศรษฐกิ จ และการค้ า ระหว่ า งชาติ
ยุ โ รป คื อ สหภาพยุ โ รป (EU : European Union) เพื่ อ ร่ ว มมื อ ช่ ว ย
เหลื อ และพั ฒ นาทางเศรษฐกิ จ และการค้ า ซึ่ ง กั น และกั น ระหว่ า งชาติ
สมาชิก (ในปัจจุบันมีสมาชิก ٢٥ ประเทศ)

      ลักษณะทางด้านประชากร สังคม และวัฒนธรรม
٢٣. ลักษณะด้านประชากร
        ٢٣.١ จำานวนประชากร ทวีปยุโรปมีจำานวนประชากรรวมทั้งสิ้น ٧
٢٧.٤ ล้านคน (พ.ศ.٢٥٤٦) และประเทศทีมีจำานวนประชากรมากที่สุด คือ
                                             ่
รัสเซีย ประมาณ ١٤٥.٥ ล้านคน (พ.ศ.٢٥٤٦)
        23.2 เชื้อชาติ ประชากรของทวีปยุโรปส่วนใหญ่เป็นชนผิวขาว
(Caucasoid) ซึ่งเป็นชาติพันธุ์ดั้งเดิมที่อ าศั ยอยู่ใ นทวีป นี้ ต่อ มามีกลุ่ ม
ชนผิวดำา (Negroid) และกลุ่มชนผิวเหลือง (Mongoloid) อพยพเข้ามา
ตั้งถิ่นฐานเพิ่ม ขึ้น แต่ ประชากรส่ วนใหญ่ ของทวีป ยุโรปก็ยัง เป็ นชนผิ ว
ขาวซึงแบ่งเป็น 3 กลุม ดังนี้
        ่               ่
  กลุ่มเชื้อชาติ           บริเวณที่ตั้งถิ่นฐาน          ลักษณะของ
    ประชากร                                                ประชากร
1. กลุมนอร์ติก
      ่               ตอนเหนือของทวีป(คาบสมุท รู ป ร่ า งสู ง ใหญ่ ผมสี
                      สแกนดิ เ นเวี ย )เช่ น นอร์ เ วย์ ทอง
                      สวีเดน และเดนมาร์ก ฯลฯ            ต า สี ฟ้ า ก ะ โ ห ล ก
                                                        ศรีษะยาว
2. กลุมอัลไพน์ ต อ น ก ล า ง ข อ ง ท วี ป (เ ข ต รู ป ร่ า ง เ ตี้ ย ผ ม สี
      ่
                      เทือกเขาแอลป์)                    นำ้าตาล
                      เช่น ฝรั่งเศส และยุโรปตะวัน กะโหลกศรีษะกลม
                      ออก
3. ก       ลุ่     ม ตอนใต้ ข องทวี ป เช่ น อิ ต าลี รู ป ร่ า ง เ ล็ ก ผิ ว ค ลำ้า
   เมดิ เ ตอร์ เ รเนี กรีซ สเปน และ                     ผมสีดำา
   ยน                 โปร์ตุเกส                         ตาสีฟ้า และกะโหลก
                                                        ศรีษะกลม

٢٤. ลักษณะวัฒนธรรมทางภาษา
      ภาษาพูดของชาวยุโรปอยู่ในตระกูลภาษาอินโด ยุโรเปียน แบ่งได้
เป็น ٣ กลุมใหญ่ ๆ ดังนี้
          ่
      ٢٤.١ กลุ่ ม ภาษาเยอรมานิ ก (หรื อ ติ ว โตนิ ก ) เป็ น ภาษาของ
ประชากรแถบยุโรปเหนือ เช่น ภาษาสวีเดน นอร์เวย์ เดนมาร์ก อังกฤษ
เยอรมัน และเนเธอร์แลนด์ เป็นต้น
      24.2 กลุ่มภาษาสลาฟ (หรือสลาวิก) เป็นภาษาของประชากร
ในยุโรปภาคกลางและยุโรปตะวันออก เช่น ภาษารัสเซีย โปแลนด์ เช็ก
ยูเครน สโลวะเกีย และบัลแกเรีย เป็นต้น
      ٢٤.٣ กลุ่ ม ภาษาโรมานซ์ (หรื อ ภาษาละติ น ) เป็ น ภาษาของ
ประชากรในยุโรปใต้ เช่น อิตาลี สเปน โปร์ตุเกส และโรมาเนีย เป็นต้น

٢٥.ลักษณะความเชื่อทางศาสนา
       ٢٥.١ ศาสนาคริ ส ต์ ชาวยุ โ รปส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาคริ ส ต์ (
ประมาณร้อยละ ٧٧ ของประชากรทั้งทวีป) จำาแนกได้ ٣ นิกาย ดังนี้
            (١) นิ ก ายโรมั น คาทอลิ ก มี ศู น ย์ ก ลางอยู่ ที่ น ครวาติ กั น
(Vatican) เป็ น รั ฐ อิ ส ระตั้ ง อยู่ ใ จกลางกรุ ง โรม ประเทศอิ ต าลี มี พ ระ
สั น ตะปาปา (Pope) เป็ น ประมุ ข ของคริ ส ตจั ก รคาทอลิ ก ชาวยุ โ รปที่
นับถือนิกายนี้ส่วนใหญ่เป็นประชากรทางแถบยุโรปใต้ เช่น อิตาลี สเปน
โปร์ตุเกส ฯลฯ
(٢) นิกายโปรเตสแตนท์ นับ ถื อ กั น มากแถบยุโ รปเหนื อ และ
ยุ โ รปกลาง เช่ น สวี เ ดน เดนมาร์ ก เนเธอร์ แ ลนด์ เยอรมนี สหราช
อาณาจักร ฯลฯ
           (٣) นิกายออร์ทอดอกซ์ เป็นนิกายที่นับถือในหมู่ประชากรของ
ยุ โ รปตะวั น ออกและแถบคาบสมุ ท รบอลคาล เช่ น กรี ซ บั ล แกเรี ย
โรมาเนีย รัสเซีย ยูเครน ฯลฯ
       2 ٥.2 ศาสนาอิ ส ลาม เป็ น ศาสนาที่ ช าวยุ โ รปนั บ ถื อ รองลงมา
ประเทศที่มีชาวมุสลิม ได้แก่ อัลบาเนีย โครเอเชีย บอสเนีย และชนก
ลุ่มน้อยในประเทศรัสเซีย เป็นต้น

٢٦. ลักษณะด้านการเมืองการปกครอง
      ระบอบการเมืองการปกครองของประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรปมี ٤
ลักษณะ ดังนี้
      ٢٦.١ ระบอบประชาธิปไตยแบบมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ได้แก่ ประเทศอังกฤษ เบลเยียม สเปน เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน
และนอร์เวย์
      2 ٦.2 ระบอบประชาธิปไตยแบบมีประธานาธิบดีเป็นประมุข
ได้แก่ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และโปแลนด์ เป็นต้น
      ٢ ٦ .٣ ร ะ บ อ บ สั ง ค ม นิ ย ม แ บ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย แ ล ะ มี
ประธานาธิ บ ดี เ ป็ น ประมุ ข เช่ น สหพั น ธรั ฐ รั ส เซี ย ลั ต เวี ย ลิทั ว เนี ย
และมอลโดวา เป็นต้น
      ٢٦.٤ การปกครองลักษณะพิเศษ ได้แก่ นครรัฐวาติกัน เป็น
รัฐอิสระตั้งอยู่ใจกลางกรุงโรม ประเทศอิตาลี มีพระสันตะปาปา (Pope)
เป็นประมุข
                *******************************

