SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 31
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง
โครงการพัฒนาเบ็ดเสร็จลุ่มน้้าสาขาแม่ปิง
ศูนย์ศึกษาเพื่อการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้
โครงการหมู่บ้านยามชายแดน(๔๖ หมู่บ้าน)
โครงการระบบเก็บกักน้้าในถ้้า
โครงการขยายผลโครงการหลวง
โครงการขยายผลฯ เพื่อแก้ไขปัญหาฝิ่น
โครงการชลประทานต่างๆ
โครงการสถานีพัฒนาเกษตรที่สูง
โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่
โครงการธนาคารอาหารชุมชน
โครงการรักษ์น้้าเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน
โครงการอนุรักษ์แหล่งพันธุกรรมไม้สัก และพัฒนาคุณภาพชีวิตฯ
โครงการตามการร้องขอของราษฎร (ฎีกา)
โครงการจัดหาน้้าให้ราษฎรบ้านห้วยน้้าดั้น อ.อมก๋อย (ฎีกา)
จัดหาน้้าสนับสนุนโครงการส่งเสริมการเลี้ยงไก่ของกลุ่ม
เยาวชนแม่สอย (โรงสูบน้้าบ่อบาดาลและระบบส่งน้้า)
อ.จอมทอง (โครงการเบ็ดเสร็จ)
ปรับปรุงอ่างเก็บน้้าห้วยม่วงตอนบนและอ่างเก็บน้้า
ห้วยสะแพดตอนบน (โครงการเบ็ดเสร็จ) อ.จอมทอง
โครงการพัฒนาพื้นที่สวนบ้านกองแหะ อ.แม่ริม
โครงการพัฒนาลุ่มน้้าแม่งอน
โครงการความร่วมมือมูลนิธิชัยพัฒนา – สาธารณรัฐประชาชนจีน
งานจัดหาน้้าสนับสนุนโรงเรียน ตชด.
งานจัดหาน้้าสนับสนุน ศกร.ตชด.
งานจัดหาน้้าสนับสนุนการจัดตั้ง รพ. แม่แจ่ม
การผลิตกระแสไฟฟ้าพลังน้้า (ขนาดเล็ก)
โครงการตามการร้องขอของราษฎร (ฎีกา)
โครงการตามการร้องขอของราษฎร (ฎีกา)
โครงการปรับปรุงล้าเหมืองฝายเหมือง
ห้วยตาด และฝายห้วยหลวง ต.ช่างเคิ่ง
อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่
โครงการอ่างเก็บน้้าห้วยปล่อยควาย
ต.ท่าผา อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่
สภาพปัญหาของระบบประปาภูเขา
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
สภาพปัญหาของระบบประปาภูเขา
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
สภาพปัญหาของระบบประปาภูเขา
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
แนวทางการวางโครงการ
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
ฝาย
ท่อส่งน้า
บ่อเก็บน้า คสล.
ฝาย
ท่อส่งน้า
อาคารบังคับน้า คสล.
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
แนวทางการวางโครงการ
ท่อส่งน้า
ฝายเกเบี้ยน
อาคารรับน้าจากแหล่งน้าซึมน้าซับ
สระเก็บน้าดาดคอนกรีต บ่อเก็บน้าคอนกรีตเสริมเหล็ก
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
บ่อเก็บน้า แบบมีฝาปิด
แนวทางการวางโครงการ
บ่อเก็บน้าคอนกรีตเสริมเหล็ก
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
แนวทางการวางโครงการ
การคานวณปริมาณน้าต้นทุนของ
แหล่งน้าซึมน้าซับ
การวัดปริมาณน้าเบื้องต้นในสนาม
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
แนวทางการวางโครงการ
การพิจารณาแนวและขนาดท่อ
Hazen–Williams equation
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
แนวทางการวางโครงการ
การพิจารณาแนวและขนาดท่อ
Darcy–Weisbach equation
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
ตะบันน้า
กังหันน้าก้นหอย, รูปกรวย สถานีสูบน้าพลังแสงอาทิตย์
แนวทางอื่น ๆ ในการวางโครงการ
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
การติดตั้งเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าพลังน้้า
ฝายช่างเคี่ยน
ฝายเดิมล้าห้วยแม่
