SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 145
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ประมวลสรุป
    พระราชกระแสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    ในวโรกาสที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล"าฯ ให"คณะกรรมการอํานวยการ
        งานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) และเจ"าหน"าที่
              เข"าเฝ-าถวายรายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย



         การดําเนิ นงานพัฒนา แต่ก่อนใช้วดด้วยสายตาบ้าง เฉลียไปตามความคิ ดเห็ น
                                                     ั
ทีไม่เป็ นเชิงสถิติบาง ทําไปเรื อย ๆ บ้าง แต่ตอนนี' ทางราชการมีการสํารวจข้อมูล จปฐ.
                          ้
เป็ นข้อ มู ล ที คิ ด ว่ า ในขณะนี' ดี ที สุ ด แล้ว ดี ใ นการเป็ นฐานให้ เ ริ มต้น แก้ไ ขปั ญ หา
เป็ นข้อมูลทีง่าย ดูง่าย และเห็นด้วยทีมีการสํารวจข้อมูล จปฐ. มีการวัดเพือให้พบปั ญหา
ซึงเมือรู ้ปัญหาแล้วจะได้มีการแก้ไขสําหรับการวัดนั'นจะตรงหรื อไม่ตรง แน่นอนต้องมี
การผิดพลาดบ้าง ก็ไม่ น่าจะเป็ นปั ญหาใหญ่ ขอให้มีสิงทีจะช่ วยชี' ให้ฝ่ายรั ฐเข้าไปหา
ชาวบ้า นได้ท ราบปั ญหาชาวบ้านบ้าง เมื อเราทํา จริ ง สํารวจจริ งแล้ว จะทําให้พบกับ
บุคคลที ควรสงเคราะห์ หรื อทําให้พบปั ญหา และเมื อพบปั ญหาแล้วจะแก้ไขอย่างไร
เป็ นสิ งซึงจะตามมา หลักการพัฒนาทีควรจะคํานึงถึง คือ ช่วยเขาเพือให้เขาช่วยตัวเองได้
การให้คาแนะนําเพือให้ชาวบ้านได้เรี ยนรู ้วธีการแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง จึงเป็ นสิ งสําคัญ
           ํ                                       ิ