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้พัน พัน
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.Mod Haha
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือrungnapa4523
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาkrunimsocial
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือพัน พัน
 
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้Artit Boonket
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลางพัน พัน
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลียchanok
 

Was ist angesagt? (20)

ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรปลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
 
ภูมิภาคของทวีปยุโรป
ภูมิภาคของทวีปยุโรปภูมิภาคของทวีปยุโรป
ภูมิภาคของทวีปยุโรป
 
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรปลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
 
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
 
ภูมิภาคของทวีปยุโรป
ภูมิภาคของทวีปยุโรปภูมิภาคของทวีปยุโรป
ภูมิภาคของทวีปยุโรป
 
309
309309
309
 
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม2.1
 
ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศ
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกา
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
North america
North americaNorth america
North america
 
ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปยุโรป
ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปยุโรปทรัพยากรธรรมชาติของทวีปยุโรป
ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปยุโรป
 
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
 

Andere mochten auch

ทวีปแอฟริกา
ทวีปแอฟริกาทวีปแอฟริกา
ทวีปแอฟริกาpasinee lungprasert
 
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภคเรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภคsupatra39
 
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจa
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยวchickyshare
 
ธุรกิจท่องเทียว
ธุรกิจท่องเทียวธุรกิจท่องเทียว
ธุรกิจท่องเทียวa
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 

Andere mochten auch (14)

Baroque ppt 2
Baroque ppt 2Baroque ppt 2
Baroque ppt 2
 
ทวีปแอฟริกา
ทวีปแอฟริกาทวีปแอฟริกา
ทวีปแอฟริกา
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
ใบงานยุโรป 1
ใบงานยุโรป 1ใบงานยุโรป 1
ใบงานยุโรป 1
 
ใบงานยุโรปที่ 4
ใบงานยุโรปที่ 4ใบงานยุโรปที่ 4
ใบงานยุโรปที่ 4
 
ใบงานยุโรปที่ 2
ใบงานยุโรปที่ 2ใบงานยุโรปที่ 2
ใบงานยุโรปที่ 2
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภคเรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
 
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว
 
ธุรกิจท่องเทียว
ธุรกิจท่องเทียวธุรกิจท่องเทียว
ธุรกิจท่องเทียว
 
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 

Ähnlich wie ทวีปยุโรป

แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_Namphon Srikham
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือkrunimsocial
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือkrunimsocial
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้krunimsocial
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลียBangkok University
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่าทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่าleemeanxun
 
งานนำเสนอ1ฝรั่งเศส
งานนำเสนอ1ฝรั่งเศสงานนำเสนอ1ฝรั่งเศส
งานนำเสนอ1ฝรั่งเศสbtmj2500
 
ทวีปแอฟริกาDddd
ทวีปแอฟริกาDdddทวีปแอฟริกาDddd
ทวีปแอฟริกาDdddNunoiy Siriporn Sena
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.docความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.docpinglada
 

Ähnlich wie ทวีปยุโรป (20)

ลักษณะภูมิประเทศ2.1
ลักษณะภูมิประเทศ2.1ลักษณะภูมิประเทศ2.1
ลักษณะภูมิประเทศ2.1
 
ลักษณะภูมิประเทศ 2.4
ลักษณะภูมิประเทศ 2.4ลักษณะภูมิประเทศ 2.4
ลักษณะภูมิประเทศ 2.4
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
ลักษณะทางกายภาพ2ง1
ลักษณะทางกายภาพ2ง1ลักษณะทางกายภาพ2ง1
ลักษณะทางกายภาพ2ง1
 
Aus
AusAus
Aus
 
ประวัติศาสตร์+23
ประวัติศาสตร์+23ประวัติศาสตร์+23
ประวัติศาสตร์+23
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา
ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกาลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา
ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่าทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่า
 
งานนำเสนอ1ฝรั่งเศส
งานนำเสนอ1ฝรั่งเศสงานนำเสนอ1ฝรั่งเศส
งานนำเสนอ1ฝรั่งเศส
 
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป 2.4
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป 2.4ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป 2.4
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป 2.4
 
ทวีปแอฟริกาDddd
ทวีปแอฟริกาDdddทวีปแอฟริกาDddd
ทวีปแอฟริกาDddd
 
ลักษณะภูมิอากาศ 2.1
ลักษณะภูมิอากาศ 2.1ลักษณะภูมิอากาศ 2.1
ลักษณะภูมิอากาศ 2.1
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.docความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
 

Mehr von chanok

4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development planechanok
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือchanok
 
ยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับchanok
 
ธรรมสัญจร
ธรรมสัญจรธรรมสัญจร
ธรรมสัญจรchanok
 
ธรรมสัญจร
ธรรมสัญจรธรรมสัญจร
ธรรมสัญจรchanok
 
10 อันดับเมืองโรแมนติก
10 อันดับเมืองโรแมนติก10 อันดับเมืองโรแมนติก
10 อันดับเมืองโรแมนติกchanok
 
เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์chanok
 
เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์chanok
 
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์chanok
 
ภูมิอากาศเอเชีย
ภูมิอากาศเอเชียภูมิอากาศเอเชีย
ภูมิอากาศเอเชียchanok
 
ยุโรป
ยุโรปยุโรป
ยุโรปchanok
 

Mehr von chanok (13)

4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development plane
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับยินดีต้อนรับ
ยินดีต้อนรับ
 
ธรรมสัญจร
ธรรมสัญจรธรรมสัญจร
ธรรมสัญจร
 
ธรรมสัญจร
ธรรมสัญจรธรรมสัญจร
ธรรมสัญจร
 
10 อันดับเมืองโรแมนติก
10 อันดับเมืองโรแมนติก10 อันดับเมืองโรแมนติก
10 อันดับเมืองโรแมนติก
 
เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์
 
เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือและข้อมูลทางภูมิศาสตร์
 
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
 
ภูมิอากาศเอเชีย
ภูมิอากาศเอเชียภูมิอากาศเอเชีย
ภูมิอากาศเอเชีย
 
Asia
AsiaAsia
Asia
 
Asia
AsiaAsia
Asia
 
ยุโรป
ยุโรปยุโรป
ยุโรป
 

ทวีปยุโรป

  • 1. ทวีปยุโรป ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ 1. ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรป เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความเป็นมาของทวีปยุโรปในอดีต สรุป กรณีสำาคัญได้ ดังนี้ 1.1 ต้นกำา เนิดอารยธรรมของทวีปยุโรป ความเจริญของยุ โรคในด้านต่างๆ ล้วนมี รากฐาน มาจากอารยธรรมกรีก – โรมันในสมัย โบราณเกือบทั้งสิ้น ทั้งในด้านปรัชญา วรรณกรรม ศิลปกรรมและการ ปกครอง เป็นต้น 1.2 ส มั ย ฟื้ น ฟู ศิ ล ป วิ ท ย า ก า ร ห รื อ เ ร อ เ น ส ซ อ ง ส์ (Renaissances) เป็ น ยุ คที่ ยุ โ รปกลั บ มานิ ย มรู ป แบบศิ ล ปวั ฒ นธรรม ของกรี ก -โรมั น อี กครั้ ง เริ่ ม ตั้ ง แต่ ใ นคริ ส ต์ ศตวรรษที่ 15 เป็ น ต้ น มาดั ง ปรากฏผลงานการสร้างสรรค์ทางด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมแขนง ต่าง ๆ ทีเป็นมรดกตกทอดมาถึงปัจจุบัน ่ 1.3 การสำา รวจดิ น แดนโพ้ น ทะเล ในคริ ส ต์ ศ ตวรรษที่ 16 ชาวยุโรปหลายชาติออกเดินเรือสำา รวจทางทะเล เพื่อแสวงหาดินแดน ใหม่ ๆ ที่มีความอุดมสมบูรณ์ในทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อครอบครองเป็น อาณานิ ค มของตน ทั้ ง ในทวี ป อเมริ ก าเหนื อ ทวี ป แอฟริ ก า และทวี ป เอเชีย ชาติที่ เป็ นผู้นำา ได้ แ ก่ สเปน โปร์ ตุเ กส ฝรั่ ง เศส และอั ง กฤษ เป็นต้น 1.4 ความก้ า วหน้ า ทางภู มิ ปั ญ ญาของชาวยุ โ รป ตั้ ง แต่ คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา เป็นผลจากการสำารวจดินแดนโพ้นทะเล ทำา ให้ ช าวยุ โ รปได้ รั บ รู้ วิ ท ยาการของชนชาติ อ าหรั บ จี น อิ น เดี ย ฯลฯ เกิ ดความเชื่ อมั่ น ในสติ ปั ญ ญาความสามารถของมนุ ษย์ มี ก ารค้ น คว้ า ทดลองสิ่งประดิษฐ์และความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และหลุดพ้นจากการ ครอบงำาทางความคิดของฝ่ายคริสตจักร 1.5 การปฏิวัติอุตสาหกรรม ผลจากความเจริญก้าวหน้าทาง ด้านวิทยาศาสตร์ทำา ให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรม ในคริสต์สตวรรษที่ 17 โดยเริ่มที่อังกฤษเป็นชาติแรก มีการเปลี่ ยนแปลงวิธีการผลิ ตจาก การใช้แรงงานคนมาใช้เครื่องจักรแทน ทำาให้ผลิตสินค้าได้ปริมาณมาก 1.6 การเกิดสงครามโลก ครั้งที่ 1 (ค.ศ.1914-1918) และ สงครามโลก ครั้ ง ที่ 2 (ค.ศ.1939-1945) สมรภู มิ ก ารรบเกิ ด ขึ้ น ใน ยุโรป โดยมีสาเหตุของสงครามเกี่ยวข้องกับประเทศต่าง ๆ ในยุโรปทั้ง
  • 2. สิ้ น เช่ น ความขั ด แย้ ง ในผลประโยชน์ ท างเศรษฐกิ จ และการเมื อ ง ปัญหาพรมแดน และปัญหาเชื้อชาติของประชากร เป็นต้น ลักษณะทางกายภาพของทวีปยุโรป ٢. ขนาด ทำาเลที่ตั้ง และจำานวนประเทศ 2.1 ขนาด ทวีปยุโรปมีพื้นที่ประมาณ 10.5 ล้านตาราง กิโลเมตร มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ในบรรดาทวีปทั้ง 7 ทวีปของ โลก 2.2 ที่ตั้ง แผ่นดินของทวีปยุโรปทั้งหมดอยู่ในซีกโลกเหนือ พิกัดทางภูมิศาสตร์คือ ละติจูด ระหว่าง ٣٦ ถึง ٧١ องศาเหนือ ลองจิจูด ระหว่าง ٩ องศาตะวันตก ถึง ٦٦ องศาตะวันออก ٢.٣ จำานวนประเทศ ทวีปยุโรปมีประเทศใหญ่น้อยรวมทั้งสิ้น ٤ ประเทศ (١) ประเทศทีมีพื้นที่ใหญ่ที่สุด คือ สหพันธรัฐรัสเซีย (٣, ่ ٨٩٣,٣٤٨ ตารางกิโลเมตร) (٢) รัฐอิสระที่มีพื้นที่เล็กที่สุด คือ นครรัฐวาติกัน (٠. ٤٤ ตารางกิโลเมตร) ٣. อาณาเขต ทวีปยุโรปมีอาณาเขตติดต่อกับน่านนำ้ามหาสมุทรและดิน แดนต่าง ๆ ดังนี้ ٣.١ ทิศเหนือ จรดมหาสมุทรอาร์กติก ٣.٢ ทิศใต้ จรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ٣.٣ ทิศตะวันตก จรดมหาสมุทรแอตแลนติก ٣.٤ ทิศตะวันออก จรดแผ่นดินทวีปเอเชีย ٤. พรมแดนธรรมชาติที่กั้นระหว่างทวีปยุโรปกับทวีป เอเชีย ดินแดนทางด้านตะวันออกของทวีปยุโรป มีอาณาเขตจรดแผ่นดิน ทวีปเอเชีย โดยมีพรมแดนธรรมชาติเป็นแนวกั้นแบ่งเขตแดน ดังนี้ ٤.١ เทือกเขาอูราล ٤.٢ แม่นำ้าอูราล