หยวกน้อย
ท่อลอดถนน
สระที่ 1
สระที่ 2 สระที่ 3
สระที่ 4
ระบบท่อส่งน้้า PVC
ขนาด f 0.20 ม ยาว 2,060 ม
อาคาร DRAIN CULVERT
กม 46+492
อาคารระบายน้้าล้นอ่างเก็บน้้า
ห้วยแม่หยวก
รางระบายน้้า
ขนาด 2.50 x 2.00 ม
ยาว 460 ม
อาคารบังคับน้้า
แนวปรับปรุงคลอง16L เปนรางระบายน้้าคสล
ขนาด 3.00 x 2.00 ม ยาว 810 ม
อาคารปลายรางระบายน้้า
อาคารระบายน้้าล้น
สระศูนย์ประชุมฯ แห่งที่ 1
สระศูนย์ประชุมฯ แห่งที่ 2
รางส่งน้้าคสล ขนาด 1.10 x 1.10 ม ยาว 290 ม
บ่อ คสล 5 ลบ ม
ท่อสงน้้าคสล
ขนาด 4 นิ้ว
บ่อ คสล 5 ลบ ม
งานจ้างเหมาขุดลอกและขยายสระ
4 แห่ง
ขุดลอกล้าห้วยแม่หยวก
ยาว 1,910 ม
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
, 2, 3
A B C
ฝายห้วย ่างเคียน
cms.
cms.
x 2.7
16L-RMC
E F
G
0.76
1
2
D
1 2
Drain Culvert
รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ของโครงการ
วิเคราะห์ความต้องการใช้น้้า และความต้องการน้้าเพิ่มเติม (ROS)
วิเคราะห์ปริมาณน้้าหลากสูงสุด (Rational, Synthetic UH, Reservoir Routing)
วิเคราะห์ความสามารถการระบายน้้าของทางน้้าต่าง ๆ
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
Reservoir Operation Study (ROS.)
- กาหนดขนาดความจุของอ่างเก็บน้า
- ขนาดพื้นที่ชลประทานที่เหมาะสม
ปริมาณน้าที่เวลาสิ้นเดือน = ปริมาณน้าที่เวลาต้นเดือน + ปริมาณน้าท่าที่ไหลลงอ่างฯ + ปริมาณฝนที่ตกลงอ่างฯ –
ปริมาณน้าที่ระเหยและซึมลงดิน - ปริมาณน้าที่ปล่อยออก
ปริมาณน้าที่เวลาสิ้นเดือน = ปริมาณน้าที่เวลาต้นเดือนของเดือนถัดไป
ทาครบ 12 เดือน ก็จะทราบว่าในแต่ละเดือนจะมีปริมาณน้าอยู่ในอ่างเก็บน้าเท่าไร เกิดการขาดแคลนน้าหรือไม่ ถ้าขาดก็
จะต้องปรับค่าความต้องการน้าให้เหมาะสมจนกว่าจะพอดี
ROS. จะต้องทาให้ครบรอบ 12 เดือน โดยให้ได้ความจุอ่างฯ ที่เหมาะสมและพื้นที่ส่งน้ามากที่สุด ปริมาณน้าในเดือน
ต่าสุดต้องไม่น้อยกว่าความจุที่ Dead Storage และปริมาณน้าในเดือนสุดท้ายจะต้องมากกว่าปริมาณความจุอ่างที่กาหนดคือน้าล้น
(Spill) ไม่เกิน 3% ของความจุอ่างฯ ในแต่ละเดือนไม่ควร Operate ให้น้าล้นอ่างฯเว้นแต่จะจากัดความจุอ่างฯ หรือพื้นที่ส่งน้า
การ Operate นี้แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ครั้งแรกทา ROS. โดยใช้น้าปีเฉลี่ยเพื่อ Operate หาพื้นที่ส่งน้าให้ได้มากที่สุด ครั้งที่สอง
ทา ROS. โดยใช้น้าท่ารอบ10 ปี เพื่อใช้ในการกาหนดขนาดความจุอ่างทั่วไป ในกรณีเป็นโครงการบรรเทาอุทกภัยก็ใช้น้าท่ารอบ15 ปี
วัตถุประสงค์
หลักการ 0.0
5.0
10.0
15.0
20.0
25.0
30.0
35.0
40.0
45.0
50.0
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
x1,000
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
Reservoir Operation Study (ROS)
- ผลรวมเฉลี่ยน้าท่า (Average Annual Runoff Volume) ม.3
- ความจุอ่างที่ระดับ Dead Storage (DeadStorage v.) ม.3
- ฝนเฉลี่ยรายเดือน (Average Monthly r.f.) มม. จากสถิติ
- อัตราการระเหยและรั่วซึมรายเดือน (Monthly evaporation and Seepage) มม.
- น้าท่าเฉลี่ยรายเดือน (Inflow from runoff) -ม.3
- ความต้องการใช้น้าของข้าวต่อไร่ (Requirement for rice per rai) -ม.3/ไร่
- ความต้องการใช้น้าของพืชฤดูแล้ง (Requirement for up-land crop per rai) ม.3/ไร่
- ปริมาณน้าเพื่อการอุปโภคบริโภคหรือการประปา (Quantity required for water supply)