(ได้รับพระราชทานพระราชานุญาต ตามหนังสื อสํานักราชเลขาธิการ ที รล. 0017/10527 ลงวันที 29 ตุลาคม 2534)
คํานํา
          รายงานการพัฒนาคุณภาพชีวตของประชาชน จากข้อมูลความจําเป็ นพื!นฐาน (จปฐ.) เป็ น
                                         ิ
เอกสารที(จดทําขึ!นเพื(อนําเสนอผลการจัดเก็บและวิเคราะห์ขอมูลความจําเป็ นพื!นฐาน(จปฐ.) ปี 0112
            ั                                                ้
โดยดํา เนิ นการสํา รวจและจัดเก็บ ข้อมู ล จากทุ ก ครั วเรื อน ทุ กหมู่บา นในเขตชนบท ของจังหวัด
                                                                      ้
นครราชสี มา ผลที( ได้จากการสํารวจข้อมูลจะทําให้ทราบถึ งคุ ณภาพชี วิตของประชาชนในระดับ
ครั วเรื อน หมู่ บ ้า น ตํา บล อํา เภอ และภาพรวมของจัง หวัด โดยมี เครื( องชี! วดข้อมู ล ความจํา เป็ น
                                                                               ั
พื!นฐาน 8 หมวด 20 ตัวชี!วด    ั
         ในการประมวลผลการจัดเก็ บข้อมู ล ความจํา เป็ นพื!นฐาน(จปฐ.) ปี 0112 ภาพรวมของ
จังหวัดนครราชสี มาจาก 9::,<1<9 ครั วเรื อน 9,8<2 หมู่บาน 0:1 ตําบล 90 อําเภอ พบว่าตัวชี! วด
                                                             ้                                       ั
ทั!งหมด 8 หมวด 20 ตัวชี! วด มี ตวชี! วดที(บรรลุ เป้ าหมาย 0= ตัวชี! วด ไม่บรรลุ เป้ าหมาย 0= ตัวชี! วด
                                ั ั ั                                ั                                 ั
ได้แก่ ตัวชี! วดที( =,0,9,2,8,>,:,=<,=2,=:,=?,0<,0=,02,0>,0:,90,91,98,9> และ 21 ส่ วนผลการจัดเก็บ
               ั
ข้อมู ลด้า นรายได้ (ตัวชี! วดที( 9<) จัง หวัดนครราชสี มามี รายได้เฉลี( ย ต่ อคนต่อปี ในภาพรวมของ
                              ั
จังหวัดเท่ากับ 11,9::.9= บาทต่อคนต่อปี และมีครัวเรื อนที(มีรายได้เฉลี(ยต่อคนต่อปี ตํ(ากว่าเกณฑ์
จปฐ. (09,<<< บาท) จํานวน =,8<1 ครัวเรื อน
         หวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานคุณภาพชีวิตของประชาชน จากข้อมูลความจําเป็ นพื!นฐาน (จปฐ.)
                         (
ประจําปี 0112 ฉบับนี! จะเป็ นเครื( องมือหนึ(งที(ช่วยให้หน่วยงานที(เกี(ยวข้องกับการพัฒนาชนบท
ทั!งภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ(น และองค์กรภาคประชาชน ตลอดจนนิสิต นักศึกษา
และประชาชนทัวไปได้นาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนแก้ไขปั ญหาและพัฒนาคุณภาพชีวตของ
                     (     ํ                                                              ิ
ประชาชนให้ดียงขึ!น อย่างน้อยผ่านเกณฑ์ความจําเป็ นพื!นฐานทุกตัวชี!วดต่อไป
                  (ิ                                                     ั




                                                          สํ านักงานพัฒนาชุ มชนจังหวัดนครราชสี มา
                                                                                    สิ งหาคม
สารบัญ
ประมวลสรุ ปพระราชกระแสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี
คํานํา
บทที 1 ข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.)
                            %                                                   1
             แนวคิดเรื อง จปฐ. เพือพัฒนาคุณภาพชีวต
                                                 ิ                              1
             ความหมายของคุณภาพชีวิต และ จปฐ.                                    1
             ข้อมูลความจําเป็ นพื'นฐาน จปฐ.                                     2
             ขั'นตอนการนํา จปฐ. ไปใช้ในการพัฒนา                                 7
             การพัฒนาคุณภาพข้อมูล จปฐ.โดยความร่ วมมือองค์กรปกครองส่ วนท้องถิน. 11
             บทสรุ ปสําหรับผูบริ หาร
                              ้                                                56
บทที 2 ผลการสํ ารวจข้ อมูล จปฐ. จังหวัดนครราชสี มา                            14
          พื'นทีจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ปี 2554                                    14
          จํานวนประชากร ชาย – หญิง                                            15
          รายได้เฉลียต่อคนต่อปี                                               16
          จํานวนครัวเรื อนทีมีรายได้เฉลียตํากว่าเกณฑ์ 23,000 บาท ต่อคนต่อปี   17
          สรุ ปรายรับ – รายจ่าย จากบัญชีครัวเรื อน พ.ศ. 6BB4                  18
          ผลการสํารวจข้อมูล จปฐ. รายตัวชี'วด ั                                19
บทที 3 รายงานคุณภาพชี วตของประชาชนจังหวัดนครราชสี มา
                          ิ                                                    63
           ผลการวิเคราะห์ขอมูล จปฐ. ภาพรวมจังหวัดรายตัวชี'วด
                             ้                               ั                 64
                 - หมวดที 1 สุ ขภาพดี (13 ตัวชี'วด)
                                                 ั                             64
                 - หมวดที 2 มีบานอาศัย (8 ตัวชี'วด)
                                 ้                 ั                           77
                 - หมวดที 3 ฝักใฝ่ การศึกษา (7 ตัวชี'วด)   ั                   85
                                      ้
                 - หมวดที 4 รายได้กาวหน้า (3 ตัวชี'วด)   ั                     92
                 - หมวดที 5 ปลูกฝังค่านิยม (6 ตัวชี'วด)ั                       95
                 - หมวดที 6 ร่ วมใจพัฒนา(5 ตัวชี'วด) ั                         99
           ตัวชี'วดทียังไม่บรรลุเป้ าหมายภาพรวมจังหวัดนครราชสี มา
                   ั                                                          111
           ตัวชี'วดทียังไม่บรรลุเป้ าหมายรายอําเภอ
                     ั                                                        112
1