  • 3. ٤.٣ ทะเลแคสเปียน ٤.٤ เทือกเขาคอเคซัส ٤.٥ ทะเลดำา ٥. โครงสร้างทางธรณีวิทยา ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาของทวีปยุโรป สรุปได้ ٢ ลักษณะ คือ 5.1 เขตยุโรปใต้และยุโรปตะวันตก โครงสร้างเปลือกโลกอยู่ใน ยุคหินใหม่ ประกอบด้วย เทือกเขาสูง ทีราบสูง และเกาะ ซึ่งเปลือกโลก ่ ยังคงมีความเปลียนแปลงไม่มั่นคง จึงอยู่ในแนวแผ่นดิน ไหวและ ่ ภูเขาไฟระเบิด 5.2 เขตยุโรปเหนือและยุโรปตะวันออก โครงสร้างเปลือกโลก อยู่ ใ นยุ คหิ น เก่ า ซึ่ ง เปลื อ กโลกมี ค วามมั่ น คง มี ภู เ ขาไม่ สู ง ชั น มากนั ก บริเวณยุโรปเหนือมีลักษณะชายฝั่งทะเลเว้า ๆ แหว่ง ๆ เป็นอ่าวเล็ก ๆ เกิ ด จากการกั ด เซาะของธารนำ้า แข็ ง เรี ย กว่ า “ชายฝั่ ง แบบฟยอร์ ด ” (Fjord) และยังมีทะเลสาบใหญ่น้อยอีกจำานวนมาก ลักษณะภูมิประเทศ 6. เขตภูมิประเทศของทวีปยุโรป ทวี ป ยุ โ รปได้ ชื่ อ ว่ า เป็ น คาบสมุ ท รส่ ว นหนึ่ ง ของทวี ป เอเชี ย มี ชายฝั่ ง ทะเลยาวและเว้ า แหว่ ง มากลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศจำา แนกได้ ٦ เขต ดังนี้ ٦.١ เขตเทื อ กเขาอู ร าล (Ural) เป็ น แนวเทื อ กเขายุ ค หิ น เก่ า ทางด้ า นตะวั น ออกของทวี ป ยุ โ รป มี อ ายุ ม ากและได้ ผ่ า นกระบวนการ กัดกร่อนพังทลายมานานแล้ว จึงมีภูเขาเตี้ย ๆ กระจายอยูทั่วไป ่ ٦.٢ เขตเทื อ กเขาสแกนดิ เ นเวี ย เป็ น แนวเทื อ กเขาทอดตั ว เป็นแกนกลางของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย (ตอนเหนือของทวีปยุโรป) เป็นเขตหินยุคเก่าที่มีอายุมากซึ่งถูกธารนำ้า แข็งกัดเซาะจนสึกกร่อนพัง ทลายและลดระดับความสูงลง ٦.٣ เขตเทือกเขาภาคใต้ เป็นเขตภูเขายุคหินใหม่ที่เปลือกโลก ยังไม่สงบตัวจึงอยู่ในแนวของแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด เป็นเทือก เขาที่มีความสูงมาก ได้แก่ เทือกเขาแอลป์ (Alps) เทือกเขาแอปเพน ไนน์ (Appenine) และเทือกเขาคาร์เปเทียน (Carpethian) เป็นต้น
  • 4. 6.4 เขตที่ ร าบใหญ่ ภ าคกลาง เป็ น ที่ ร าบกว้ า งใหญ่ ท างตอน กลางของทวีปยุโรป มีดินและนำ้า อุดมสมบูรณ์จึงเป็นแหล่งเพาะปลูกที่ สำา คัญ มีแม่นำ้า ไหลผ่านหลายสาย มีประชากรหนาแน่น จึงเป็นเขตที่มี ความสำาคัญต่อเศรษฐกิจของทวีปยุโรปอย่างมาก ٦.٥ เขตที่ราบสูงภาคกลาง ในอดีตเคยเป็นภูเขาสูงซึ่งเกิดการ สึกกร่อนพังทลายจนกลาย เป็นที่ราบสูงและมีเทือกเขาเตี้ย ๆ กระจาย อยู่ทวไป ทีราบสูงภาคกลาง ได้แก่ ั่ ่ (١) ที่ ร าบสู ง เมเซตา (Meseta) คาบสมุ ท รไอบี เ รี ย ประเทศสเปนและโปร์ตุเกส (٢) ที่ ร าบสู ง มั ส ซิ ฟ ซองตรั ล (Massif Central) ประเทศ ฝรั่งเศส (٣) ที่ ร าบสู ง แบล็ ก ฟอเรสต์ (Black Forest) ประเทศ เยอรมนี (٤) ที่ราบสูงโบฮีเมีย (Bohemia) บริเวณรอยต่อพรมแดน ของเยอรมนี และเช็ก ٦.٦ เกาะ คาบสมุ ทร และช่ อ งแคบ ลัก ษณะภู มิ ป ระเทศแบบ พิเศษของทวีปยุโรป มีดังนี้ (١) เกาะ เกาะขนาดใหญ่ของทวีปยุโรป ได้แก่ เกาะอังกฤษ และเกาะไอร์แ ลนด์ (Ireland) ส่ ว นใหญ่ มีลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศเป็ น ที่ ร าบ ส่วนเกาะไอซ์แลนด์ (Iceland) มีภูมิประเทศเป็นภูเขา (٢) คาบสมุทร เป็นแผ่น ดิน ที่ยื่น ออกสู่ ทะเล คาบสมุ ทรที่ สำา คั ญ ของทวี ป ยุ โ รป ได้ แ ก่ คาบสมุ ท รไอบี เ รี ย คาบสมุ ท รบอลคาน คาบสมุทรอิตาลี คาบสมุทรจัตแลนด์ และคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย (٣) ช่องแคบ เกิดจากการแยกตัวของแผ่นดิน ทำา ให้ทะเล หรือมหาสมุทรเชื่อมต่อกัน ใช้ประโยชน์ในการเดินเรือทางทะเล ได้แก่ ช่องแคบยิบรอลตาร์ (Gibraltar) และช่องแคบโดเวอร์ (Dover) เป็นต้น ٧. แม่นำ้าสายสำาคัญของทวีปยุโรป แม่ นำ้า สายสำา คั ญ ของทวี ป ยุ โ รปมี ค วามสำา คั ญ ต่ อ เศรษฐกิ จ ของ ประเทศต่าง ๆ ที่แม่นำ้า ไหลผ่านทั้งในด้านการเพาะปลูก การท่องเที่ยว และการคมนาคมขนส่งทางเรือก สรุปได้ ดังนี้ ٧.١ แม่ นำ้า โวลกา (Volga) เป็ น แม่ นำ้า สายยาวที่ สุ ด ของทวี ป ยุโรป (٣,٥٣١ กิโลเมตร) ไหลผ่านพื้นที่ของประเทศรัสเซีย จากตอนบน
