SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 9
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ความเร็วชนิดต่าง ๆ
เมื่อกล่าวถึงความเร็ว ไม่ว่าความเร็วเรื่องใด จะต้องมีระยะทางและเวลาเข้ามาเกี่ยวข้องทุกเรื่อง เพราะว่า
ความเร็วหาได้จากระยะทางต่อหน่วยเวลา ส่วนระยะทางและเวลานั้นจะใช้หน่วยวัดเป็นอะไรนั้นขึ้นอยู่กับงานนั้น ๆ
เช่น รถยนต์คันหนึ่งวิ่งได้ระยะทาง 100 กิโลเมตร ใช้เวลา 1 ชั่วโมงก็แสดงว่า ระยะทาง มีหน่วยเป็น กิโลเมตร เวลา
มีหน่วยเป็น ชั่วโมง ความเร็วมีหน่วย เป็น กิโลเมตร/ชั่วโมง สาหรับความเร็ว มีหน่วยเป็น กิโลเมตร/ชั่วโมง สาหรับ
ความเร็ว ในงานเครื่องมือกลที่ควรจะต้องรู้จัก คือ ความเร็วตัด ความเร็วรอบ และความเร็วขอบ ดังจะได้กล่าว
ต่อไปนี้
ความเร็ว
ความเร็ว ( Velocity : v ) คือ อัตราการเคลื่อนที่ หมายถึง ระยะทางที่เคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งต่อ
หนึ่งหน่วยเวลา ความเร็วที่ใช้ในช่วงนั้น จะวัดระยะทางเป็นเส้นตรง และเส้นรอบวงก็ได้
ฉะนั้น
โดยที่
ระยะทาง นิยมวัดเป็น กิโลเมตร ( km ) , เมตร ( m ) , มิลลิเมตร ( mm )
เวลา นิยมวัดเป็น ชั่วโมง ( h ) , นาที ( min ) , วินาที ( s )
ความเร็ว =
เวลา
ระยะทาง
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
หน่วยของความเร็วต่าง ๆ นั้น ใช้ในงานลักษณะต่างกัน ดังนี้
หน่วยความเร็ว ตัวย่อ ตัวอย่างงาน
กิโลเมตรต่อชั่วโมง กม./ชม. : km/h ความเร็วเส้นตรง ; รถยนต์
เมตรต่อนาที ม./นาที : m/min ความเร็วตัด
เมตรต่อวินาที ม./วินาที : m/s ความเร็วขอบ
มิลลิเมตรต่อนาที มม./นาที : mm/min ความเร็วป้ อน
ในการเคลื่อนที่นั้น บางครั้งในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ความเร็วอาจไม่คงที่ ดังนั้น ในการคานวณนี้ จึงเป็นการ
คานวณหาค่าความเร็วเฉลี่ย ซึ่งความเร็วที่ใช้มากในงานช่างอุตสาหกรรมได้แก่
1. ความเร็วเส้นตรง
2. ความเร็วรอบ
3. ความเร็วขอบ
4. ความเร็วตัด
1. ความเร็วเส้นตรง
ความเร็วเส้นตรง คือ ความเร็วที่เคลื่อนที่ไปในแนวตรง ในทิศทางไปข้างหน้า หรือ ถอยหลัง ไป
ทางซ้ายหรือขวา เช่น ความเร็วที่รถยนต์วิ่งบนถนนได้ 100 กิโลเมตรเป็นต้น
สูตรที่ใช้ในการหาความเร็วเส้นตรง คือ
เมื่อ v = ความเร็ว ( กม./ชม. , ม./นาที )
s = ระยะทาง ( กม. , ม. , มม. )
t = เวลา ( ชั่วโมง , นาที , วินาที )
v =
t
s
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 6.1 จารัสขับรถยนต์ในระยะทาง 500 กม. ในเวลา 5 ชั่วโมง จงคานวณหา
1. ความเร็วเฉลี่ย
2. ถ้าขับต่อไปในความเร็วเดิมให้ครบ 1000 กม. จะขับรถนานเท่าไร
วิธีทา จากสูตร v =
t
s
แทนค่า v =
5
500
= 100 กม./ชม.
∴ ความเร็วเฉลี่ย = 100 กม./ชม. ตอบ
เมื่อขับรถได้ระยะทาง 1,000 กม.
จากสูตร v =
t
s
แทนค่า 100 =
t
1000
t =
100
1000
= 10 ชม.
∴ จะขับรถนาน = 10 ชั่วโมง ตอบ
ในความเป็นจริงแล้วจะเห็นได้ว่า ขณะที่รถยนต์วิ่งไปตามถนนความเร็วของรถยนต์ มักจะไม่คงที่เสมอไป
เพราะบางครั้งต้องเร่งเครื่องให้เร็วขึ้นเพื่อแซง และบางครั้งก็ต้องชะลอความเร็วลง เพราะรถคันหน้าขับช้า ถ้าหาก
นามาเขียนเป็นกราฟแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างความเร็วกับเวลา จะได้กราฟ ดังนี้
ความเร็วจริง
ความเร็วเฉลี่ย
เวลา ( h )
ความเร็ว ( กม./ชม. )