- ปริมาณน้าเพื่อโรงงานอุตสาหกรรม (Quantity required for factory)
- โค้งความจุและโค้งพื้นที่ผิวอ่างฯ
ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ ROS
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
Reservoir Routing
1. ปริมาตรของน้าในอ่างเก็บน้าจะมากขึ้น หรือระดับน้า
ในอ่างเก็บน้าจะเพิ่มขึ้นเมื่อมีปริมาณน้าไหลเข้ามาสู่อ่าง
เก็บน้า
2. เมื่อระดับน้าในอ่างเก็บน้าเพิ่มขึ้นปริมาณการไหลออก
จากอ่างเก็บน้าก็จะเพิ่มขึ้นด้วย การไหลออกจากอ่างเก็บ
น้าจะทาให้ปริมาตรน้าในอ่างเก็บน้าลดลง
3. ถ้าหากว่าปริมาณน้าไหลเข้าและปริมาณน้าไหลออกใน
เวลาใด ๆ ไม่เท่ากันแล้วจะมีการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของ
น้าในอ่างเก็บน้า
1. กราฟปริมาณน้าไหลเข้า (Inflow Hydrograph) ที่ได้จากการวิเคราะห์ปริมาณน้านองสูงสุดโดยวิธี Unit
Hydrograph ที่รอบปีการเกิดซ้าที่ต้องการพิจารณา
2. ลักษณะทางกายภาพของ Storage และ Outlets ของอ่างเก็บน้า คือโค้งความจุของอ่างเก็บน้า และโค้ง
ปริมาณน้าไหลออกจากทางระบายน้าที่ระดับน้าต่าง ๆ
หลักการของ Reservoir Routing
ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ Reservoir Routing
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
Reservoir Routing
Water Balance (Inflow rate - Outflow rate) Δt = Storage change (ΔS)
หรือ (I - O) = ΔS/Δt
สาหรับช่วงเวลาใด ๆ Δt = t2 - t1 และอัตราการไหลโดยเฉลี่ยเท่ากับ
Iav = (I1 + I2)/2 และ Oav = (O1 + O2)/2
การเปลี่ยนแปลงความจุที่ Δt คือ ΔS = S2 – S1 ดังนั้น
(I1 + I2)/2 - (O1 + O2)/2 = (S2 – S1)/Δt
จัดสมการใหม่ให้อยู่ในรูป
(S2/ Δt + O2/2) = (S1/ Δt – O1/2) + (I1 + I2)/2
จากสมการดังกล่าว เราทราบ I1, I2, และ (S1/ Δt – O1/2) และเราต้องการหาค่าทางฝั่งซ้ายของสมการเมื่อเรา
สร้างความสัมพันธ์ระหว่าง ระดับน้าและ S กับ O แล้ว เราจะสามารถหาค่า S / Δt -O/2 และ S / Δt +O/2 ได้
วิธีการวิเคราะห์ Reservoir Routing
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
Reservoir Routing
0.00
1.00
2.00
3.00
4.00
5.00
6.00
7.00
8.00
9.00
10.00
11.00
12.00
13.00
14.00
15.00
16.00
17.00
18.00
19.00
20.00
21.00
22.00
0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 14.0 16.0 18.0
ปรมาการไหลลบมวนาที
เวลา ชม
รอบปีการเกิดซ้า 1 ปี
Inflowpeak21.08 cms.
L= 12 m.outflow peak16.20 cms.
ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ Reservoir Routing อ่างเก็บน้้าจะสามารถลดปริมาณน้้าหลาก
(Peak Attenuation) ได้ 23 15 % (4 88 ลบ ม /วินาที) และชะลอการเกิดน้้าหลาก
สูงสุด (Peak Time Delay) ได้ประมาณ 2 ชั่วโมง
Peak Attenuation
Peak Time Delay
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
สระเก็บน้าทีดาเนินการก่อสร้าง
อาคารระบายน้าล้นทีดาเนินการก่อสร้าง
สานักงานชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน
Drain Culvert ลอดคลองแม่แตงฯ ปรับปรุงอาคารระบายน้าล้น ปรับปรุงลาห้วยหยวก
ก่อสร้างอาคารบังคับน้า ก่อสร้างรางระบายน้า คสล. ก่อสร้างระบบท่อส่งน้าจากอ่างเก็บน
ขอบคุณครับ
ชลประทาน งานเพื่อแผ่นดินไทย
ฝ่ายพิจารณาโครงการ ส้านักงานชลประทานที่ ๑
yorn53@yahoo.com โทร ๐๘๓-๑๕๓-๕๑๕
www.facebook.com/projectrid1
(พิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรม สชป 1 เชียงใหม่)