  • 5. ลงสู่ทะเลแคสเปียนทางตอนใต้ของประเทศ ใช้ในการคมนาคมขนส่ง ทางเรือได้ดี 7.2 แม่ นำ้า ดานู บ (Danube) เป็ น แม่ นำ้า ที่ ไ หลผ่ า นประเทศใน ยุโรปหลายชาติ มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก เริ่ม จากประเทศเยอรมนีและลงสู่ทะเลดำา มีความยาว ٢,٨٧٥ กิโลเมตร เป็น แม่นำ้าที่มทัศนียภาพสองฝั่งที่สวยงาม ี ٧.٣ แม่นำ้า ไรน์ (Rhine) มีความยาว ١,٣٢٠ กิโลเมตร เกิดจาก เทือกเขาแอลป์ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไหลย้อนขึ้นไปทางทิศเหนือ ผ่ า นประเทศต่ า ง ๆ จนลงสู่ ท ะเลเหนื อ ในประเทศเนเธอร์ แ ลนด์ สวิ ต เซอร์ แ ลนด์ ไหลย้ อ นขึ้ น ไปทางทิ ศ เหนื อ ผ่ า นประเทศต่ า ง ๆ จนลงสู่ ทะเลเหนือในประเทศเนเธอร์แลนด์ ٧.٤ แม่ นำ้า สายสำา คั ญ อื่ น ๆ ของทวี ป ยุ โ รป ได้ แ ก่ แม่ นำ้า ดนี เปรอ์ (Dnepr) แม่นำ้าลัวร์ (Loire) และแม่นำ้าโอเดอร์ (Oder) เป็นต้น ลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติ 8. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศของทวีปยุโรปโดยทั่วไปมีภูมิอากาศอบอุ่นจนถึง หนาวจัด ไม่มีภูมิอากาศร้อนหรือแห้งแล้งแบบทะเลทราย ทังนี้เพราะ ้ เกิดจากปัจจัยสำาคัญ ดังนี้ ٨.١ ทำาเลที่ตั้งของทวีปหรือละติดจูด ทวีปยุโรปตั้งอยู่ในเขต ละติจูดกลางจนถึงเขตละติดจูด สูงใกล้เขตขั้วโลกเหนือ จึงมีสภาพ อากาศอบอุ่นไปจนถึงหนาวจัด ไม่มีพื้นที่ใดอยู่ในเขตละติดจูดตำ่าใกล้ เส้นศูนย์สูตร ดังนั้น จึงไม่มีเขตอากาศร้อยแต่อย่างใด ٨.٢ ระยะใกล้และไกลจากทะเล ทวีปยุโรปมีชายฝั่งทะเลยาว พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ไม่ห่างไกลจากทะเลมากนัก จึงได้รับอิทธิพลความชื้น จากทะเลและมหาสมุทรมาก 8.3 ลมประจำา ทวีปยุโรปได้รับอิทธิพลจากลมประจำาตะวันตกพัด ผ่าน ทำาให้มีฝนตก ٨.٤ กระแสนำ้า กระแสนำ้า อุ่ น แอตแลนติ ก เหนื อ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ชายฝั่งทำาให้มีฝนตกชุกและมีอุณหภูมิของอากาศสูงขึ้น ٨.٥ การวางตั ว ของเทื อ กเขาสู ง เทื อ กเขาส่ ว นใหญ่ ข องทวี ป ยุ โ รปวางตั ว ในแนวนอนหรื อ แนวตะวั น ตก ตะวั น ออก จึ ง ไม่ กี ด ขวาง ทิศทางการพัดของลมประจำา ตะวันตกจากมหาสมุทรแอตแลนติก ทำา ให้ ทวีปยุโรปได้รับอิทธิพลความชื้นจากทะเลทัวถึงทุกพื้นที่ ่
  • 6. ٩. เขตภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติ ทวีปยุโรปมีเขตภูมิอากาศจำาแนกได้ ٦ เขต ดังนี้ ٩.١ ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายเขตอบอุ่น (BS) 9.2 ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน (Cs) 9.3 ภูมิอากาศแบบอบอุ่นขึ้น (Cfa) ٩.٤ ภูมิอากาศภาคพื้นสมุทรชายฝังตะวันตก (Cfb) ่ 9.5 ภูมิอากาศแบบเขตหนาว แบบกึ่งขั้วโลก หรือแบบไทกา (D) 9.6 ภูมิอากาศแบบขัวโลก หรือแบบทุนดรา (E) ้ ١٠. เขตภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายเขตอบอุ่น (BS) ١٠.١ ลักษณะสำา คัญ เขตภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย เขตอบอุ่ น (Bs) เป็ น เขตภู มิ อ ากาศที่ แ ห้ ง แล้ ง ที่ สุ ด ของทวี ป ยุ โ รป มี ปริมาณฝนค่อนข้างน้อยเฉลี่ยปีละ ٦٠٠ มิลลิเมตร แต่มีอากาศอบอุ่น มี อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี ١٨ องศาเซลเซียส ١٠.٢ พืชพรรณธรรมชาติ เป็นทุ่งหญ้าสเต๊ปป์ (Steppe) 10.3 พื้ น ที่ เ ขตภู มิ อ ากาศแบบ BS อยู่ ท างตอนใต้ ข องทวี ป ยุ โ รป ได้ แ ก่ ด้ า นเหนื อ ของทะเลดำา (ประเทศยู เ ครน) ตอนใต้ ข อง ประเทศสเปน และตอนใต้ของรัสเซีย เป็นต้น ١٠.٤ ความสำาคัญทางเศรษฐกิจ เขตทุ่งหญ้าสเต็ปป์ในประเทศ ยูเครนมีดินอุดมสมบูรณ์ จึงเป็นแหล่งปลูกข้าวสาลีและข้าวโพดที่สำาคัญ ของทวีปยุโรป 11. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน (Cs) ١١.١ ลักษณะสำา คัญ เขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน (Cs) เป็นเขตอากาศอบอุ่น ฤดูหนาวมีอากาศอบอุ่นและมีฝนตก เพราะได้รับ อิ ท ธิ พ ลจากลมตะวั น ตก ฤดู ร้ อ นมี อ ากาศร้ อ นและแห้ ง แล้ ง อุ ณ หภู มิ เฉลี่ยในฤดูร้อนประมาณ ٢٣ องศาเซลเซียส ١١.٢ พื ช พรรณธรรมชาติ ไม้ พุ่ ม มี ห นาม มะกอก และป่ า ไม้ ตระกูลไม้โอ๊ก ١١.٣ พื้นที่เขตภูมิอ ากาศแบบเมดิ เตอร์ เรเนี ยน (Cs) ได้ แก่ บริเวณชายฝั่ งทะเลเมดิ เตอร์ เรเนี ยนทางภาคใต้ข องทวีปยุโ รป ได้ แก่ ประเทศโปร์ตุเกส อิตาลี กรีซ บัลแกเรีย ตอนใต้ของสเปน และตอนใต้ ของฝรั่งเศส เป็นต้น