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 6.2 ชายคนหนึ่งขับรถยนต์ไปตามถนนสายหนึ่ง ซึ่งนามาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
ความเร็วกับเวลาได้ดังรูป จงคานวณ
1. ความเร็วเฉลี่ยโดยประมาณ
2. ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้
วิธีทา 1. เมื่อพิจารณาจากกราฟจะได้ความเร็วเฉลี่ย = 40 km/h ตอบ
2. จากสูตร v =
t
s
แทนค่า 40 =
5.1
s
∴ s = 40  1.5 = 60 km
∴ ระยะทางที่รถยนต์เคลื่อนที่ได้ = 60 km ตอบ
2. ความเร็วรอบ
ภาษาช่าง เรียกว่า ความเร็วรอบ หรือบางครั้งก็เรียกว่า ความเร็วเส้นรอบวง หมายถึง ระยะที่เคลื่อนที่เป็น
จานวนรอบต่อหนึ่งหน่วยเวลา นิยมวัดเป็น รอบต่อนาที ( Revolutions หรือ Rounds per minute : rpm )
ตัวอย่าง เช่น ความเร็วหมุนของล้อ มู่เล่ ( Flywheel ) ล้อสายพาน ฟันเฟือง ล้อหินเจียระไน ความเร็ว
รอบของงานกลึง ความเร็วรอบของดอกสว่าน ในงานเจาะ ความเร็วรอบของดอกกัดของเครื่องกัด หรือชิ้นส่วน
อื่น ๆ ของเครื่องจักรที่ต้องหมุน เป็นต้น
ความเร็วจริง
ความเร็วเฉลี่ย
เวลา ( h )
ความเร็ว ( กม./ชม. )
50
40
30
20
10
0
0.5 1 1.5
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ประโยชน์การรู้ความเร็วรอบในงานช่าง คือ นาไปตั้งความเร็วรอบของงานหรือเครื่องมือตัด ชนิดนั้น ๆ ได้
ถูกต้อง ทาให้ยืดอายุการใช้งานของเครื่องมือตัด และประหยัดเวลาการทางาน ทาให้ลดต้นทุนราคาสินค้าที่ผลิต
ข้อเสีย ในกรณีใช้ความเร็วรอบสูงกว่าความเป็นจริงจะทาให้อายุการใช้งานของเครื่องมือตัด มีอายุสั้นกว่า
กาหนดเวลา จะต้องเสียเวลาเปลี่ยนเครื่องมือตัด และเสียเวลาจับคมตัดใหม่ และในกรณีใช้ความเร็วรอบช้ากว่าปกติ จะ
ทาให้เสียเวลาการทางาน ทาให้ผลิตสินค้าได้ปริมาณน้อยลงกว่าความเป็นจริง
จะเห็นได้ว่า ถ้าใช้ความเร็วรอบเร็วเกินไปหรือช้าเกินไป จะเกิดผลเสียจึงจาเป็นจะต้องเลือกใช้ความเร็วรอบให้
เหมาะสมกับชนิดของงานนั้น
3. ความเร็วขอบ
ความเร็วขอบ หมายถึง ระยะทางที่จุดๆหนึ่งบนขอบล้อเคลื่อนที่ไปต่อหนึ่งหน่วยเวลา นิยมวัดเป็น เมตรต่อ
วินาที หรือ การคานวณหาระยะทางเส้นรอบวงคูณด้วยความเร็วรอบ แต่คิดในเวลา 1 วินาที ใช้งานเกี่ยวกับงานล้อหิน
เจียระไน มู่เล่ และล้อสายพาน เป็นต้น
จากรูป จุด P เป็นจุดๆหนึ่งบนขอบล้อ ขณะที่ล้อหมุน จุด P ก็จะหมุนตามไปด้วย ความเร็วที่ จุด P เคลื่อนที่
นั้น เรียกว่า ความเร็วขอบ
จะได้ว่า ระยะทางของจุด P เมื่อหมุน 1 รอบ = dπ , เมื่อ d เป็น มม.
ระยะทางของจุด P เมื่อหมุน 2 รอบ = dπ .2
ดังนั้น ระยะทางของจุด P เมื่อหมุน n รอบ = dπ .n เมื่อ n มีหน่วยเป็น รอบ/นาที
d
V
P
v
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
นั่นคือ
ความเร็วขอบ มีหน่วยเป็น เมตร / วินาที จึงใช้สูตร
โดยให้
v = ความเร็วขอบ ( ม./วินาที )
d = เส้นผ่านศูนย์กลาง ( มม )
n = จานวนรอบที่หมุนใน 1 นาที ( รอบ / นาที )
หมายเหตุ ในสูตรที่หารด้วย 1000 และ 60 เพราะต้องการเปลี่ยนหน่วยความยาว เส้นผ่านศูนย์กลาง จาก
มิลลิเมตร เป็นเมตร ( 1000 มม. = 1 ม. ) และจาก นาทีทาให้เป็นวินาที ( 60 วินาที = 1 นาที )
ตัวอย่างที่ 6.3 จงหาความเร็วขอบของล้อหินเจียระไนที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 350 มม. หมุนด้วยความเร็ว
รอบ 1,350 รอบ/นาที
วิธีทา จากสูตร v ( ความเร็วขอบ ) =
601000
dn