                                          บทที
                            ข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.)
แนวคิดเรือง จปฐ. เพือพัฒนาคุณภาพชี วต ิ
        หลักการและแนวคิดเรื อง จปฐ. นี ในเบื องต้นก็คือการวาดภาพสังคมที พึงประสงค์ของ
คนไทย โดยคิ ด ว่า ในฐานะที ประชาชนทุ ก คนที เกิ ดเป็ นคนไทยนัน ขันตําของชี วิ ตเขาน่ า จะมี
อะไรบ้าง? นันคือ การทีจะทําให้คนไทยมีคุณภาพชีวตทีดี ขันตําเขาควรจะมีอะไรบ้าง
                                                ิ
        ได้ขอสรุ ปว่า การมีคุณภาพชีวตทีดีของคนไทย จะต้องผ่านเกณฑ์ความจําเป็ นพืนฐาน
             ้                      ิ
(จปฐ.) ทุกตัวชีวัด




ความหมายของคุณภาพชี วตและ จปฐ.
                         ิ
        ความหมายของคําวา “คุณภาพชีวิต” คือ
        1. คุณภาพชี วิต หมายถึ ง การดํารงชี วิตของมนุ ษย์ในระดับทีเหมาะสมตามความจําเป็ น
พืนฐานในสังคมหนึง ๆในช่วงเวลาหนึง ๆ
        2. คุณภาพชีวตของประชาชนจะดี หมายถึง ครอบครัวนันหรื อชุ มชนนันได้บรรลุเกณฑ์
                      ิ
ความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ครบถ้วนทุกประการ
        ความหมายของคําว่ า “ความจําเป็ นพืนฐาน” (จปฐ.) คือ



                              ความต้องการพืนฐานสําหรับประชาชน
                              ดํารงชีวิต
                              สิ งจําเป็ นต่อการครองชีพพืนฐาน
         จปฐ.
                              ความต้องการขันตําทีชาวบ้านควรมี

                              ความต้องการตําทีสุดทีสามารถดํารงชีวต
                                                                 ิ
                              อย่างปกติสุขพอสมควร




รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
2


                             ข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.)

   จปฐ.           เป็ นข้อมูลทีแสดงถึงลักษณะของสังคมไทยทีพึงประสงค์ตามเกณฑ์มาตรฐานขัน
                                                            ่ ํ
ตําของเครื องชีวัดว่า อย่างน้อยคนไทยควรจะมีระดับความเป็ นอยูไม่ตากว่าเกณฑ์ระดับไหน ในช่วง
ระยะเวลาหนึง และทําให้ประชาชนสามารถทราบด้วยตนเองว่า ในขณะนีคุณภาพชี วิตของตนเอง
ครอบครัว รวมไปถึงหมู่บานหมู่บานอยูในระดับใด มีปัญหาทีจะต้องแก้ไขในเรื องใดบ้าง เป็ นการ
                            ้     ้ ่
ส่ งเสริ มให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม อันเป็ นนโยบาย
สําคัญในการพัฒนาชนบทของประเทศ


       หลักการของข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.)