  • 7. 12. ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น (Cfa) ١٢.١ ลั ก ษณะสำา คั ญ เขตภู มิ อ ากาศแบบอบอุ่ น ขึ้ น (Cfa) มี อากาศอบอุ่นและมีฝนตกตลอดปี ไม่มีเดือนใดที่ไม่มีฝนตกเนื่องจากได้ รับอิทธิพลความชื้นจากทะเล ฤดูร้อนมีอากาศร้อนและมีอุณหภูมิเฉลี่ย สูงกว่า ٢٢ องศาเซลเซียส ١٢.٢ พืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าสนและป่าไม้ผลัดใบ ١٢.٣ พื้นที่ เขตภู มิอ ากาศแบบอบอุ่ นชื้ น (Cfa) อยู่ใ นบริ เวณ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป เช่น ตอนเหนือของประเทศอิตาลี ตอนเหนือของคาบสมุทรบอลคาล ซึ่งเป็นประเทศโครเดเชียและสโลวี เนีย เป็นต้น 1 ٣. ภูมิอากาศภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก (Cfb) ١٣.١ ลักษณะสำา คัญ เขตภูมิอากาศภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวัน ตก (Cfb) มี ลั ก ษณะภู มิ อ ากาศคล้ า ยแบบอบอุ่ น ชื้ น คื อ มี ฝ นตกชุ ก ตลอดปี เพราะอยู่ในทิศทางที่ลมประจำา ตะวันตกพัดผ่าน มีฤดูหนาวไม่ หนาวจัด อุณหภูมิเฉลี่ย ٧-١ องศาเซลเซียส ฤดูร้อนมีอุณหภูมิเฉลี่ยตำ่า กว่า ٢٢ องศาเซลเซียส ١٣.٢ พืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าไม้ผลัดใบเขตอบอุ่นและป่า สน พันธุ์ไม้ที่สำาคัญคือ ไม้โอ๊ก เมเปิล และวอลนัท เป็นต้น ١٣.٣ พื้นที่เขตภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก (Cfb) อยู่บริเวณเกาะตอนเหนือและแผ่นดินใหญ่ของทวีปยุโรป ได้แก่ เกาะไอร์ แ ลนด์ เกาะอั ง กฤษ ประเทศฝรั่ ง เศส เยอรมนี โปแลนด์ เนเธอร์แลนด์ และบางส่วนของรัสเซีย เป็นต้น 14. ภูมิอากาศแบบเขตหนาว หรือแบบกึ่งขั้วโลก (D) ١4.١ ลักษณะสำา คัญ ภูมิอากาศแบบเขตหนาว หรือแบบกึ่งขั้ว โลก (D) อาจเรี ย กชื่ อ อี ก อย่ า งหนึ่ ง ว่ า “เขตภู มิ อ ากาศแบบไทกา” (Taiga Climate) เป็นลักษณะอากาศหนาวเย็น ในเดือนที่อากาศหนาว เย็นที่สุดมีอุณหภูมิเฉลี่ยตำ่า กว่า -٣ องศาเซลเซียส ในฤดูร้อนอาจจะมี อุณหภูมิสูงถึง ٢٢ องศาเซลเซียส มีฝนตกตลอดปี แต่ส่วนใหญ่จะตก เป็นหิมะ ١٤.٢ พื ช พรรณธรรมชาติ เป็ น ป่ า สน เรี ย กว่ า “ป่ า ไทกา” (Taiga)
  • 8. ١٤.٣ พื้นที่เขตภูมิอากาศแบบเขตหนาว (D) อยู่บริเวณตอน เหนือของทวีปยุโรป ได้แก่ คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ประเทศฟินแลนด์ และภาคเหนือของรัสเซีย 15. ภูมิอากาศแบบขั้วโลก หรือแบบทุนดรา (E) 15.1 ลั ก ษณะสำา คั ญ ภู มิ อ ากาศแบบขั้ ว โลก (E) เป็ น เขตภู มิ อากาศหนาวเย็นจัด มีอุณหภูมิตำ่า ตลอดปี เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “เขตภูมิ อากาศแบบทุนดรา” (Tundra Climate) ไม่มีฤดูร้อน เดือนที่มีอุณหภูมิ สูงสุดจะไม่เกิน ١٠ องศาเซลเซียส ฝนจะตกในรูปของหิมะ ١٥.٢ พืชพรรณธรรมชาติ เป็นพืชชั้นตำ่า เช่น มอส ตะไคร่นำ้า สาหร่าย ١ ٥.٣ พื้ น ที่ เ ขต ภู มิ อ า กา ศแ บบ ขั้ ว โ ล ก E ไ ด้ แ ก่ ชา ย ฝั่ ง มหาสมุ ท รอาร์ ก ติ ก เช่ น ตอนเหนื อ ของคาบสมุ ท รสแกนดิ เ นเวี ย และ ตอนเหนือของไซบีเรีย (ของรัสเซีย) ทรัพยากรธรรมชาติ ١٦. ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปยุโรป ทวีปยุโรปมีทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นรากฐานความเจริญก้าวหน้า ทางเศรษฐกิจ ดังนี้ ١٦.١ ดิน แหล่งที่มีดินอุดมสมบู รณ์ และเป็นเขตเพาะปลู กที่ หนาแน่ น ของทวี ป ยุ โ รป ได้ แ ก่ เขตยุ โ รปตะวั น ออก ยุ โ รปกลาง และ ยุโรปใต้ ส่วนเขตเทือกเขาหรือที่ราบสูง หรือเขตทุ่งหญ้าที่มีดินไม่อุดม สมบูรณ์จะใช้เป็นแหล่งทุงหญ้าเลี้ยงสัตว์ ่ ١٦.٢ ป่าไม้ เขตป่าไม้ที่สำาคัญของทวีปยุโรป คือ เขตภูมิอากาศ แบบไทกาในคาบสมุ ทรสแกนดิ เ นเวี ย และตอนเหนื อ ของทวี ป ยุ โ รป ( ประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย) เป็นแหล่งไม้เนื้ออ่อนประเภทป่า สนที่ใหญ่ของโลก ١٦.٣ สัตว์นำ้า แหล่งประมงทางทะเลที่มีปลาและสัตว์นำ้า ชุ กชุ ม ได้แก่ ทะเลเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลดำา และทะเลแคสเปียน เป็นต้น ١٦.٤ แร่ธาตุ ทวีปยุโรปมีทรัพยากรแร่ธาตุไม่อุดมสมบูรณ์มาก นัก ปริมาณที่ใช้ไม่เ พีย งพอ กั บความต้อ งการ ส่ว นใหญ่ จึง ต้อ งนำา เข้า จากทวีปอื่น ๆ แร่ธาตุที่ผลิตได้มาก มีดังนี้