π
ม./วินาที
แทนค่า v =
601000
350,135014.3


ม./วินาที
v = 24.72 ม./วินาที
 ความเร็วขอบของล้อหินเจียระไน = 24.72 ม./วินาที ตอบ
v ( ความเร็วขอบ ) =
601000
dn

π
เมตร/วินาที
v ( ความเร็วขอบ ) = dπ n มม./นาที
รูป 2.4 สกายบุ๊ค
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
4. ความเร็วตัด
ความเร็วตัด เป็นความเร็วที่ใช้กับงานกลึง งานกัด และงานเจาะ ความจริงแล้วก็คือ ค่าความเร็วขอบ
นั่นเอง ต่างกันตรงที่มีหน่วยวัดเป็น เมตร/นาที แต่เนื่องจากในงานกลึง งานกัด และงานเจาะ
เศษโลหะถูกตัดเฉือน มีการไหลของเศษโลหะออกมา จึงเรียกว่า ความเร็วตัด
ความเร็วตัด หมายถึง ความเร็วรอบที่ใช้กับการตัดเนื้อโลหะมีเศษออกมา เช่น งานกลึง งานกัด งานคว้าน
และงานเจาะ เป็นต้น นิยมวัดเป็น เมตร/นาที
จากสูตร
ความเร็วตัด มีหน่วยเป็น เมตร/นาที ดังนั้น สูตรในการหาความเร็วตัด คือ
โดยให้
v = ความเร็วตัด ( เมตร/นาที )
d = เส้นผ่านศูนย์กลาง ( มม. )
n = จานวนรอบที่หมุนใน 1 นาที ( รอบ / นาที )
v ( ความเร็วตัด ) = dπ n มม./นาที
v ( ความเร็วตัด ) =
1000
dnπ
เมตร/วินาที
P
v
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ข้อสังเกต ความเร็วตัดเทียบได้กับความยาวของเศษโลหะที่ตัดออกได้ใน 1 นาที
หมายเหตุ ในสูตรที่หารด้วย 1000 เพราะต้องการเปลี่ยนหน่วยความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง จาก มิลลิเมตร
เป็นเมตร ( 1000 มม. = 1 ม. )
ตัวอย่างที่ 6.4 ต้องการกลึงงานชิ้นหนึ่ง ขนาดวัดผ่านศูนย์กลาง 30 มม. ด้วยความเร็วตัดเท่าไร ถ้าจะต้องกลึง
ด้วยความเร็วรอบ 250 รอบ/นาที
วิธีทา จากสูตร v ( ความเร็วตัด ) =
1000
dnπ
ม./นาที
แทนค่า v =
1000
2503014.3 
ม./นาที
v = 23.55 ม./นาที
 กลึงชิ้นงานด้วยความเร็วตัด = 23.55 ม./นาที ตอบ
ตัวอย่างที่ 6.5 จงหาความเร็วรอบที่ใช้ในการกลึงชิ้นงานขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 45 มม. ด้วยความเร็วตัด
35 ม./นาที
วิธีทา จากสูตร v ( ความเร็วตัด ) =
1000
dnπ
ม./นาที
แทนค่า 35 =
1000
n4514.3 
ม./นาที
n =
4514.3
100035