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Break Times Nite Vol.5 - iOS App - アプリ開発ビジネスの1つの実例
Break Times Nite Vol.5 - iOS App - アプリ開発ビジネスの1つの実例Break Times Nite Vol.5 - iOS App - アプリ開発ビジネスの1つの実例
Break Times Nite Vol.5 - iOS App - アプリ開発ビジネスの1つの実例prtimes-dev
 
Charla niños y tecnología 02
Charla niños y tecnología 02Charla niños y tecnología 02
Charla niños y tecnología 02zarmath
 
Kti husniarti lengkap
Kti husniarti lengkapKti husniarti lengkap
Kti husniarti lengkapWarnet Raha
 
TPACK -skills of Classroom Teachers in Crafts
TPACK -skills of Classroom Teachers in CraftsTPACK -skills of Classroom Teachers in Crafts
TPACK -skills of Classroom Teachers in CraftsMari Kyllönen
 
De Reis van de Heldin September 2015
De Reis van de Heldin September 2015De Reis van de Heldin September 2015
De Reis van de Heldin September 2015Peter de Kuster
 
Introduction to Web Design
Introduction to Web DesignIntroduction to Web Design
Introduction to Web DesignVictor M. Ortiz
 
Teaching speaking and grammar
Teaching speaking and grammarTeaching speaking and grammar
Teaching speaking and grammarElineth Suarez
 

Andere mochten auch (8)

Bella durmiente
Bella durmienteBella durmiente
Bella durmiente
 
Break Times Nite Vol.5 - iOS App - アプリ開発ビジネスの1つの実例
Break Times Nite Vol.5 - iOS App - アプリ開発ビジネスの1つの実例Break Times Nite Vol.5 - iOS App - アプリ開発ビジネスの1つの実例
Break Times Nite Vol.5 - iOS App - アプリ開発ビジネスの1つの実例
 
Charla niños y tecnología 02
Charla niños y tecnología 02Charla niños y tecnología 02
Charla niños y tecnología 02
 
Kti husniarti lengkap
Kti husniarti lengkapKti husniarti lengkap
Kti husniarti lengkap
 
TPACK -skills of Classroom Teachers in Crafts
TPACK -skills of Classroom Teachers in CraftsTPACK -skills of Classroom Teachers in Crafts
TPACK -skills of Classroom Teachers in Crafts
 
De Reis van de Heldin September 2015
De Reis van de Heldin September 2015De Reis van de Heldin September 2015
De Reis van de Heldin September 2015
 
Introduction to Web Design
Introduction to Web DesignIntroduction to Web Design
Introduction to Web Design
 
Teaching speaking and grammar
Teaching speaking and grammarTeaching speaking and grammar
Teaching speaking and grammar
 

4.km พค ชป1