  • 9. (١) แร่ เ หล็ ก แหล่ ง ผลิ ต สำา คั ญ ได้ แ ก่ ฝรั่ ง เศส สวี เ ดน รัสเซีย และยูเครน (٢) แร่ธาตุชนิดอื่น ๆ เช่น บ็อกไซต์ ทองแดง สังกะสี และ ตะกั่ว ١٦.٥ พลังงาน ทวีปยุโรปใช้พลังงานในการพัฒนาอุตสาหกรรม ผลิตกระแสไฟฟ้า และการคมนาคมขนส่ง ดังนี้ (١) ถ่ า นหิ น แหล่ ง ผลิ ต สำา คั ญ อยู่ ใ นสหราชอาณาจั ก ร เยอรมนี ฝรังเศส ยูเครน ่ โรมาเนีย และโปแลนด์ เป็นต้น (٢) นำ้า มั น และก๊ า ซธรรมชาติ แหล่ ง สำา คั ญ อยู่ บ ริ เ วณ ทะเลเหนือ ประเทศที่ผลิตได้มาก คือ สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และนอร์เวย์ รองลงมาเป็นแหล่งทะเลดำา ผลิตโดยประเทศรัสเซีย และ โรมาเนีย (٣) พลั ง งานนิ ว เคลี ย ร์ ประเทศที่ ใ ช้ แ ร่ ยู เ รเนี ย มเป็ น เชื้ อ เพลิ งพลั งงานนิวเคลี ยร์และผลิ ตกระแสไฟฟ้า ได้ แก่ ฝรั่ง เศส รั ส เซี ย และยูเครน เป็นต้น (٤) พลังงานนำ้า มีหลายประเทศในยุโรปที่สร้างเขื่อนผลิต กระแสไฟฟ้าพลังนำ้า (٥) พลั ง งานความร้ อ นใต้ พิ ภ พ ประเทศไอซ์ แ ลนด์ ใ ช้ พลังงานความร้ อนใต้ พิภพผลิตกระแสไฟฟ้า เนื่อ งจากมีภูเขาไฟที่ยั ง ทรงพลังอยู่ ลักษณะทางด้านเศรษฐกิจ ١٧. การเพาะปลูก ١٧.١ การเพาะปลู ก ส่ ว นใหญ่ ข องทวี ป ยุ โ รปมี ค วามเจริ ญ ก้าวหน้า มีการนำา เทคโนโลยีมาใช้ในการเพาะปลูกทำา ให้ได้ผลผลิต ต่อไร่สูง แต่ก็ยังไม่เพียงพอกับปริมาณความต้องการบริโภคภายในทวีป ต้องนำาเข้าจากทวีปอื่น ๆ ปีละมาก ๆ ١٧.٢ ข้ า วสาลี เ ป็ น พื ช เศรษฐกิ จ ที่ สำา คั ญ ที่ สุ ด ของทวี ป ยุโรป มีผลผลิตรวมกันทั้งทวีปมากกว่าร้อยละ ٦٠ ของผลผลิตรวมทั่ว โลก ประเทศที่ผลิตได้มากที่สุด คือ ยูเครน ١٧.٣ พืชเศรษฐกิจอื่น ๆ ได้แก่ ข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เลย์ ข้าว ไรย์ ข้าวโพด ผักกาดหวาน มันฝรั่ง องุ่น ส้ม ฯลฯ ١٧.٤ บริเวณดินดีและมีภูมิอากาศเหมาะสมในการเพาะ ปลูก ได้แก่ ยุโรปตะวันตก ยุโรปกลาง ยุโรปใต้ และยุโรปตะวันออก 18. การเลี้ยงสัตว์
  • 10. การเลี้ ย งสั ต ว์ เ ป็ น กิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ ที่ สำา คั ญ ของทวี ป ยุโรป โดยเฉพาะในเขตที่มีสภาพภูมิอากาศอบอุ่นไม่หนาวเย็นจนเกิน ไปและมี ทุ่ ง หญ้ า เลี้ ย งสั ต ว์ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ เขตเลี้ ย งสั ต ว์ ที่ สำา คั ญ ของ ทวีปยุโรป ได้แก่ ١٨.١ เขตภูเขาและที่ราบสูง ในสวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี และ ออสเตรีย มีการเลี้ยงโคเนื้อ โคนม และแกะ ١٨.٢ เขตภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก มี อากาศอบอุ่นชื้น และมีฝนตกตลอดปี ในประเทศเดนมาร์กและสหราช อาณาจักร มีการทำาฟาร์มโคนม ١٨.٣ เขตภู มิ อ ากาศแบบทุ่ ง หญ้ า สเตปป์ (Steppe) ใน ประเทศยูเครน ฮังการี โรมาเนีย และภาคใต้ของรัสเซีย มีการเลี้ยงโค เนื้อ แพะ แกะ และม้า ١٩. การประมง ١٩.١ แหล่งประมงที่มีสัตว์นำ้าอุดมสมบูรณ์มากที่สุดของทวีป ยุโรปและของโลก คือ เขต “ดอกเกอร์แบงก์” (Dogger Bank) บริเวณ ทะเลเหนือ เนื่องจากมีกระแสนำ้า อุ่นแอตแลนติกเหนือกับกระแสนำ้า เย็น กรีนแลนด์ไหลมาบรรจบกัน ทำาให้มีปลาชุกชุม 19.2 ประเทศที่ มี ผ ลผลิ ต จากการประมงในเขตทะเลเหนื อ มากที่ สุ ด ได้ แ ก่ สหราชอาณาจั ก รนอร์ เ วย์ ไอซ์ แ ลนด์ และ เนเธอร์แลนด์ ٢٠. การทำาป่าไม้ ٢٠.١ ทวี ป ยุ โ รปมี พื้ น ที่ ป่ า ไม้ จ ากธรรมชาติ เ หลื อ อยู่ โดย เฉพาะยุโรปตะวันตก เนื่องจากถูกตัดโค่นทำา ลายเพื่อใช้ประโยชน์จาก เนื้อไม้ และใช้พื้นที่เพื่อการเกษตรกรรม อุตสาหกรรม เส้นทางคมนาคม และที่อยู่อาศัย ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้ทปลูกขึ้นมาใหม่ ี่ ٢٠.٢ แหล่งป่าไม้สำา คัญของทวีปยุโรปอยู่ในเขตยุโรปเหนือ ประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ นอร์เวย์ และรัสเซีย ส่วนใหญ่เป็นป่าสน นำา มาใช้ทำาเยื่อกระดาษและลังไม้ ٢١. การอุตสาหกรรม
  • 11. ٢١.١ ทวีปยุโรปมีการพัฒนาอุตสาหกรรมเจริญก้าวหน้า มี เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยและเป็นรายได้หลักของเกือบทุกประเทศ ในทวี ป แหล่ ง อุ ต สาหกรรมที่ สำา คั ญ อยู่ ใ นเขตยุ โ รปตะวั น ตก ได้ แ ก่ เยอรมนี สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และอิตาลี ٢١.٢ ประเภทของอุตสาหกรรมที่สำาคัญ ได้แก่ การผลิตเหล็ก และเหล็กกล้า เครื่องจักรกล การต่อเรือ เครื่อ งบิ นโดยสาร เคมีภัณฑ์ สิ่ ง ทอ การแปรรู ป สิ น ค้ า เกษตร ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหาร นมและเนย และ ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ٢٢. การพาณิชยกรรม ٢٢.١ ทวีปยุโรปมีความเจริญก้าวหน้าทางการค้าระหว่าง ประเทศมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีตลาดการค้ากระจายไปทั่วทุก ภูมิภาคของโลก ประเทศที่มีมูลค่าการค้าระหว่างประเทศสูงมาก ได้แก่ เยอรมนี ฝรังเศส สหราชอาณาจักร อิตาลี และเนเธอร์แลนด์ ่ ٢٢.٢ สิ น ค้ า เข้ า ที่ สำา คั ญ ได้ แ ก่ นำ้า มั น เชื้ อ เพลิ ง อาหาร และ วัตถุดิบในการผลิตอุตสาหกรรม ٢٢.