ม./นาที
= 247.70248 รอบ/นาที
 กลึงชิ้นงานด้วยความเร็วรอบ = 23.55 รอบ/นาที ตอบ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
medfai
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
dnavaroj
 
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
Jiraporn Taweechaikarn
 
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
พัน พัน
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
nang_phy29
 
รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1
Parichat1989
 

Was ist angesagt? (20)

6 3
6 36 3
6 3
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วย วิชาเอกฟิสิกส์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วย วิชาเอกฟิสิกส์แนวข้อสอบครูผู้ช่วย วิชาเอกฟิสิกส์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วย วิชาเอกฟิสิกส์
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
 
5 2
5 25 2
5 2
 
2 5
2 52 5
2 5
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
 
3 2
3 23 2
3 2
 
ปริมาตรของปริซึม
ปริมาตรของปริซึมปริมาตรของปริซึม
ปริมาตรของปริซึม
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560
 
9 2
9 29 2
9 2
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1
 
6 4
6 46 4
6 4
 

Ähnlich wie 6 1

บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
guest6eaa7e
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
untika
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
krupornpana55
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Dew Thamita
 
Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56
Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56
Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56
krupornpana55
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
Worrachet Boonyong
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
Lai Pong
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
Lai Pong
 

Ähnlich wie 6 1 (20)

บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
 
แผนการสอนการวัดต่อหน่วย
แผนการสอนการวัดต่อหน่วยแผนการสอนการวัดต่อหน่วย
แผนการสอนการวัดต่อหน่วย
 
Lesson02
Lesson02Lesson02
Lesson02
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56
Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56
Sl2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง พค56
 
2
22
2
 
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรงChapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 
6 2
6 26 2
6 2
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 

Mehr von Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

6 1

  • 1. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน ความเร็วชนิดต่าง ๆ เมื่อกล่าวถึงความเร็ว ไม่ว่าความเร็วเรื่องใด จะต้องมีระยะทางและเวลาเข้ามาเกี่ยวข้องทุกเรื่อง เพราะว่า ความเร็วหาได้จากระยะทางต่อหน่วยเวลา ส่วนระยะทางและเวลานั้นจะใช้หน่วยวัดเป็นอะไรนั้นขึ้นอยู่กับงานนั้น ๆ เช่น รถยนต์คันหนึ่งวิ่งได้ระยะทาง 100 กิโลเมตร ใช้เวลา 1 ชั่วโมงก็แสดงว่า ระยะทาง มีหน่วยเป็น กิโลเมตร เวลา มีหน่วยเป็น ชั่วโมง ความเร็วมีหน่วย เป็น กิโลเมตร/ชั่วโมง สาหรับความเร็ว มีหน่วยเป็น กิโลเมตร/ชั่วโมง สาหรับ ความเร็ว ในงานเครื่องมือกลที่ควรจะต้องรู้จัก คือ ความเร็วตัด ความเร็วรอบ และความเร็วขอบ ดังจะได้กล่าว ต่อไปนี้ ความเร็ว ความเร็ว ( Velocity : v ) คือ อัตราการเคลื่อนที่ หมายถึง ระยะทางที่เคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งต่อ หนึ่งหน่วยเวลา ความเร็วที่ใช้ในช่วงนั้น จะวัดระยะทางเป็นเส้นตรง และเส้นรอบวงก็ได้ ฉะนั้น โดยที่ ระยะทาง นิยมวัดเป็น กิโลเมตร ( km ) , เมตร ( m ) , มิลลิเมตร ( mm ) เวลา นิยมวัดเป็น ชั่วโมง ( h ) , นาที ( min ) , วินาที ( s ) ความเร็ว = เวลา ระยะทาง
  • 2. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน หน่วยของความเร็วต่าง ๆ นั้น ใช้ในงานลักษณะต่างกัน ดังนี้ หน่วยความเร็ว ตัวย่อ ตัวอย่างงาน กิโลเมตรต่อชั่วโมง กม./ชม. : km/h ความเร็วเส้นตรง ; รถยนต์ เมตรต่อนาที ม./นาที : m/min ความเร็วตัด เมตรต่อวินาที ม./วินาที : m/s ความเร็วขอบ มิลลิเมตรต่อนาที มม./นาที : mm/min ความเร็วป้ อน ในการเคลื่อนที่นั้น บางครั้งในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ความเร็วอาจไม่คงที่ ดังนั้น ในการคานวณนี้ จึงเป็นการ คานวณหาค่าความเร็วเฉลี่ย ซึ่งความเร็วที่ใช้มากในงานช่างอุตสาหกรรมได้แก่ 1. ความเร็วเส้นตรง 2. ความเร็วรอบ 3. ความเร็วขอบ 4. ความเร็วตัด 1. ความเร็วเส้นตรง ความเร็วเส้นตรง คือ ความเร็วที่เคลื่อนที่ไปในแนวตรง ในทิศทางไปข้างหน้า หรือ ถอยหลัง ไป ทางซ้ายหรือขวา เช่น ความเร็วที่รถยนต์วิ่งบนถนนได้ 100 กิโลเมตรเป็นต้น สูตรที่ใช้ในการหาความเร็วเส้นตรง คือ เมื่อ v = ความเร็ว ( กม./ชม. , ม./นาที ) s = ระยะทาง ( กม. , ม. , มม. ) t = เวลา ( ชั่วโมง , นาที , วินาที ) v = t s
  • 3. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน
  • 4. ตัวอย่างที่ 6.1 จารัสขับรถยนต์ในระยะทาง 500 กม. ในเวลา 5 ชั่วโมง จงคานวณหา 1. ความเร็วเฉลี่ย 2. ถ้าขับต่อไปในความเร็วเดิมให้ครบ 1000 กม. จะขับรถนานเท่าไร วิธีทา จากสูตร v = t s แทนค่า v = 5 500 = 100 กม./ชม. ∴ ความเร็วเฉลี่ย = 100 กม./ชม. ตอบ เมื่อขับรถได้ระยะทาง 1,000 กม. จากสูตร v = t s แทนค่า 100 = t 1000 t = 100 1000 = 10 ชม. ∴ จะขับรถนาน = 10 ชั่วโมง ตอบ ในความเป็นจริงแล้วจะเห็นได้ว่า ขณะที่รถยนต์วิ่งไปตามถนนความเร็วของรถยนต์ มักจะไม่คงที่เสมอไป เพราะบางครั้งต้องเร่งเครื่องให้เร็วขึ้นเพื่อแซง และบางครั้งก็ต้องชะลอความเร็วลง เพราะรถคันหน้าขับช้า ถ้าหาก นามาเขียนเป็นกราฟแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างความเร็วกับเวลา จะได้กราฟ ดังนี้ ความเร็วจริง ความเร็วเฉลี่ย เวลา ( h ) ความเร็ว ( กม./ชม. )