٣ สิ น ค้ า ออกที่ สำา คั ญ ได้ แ ก่ สิ น ค้ า อุ ต สาหกรรม และ ผลิตภัณฑ์อาหาร นม เนย ฯลฯ ٢٢.٤ การรวมกลุ่ ม ทางเศรษฐกิ จ และการค้ า ระหว่ า งชาติ ยุ โ รป คื อ สหภาพยุ โ รป (EU : European Union) เพื่ อ ร่ ว มมื อ ช่ ว ย เหลื อ และพั ฒ นาทางเศรษฐกิ จ และการค้ า ซึ่ ง กั น และกั น ระหว่ า งชาติ สมาชิก (ในปัจจุบันมีสมาชิก ٢٥ ประเทศ) ลักษณะทางด้านประชากร สังคม และวัฒนธรรม ٢٣. ลักษณะด้านประชากร ٢٣.١ จำานวนประชากร ทวีปยุโรปมีจำานวนประชากรรวมทั้งสิ้น ٧ ٢٧.٤ ล้านคน (พ.ศ.٢٥٤٦) และประเทศทีมีจำานวนประชากรมากที่สุด คือ ่ รัสเซีย ประมาณ ١٤٥.٥ ล้านคน (พ.ศ.٢٥٤٦) 23.2 เชื้อชาติ ประชากรของทวีปยุโรปส่วนใหญ่เป็นชนผิวขาว (Caucasoid) ซึ่งเป็นชาติพันธุ์ดั้งเดิมที่อ าศั ยอยู่ใ นทวีป นี้ ต่อ มามีกลุ่ ม ชนผิวดำา (Negroid) และกลุ่มชนผิวเหลือง (Mongoloid) อพยพเข้ามา ตั้งถิ่นฐานเพิ่ม ขึ้น แต่ ประชากรส่ วนใหญ่ ของทวีป ยุโรปก็ยัง เป็ นชนผิ ว ขาวซึงแบ่งเป็น 3 กลุม ดังนี้ ่ ่ กลุ่มเชื้อชาติ บริเวณที่ตั้งถิ่นฐาน ลักษณะของ ประชากร ประชากร
  • 12. 1. กลุมนอร์ติก ่ ตอนเหนือของทวีป(คาบสมุท รู ป ร่ า งสู ง ใหญ่ ผมสี สแกนดิ เ นเวี ย )เช่ น นอร์ เ วย์ ทอง สวีเดน และเดนมาร์ก ฯลฯ ต า สี ฟ้ า ก ะ โ ห ล ก ศรีษะยาว 2. กลุมอัลไพน์ ต อ น ก ล า ง ข อ ง ท วี ป (เ ข ต รู ป ร่ า ง เ ตี้ ย ผ ม สี ่ เทือกเขาแอลป์) นำ้าตาล เช่น ฝรั่งเศส และยุโรปตะวัน กะโหลกศรีษะกลม ออก 3. ก ลุ่ ม ตอนใต้ ข องทวี ป เช่ น อิ ต าลี รู ป ร่ า ง เ ล็ ก ผิ ว ค ลำ้า เมดิ เ ตอร์ เ รเนี กรีซ สเปน และ ผมสีดำา ยน โปร์ตุเกส ตาสีฟ้า และกะโหลก ศรีษะกลม ٢٤. ลักษณะวัฒนธรรมทางภาษา ภาษาพูดของชาวยุโรปอยู่ในตระกูลภาษาอินโด ยุโรเปียน แบ่งได้ เป็น ٣ กลุมใหญ่ ๆ ดังนี้ ่ ٢٤.١ กลุ่ ม ภาษาเยอรมานิ ก (หรื อ ติ ว โตนิ ก ) เป็ น ภาษาของ ประชากรแถบยุโรปเหนือ เช่น ภาษาสวีเดน นอร์เวย์ เดนมาร์ก อังกฤษ เยอรมัน และเนเธอร์แลนด์ เป็นต้น 24.2 กลุ่มภาษาสลาฟ (หรือสลาวิก) เป็นภาษาของประชากร ในยุโรปภาคกลางและยุโรปตะวันออก เช่น ภาษารัสเซีย โปแลนด์ เช็ก ยูเครน สโลวะเกีย และบัลแกเรีย เป็นต้น ٢٤.٣ กลุ่ ม ภาษาโรมานซ์ (หรื อ ภาษาละติ น ) เป็ น ภาษาของ ประชากรในยุโรปใต้ เช่น อิตาลี สเปน โปร์ตุเกส และโรมาเนีย เป็นต้น ٢٥.ลักษณะความเชื่อทางศาสนา ٢٥.١ ศาสนาคริ ส ต์ ชาวยุ โ รปส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาคริ ส ต์ ( ประมาณร้อยละ ٧٧ ของประชากรทั้งทวีป) จำาแนกได้ ٣ นิกาย ดังนี้ (١) นิ ก ายโรมั น คาทอลิ ก มี ศู น ย์ ก ลางอยู่ ที่ น ครวาติ กั น (Vatican) เป็ น รั ฐ อิ ส ระตั้ ง อยู่ ใ จกลางกรุ ง โรม ประเทศอิ ต าลี มี พ ระ สั น ตะปาปา (Pope) เป็ น ประมุ ข ของคริ ส ตจั ก รคาทอลิ ก ชาวยุ โ รปที่ นับถือนิกายนี้ส่วนใหญ่เป็นประชากรทางแถบยุโรปใต้ เช่น อิตาลี สเปน โปร์ตุเกส ฯลฯ
  • 13. (٢) นิกายโปรเตสแตนท์ นับ ถื อ กั น มากแถบยุโ รปเหนื อ และ ยุ โ รปกลาง เช่ น สวี เ ดน เดนมาร์ ก เนเธอร์ แ ลนด์ เยอรมนี สหราช อาณาจักร ฯลฯ (٣) นิกายออร์ทอดอกซ์ เป็นนิกายที่นับถือในหมู่ประชากรของ ยุ โ รปตะวั น ออกและแถบคาบสมุ ท รบอลคาล เช่ น กรี ซ บั ล แกเรี ย โรมาเนีย รัสเซีย ยูเครน ฯลฯ 2 ٥.2 ศาสนาอิ ส ลาม เป็ น ศาสนาที่ ช าวยุ โ รปนั บ ถื อ รองลงมา ประเทศที่มีชาวมุสลิม ได้แก่ อัลบาเนีย โครเอเชีย บอสเนีย และชนก ลุ่มน้อยในประเทศรัสเซีย เป็นต้น ٢٦. ลักษณะด้านการเมืองการปกครอง ระบอบการเมืองการปกครองของประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรปมี ٤ ลักษณะ ดังนี้ ٢٦.١ ระบอบประชาธิปไตยแบบมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ได้แก่ ประเทศอังกฤษ เบลเยียม สเปน เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน และนอร์เวย์ 2 ٦.2 ระบอบประชาธิปไตยแบบมีประธานาธิบดีเป็นประมุข ได้แก่ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และโปแลนด์ เป็นต้น ٢ ٦ .٣ ร ะ บ อ บ สั ง ค ม นิ ย ม แ บ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย แ ล ะ มี ประธานาธิ บ ดี เ ป็ น ประมุ ข เช่ น สหพั น ธรั ฐ รั ส เซี ย ลั ต เวี ย ลิทั ว เนี ย และมอลโดวา เป็นต้น ٢٦.٤ การปกครองลักษณะพิเศษ ได้แก่ นครรัฐวาติกัน เป็น รัฐอิสระตั้งอยู่ใจกลางกรุงโรม ประเทศอิตาลี มีพระสันตะปาปา (Pope) เป็นประมุข *******************************