  • 5. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 6.2 ชายคนหนึ่งขับรถยนต์ไปตามถนนสายหนึ่ง ซึ่งนามาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความเร็วกับเวลาได้ดังรูป จงคานวณ 1. ความเร็วเฉลี่ยโดยประมาณ 2. ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ วิธีทา 1. เมื่อพิจารณาจากกราฟจะได้ความเร็วเฉลี่ย = 40 km/h ตอบ 2. จากสูตร v = t s แทนค่า 40 = 5.1 s ∴ s = 40  1.5 = 60 km ∴ ระยะทางที่รถยนต์เคลื่อนที่ได้ = 60 km ตอบ 2. ความเร็วรอบ ภาษาช่าง เรียกว่า ความเร็วรอบ หรือบางครั้งก็เรียกว่า ความเร็วเส้นรอบวง หมายถึง ระยะที่เคลื่อนที่เป็น จานวนรอบต่อหนึ่งหน่วยเวลา นิยมวัดเป็น รอบต่อนาที ( Revolutions หรือ Rounds per minute : rpm ) ตัวอย่าง เช่น ความเร็วหมุนของล้อ มู่เล่ ( Flywheel ) ล้อสายพาน ฟันเฟือง ล้อหินเจียระไน ความเร็ว รอบของงานกลึง ความเร็วรอบของดอกสว่าน ในงานเจาะ ความเร็วรอบของดอกกัดของเครื่องกัด หรือชิ้นส่วน อื่น ๆ ของเครื่องจักรที่ต้องหมุน เป็นต้น ความเร็วจริง ความเร็วเฉลี่ย เวลา ( h ) ความเร็ว ( กม./ชม. ) 50 40 30 20 10 0 0.5 1 1.5
  • 6. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน ประโยชน์การรู้ความเร็วรอบในงานช่าง คือ นาไปตั้งความเร็วรอบของงานหรือเครื่องมือตัด ชนิดนั้น ๆ ได้ ถูกต้อง ทาให้ยืดอายุการใช้งานของเครื่องมือตัด และประหยัดเวลาการทางาน ทาให้ลดต้นทุนราคาสินค้าที่ผลิต ข้อเสีย ในกรณีใช้ความเร็วรอบสูงกว่าความเป็นจริงจะทาให้อายุการใช้งานของเครื่องมือตัด มีอายุสั้นกว่า กาหนดเวลา จะต้องเสียเวลาเปลี่ยนเครื่องมือตัด และเสียเวลาจับคมตัดใหม่ และในกรณีใช้ความเร็วรอบช้ากว่าปกติ จะ ทาให้เสียเวลาการทางาน ทาให้ผลิตสินค้าได้ปริมาณน้อยลงกว่าความเป็นจริง จะเห็นได้ว่า ถ้าใช้ความเร็วรอบเร็วเกินไปหรือช้าเกินไป จะเกิดผลเสียจึงจาเป็นจะต้องเลือกใช้ความเร็วรอบให้ เหมาะสมกับชนิดของงานนั้น 3. ความเร็วขอบ ความเร็วขอบ หมายถึง ระยะทางที่จุดๆหนึ่งบนขอบล้อเคลื่อนที่ไปต่อหนึ่งหน่วยเวลา นิยมวัดเป็น เมตรต่อ วินาที หรือ การคานวณหาระยะทางเส้นรอบวงคูณด้วยความเร็วรอบ แต่คิดในเวลา 1 วินาที ใช้งานเกี่ยวกับงานล้อหิน เจียระไน มู่เล่ และล้อสายพาน เป็นต้น จากรูป จุด P เป็นจุดๆหนึ่งบนขอบล้อ ขณะที่ล้อหมุน จุด P ก็จะหมุนตามไปด้วย ความเร็วที่ จุด P เคลื่อนที่ นั้น เรียกว่า ความเร็วขอบ จะได้ว่า ระยะทางของจุด P เมื่อหมุน 1 รอบ = dπ , เมื่อ d เป็น มม. ระยะทางของจุด P เมื่อหมุน 2 รอบ = dπ .2 ดังนั้น ระยะทางของจุด P เมื่อหมุน n รอบ = dπ .n เมื่อ n มีหน่วยเป็น รอบ/นาที d V P v
  • 7. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน นั่นคือ ความเร็วขอบ มีหน่วยเป็น เมตร / วินาที จึงใช้สูตร โดยให้ v = ความเร็วขอบ ( ม./วินาที ) d = เส้นผ่านศูนย์กลาง ( มม ) n = จานวนรอบที่หมุนใน 1 นาที ( รอบ / นาที ) หมายเหตุ ในสูตรที่หารด้วย 1000 และ 60 เพราะต้องการเปลี่ยนหน่วยความยาว เส้นผ่านศูนย์กลาง จาก มิลลิเมตร เป็นเมตร ( 1000 มม. = 1 ม. ) และจาก นาทีทาให้เป็นวินาที ( 60 วินาที = 1 นาที ) ตัวอย่างที่ 6.3 จงหาความเร็วขอบของล้อหินเจียระไนที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 350 มม. หมุนด้วยความเร็ว รอบ 1,350 รอบ/นาที วิธีทา จากสูตร v ( ความเร็วขอบ ) = 601000 dn  π ม./วินาที แทนค่า v = 601000 350,135014.3   ม./วินาที v = 24.72 ม./วินาที  ความเร็วขอบของล้อหินเจียระไน = 24.72 ม./วินาที ตอบ v ( ความเร็วขอบ ) = 601000 dn  π เมตร/วินาที v ( ความเร็วขอบ ) = dπ n มม./นาที
  • 8. รูป 2.4 สกายบุ๊ค วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน 4. ความเร็วตัด ความเร็วตัด เป็นความเร็วที่ใช้กับงานกลึง งานกัด และงานเจาะ ความจริงแล้วก็คือ ค่าความเร็วขอบ นั่นเอง ต่างกันตรงที่มีหน่วยวัดเป็น เมตร/นาที แต่เนื่องจากในงานกลึง งานกัด และงานเจาะ เศษโลหะถูกตัดเฉือน มีการไหลของเศษโลหะออกมา จึงเรียกว่า ความเร็วตัด ความเร็วตัด หมายถึง ความเร็วรอบที่ใช้กับการตัดเนื้อโลหะมีเศษออกมา เช่น งานกลึง งานกัด งานคว้าน และงานเจาะ เป็นต้น นิยมวัดเป็น เมตร/นาที จากสูตร ความเร็วตัด มีหน่วยเป็น เมตร/นาที ดังนั้น สูตรในการหาความเร็วตัด คือ โดยให้ v = ความเร็วตัด ( เมตร/นาที ) d = เส้นผ่านศูนย์กลาง ( มม. ) n = จานวนรอบที่หมุนใน 1 นาที ( รอบ / นาที ) v ( ความเร็วตัด ) = dπ n มม./นาที v ( ความเร็วตัด ) = 1000 dnπ เมตร/วินาที P v
  • 9. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 6 ระบบส่งกาลังทางกล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 6.1 ความเร็วชนิดต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน ข้อสังเกต ความเร็วตัดเทียบได้กับความยาวของเศษโลหะที่ตัดออกได้ใน 1 นาที หมายเหตุ ในสูตรที่หารด้วย 1000 เพราะต้องการเปลี่ยนหน่วยความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง จาก มิลลิเมตร เป็นเมตร ( 1000 มม. = 1 ม. ) ตัวอย่างที่ 6.4 ต้องการกลึงงานชิ้นหนึ่ง ขนาดวัดผ่านศูนย์กลาง 30 มม. ด้วยความเร็วตัดเท่าไร ถ้าจะต้องกลึง ด้วยความเร็วรอบ 250 รอบ/นาที วิธีทา จากสูตร v ( ความเร็วตัด ) = 1000 dnπ ม./นาที แทนค่า v = 1000 2503014.3  ม./นาที v = 23.55 ม./นาที  กลึงชิ้นงานด้วยความเร็วตัด = 23.55 ม./นาที ตอบ ตัวอย่างที่ 6.5 จงหาความเร็วรอบที่ใช้ในการกลึงชิ้นงานขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 45 มม. ด้วยความเร็วตัด 35 ม./นาที วิธีทา จากสูตร v ( ความเร็วตัด ) = 1000 dnπ ม./นาที แทนค่า 35 = 1000 n4514.3  ม./นาที n = 4514.3 100035   ม./นาที = 247.70248 รอบ/นาที  กลึงชิ้นงานด้วยความเร็วรอบ = 23.55 รอบ/นาที ตอบ