                                                                         ่
     เป็ นเครื องมือกระบวนการเรี ยนรู ้ของประชาชนเพือทราบสภาพความเป็ นอยูของตนเอง
   และชุมชน
      ส่ งเสริ มให้ประชาชนมีส่วนร่ วมในการพัฒนา
      ใช้ขอมูล จปฐ.เป็ นแนวทางในการคัดเลือกโครงการสอดคล้องกับสภาพปั ญหาของชุมชน
           ้


        แนวคิดและความเป็ นมาของข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.)
                 ข้อมูล จปฐ. ที มี การจัดเก็บโดยประชาชนด้วยความสนับสนุ นของคณะทํางาน
สนับสนุนการปฏิบติการพัฒนาชนบทระดับตําบล (คปต.) และผูแทนขององค์การบริ หารส่ วนตําบล
                   ั                                        ้
(อบต.) หรื อ เทศบาล นันจะทําให้ทราบว่าแต่ละครัวเรื อนมีปัญหาอะไร หมู่บานมีปั ญหาอะไร และ
                                                                         ้
เมือทราบแล้ว ส่ วนใดทีไม่สามารถดําเนิ นการเองได้ก็ให้ขอรับการสนับสนุ นบางส่ วนหรื อทังหมด
จากโครงการขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิน (อปท.) เช่น องค์การบริ หารส่ วนตําบล เทศบาล หรื อ
องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด (อบจ.) ส่ วนราชการในภูมิภาค (อําเภอ,จังหวัด) ส่ วนราชการส่ วนกลาง
(กรม,กระทรวง) หรื อในระดับรัฐบาล ต่อไป
                  ปี พ.ศ. 1212 แนวความคิดเรื อง จปฐ. เกิ ดขึนครังแรก สํานักงานคณะกรรมการ
                                            ํ
พัฒนาการเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ได้กาหนดรู ปแบบลักษณะของสังคมไทยและคนไทยทีพึง
ประสงค์ในอนาคต โดยกําหนดเป็ นเครื องชี วัดความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ของคนไทยซึ งได้ขอ           ้
สรุ ปว่า “การมีคุณภาพชีวตทีดีของคนไทยจะต้องผ่านเกณฑ์ความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ) ทุกตัวชีวัด”
                          ิ
                  ปี พ.ศ. 1213 คณะรัฐมนตรี เห็นชอบอนุ มติเมือวันที BC สิ งหาคม BDBE ให้มีการ
                                                          ั
ดํา เนิ น การโครงการปี รณรงค์ คุ ณ ภาพชี วิ ต และประกาศใช้ เ ป็ น “ ปี รณรงค์ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของ


รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
3


ประชาชนในชาติ (ปรช.) ” (BC สิ งหาคม BDBE - GH ธันวาคม BDGC) โดยใช้เครื องชี วัดความจําเป็ น
พืนฐาน E หมวด GB ตัวชี วัด เป็ นเครื องมือทีใช้วดคุ ณภาพชี วิตของคนไทยว่า อย่างน้อยคนไทย
                                                   ั
ควรมีคุณภาพชีวตในเรื องอะไรบ้าง และควรมีระดับไหนในช่วงระยะเวลาหนึง ๆ
                ิ
                  ปี พ.ศ. 124 คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่ งชาติ (กชช.) มี ม ติ ใ ห้สํานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ มอบโครงการ ปี รณรงค์ให้ กระทรวงมหาดไทย
โดยกรมการพัฒนาชุ มชน เป็ นหน่ วยงานรับผิดชอบดําเนิ นงานต่อ ภายใต้ชืองานว่า “ งานพัฒนา
คุณภาพชีวตของประชาชนในชนบท (พชช.) ”
           ิ
                  ปี พ.ศ. 1241 คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่ ง ชาติ (กชช.) มี ม ติ เมื อวันที HD
กันยายน BDGB ให้กรมการพัฒนาชุ มชน จัดเก็บข้อมูล จปฐ. เป็ นประจําทุกปี ตังแต่ปี BDGG จนถึ ง
ปั จจุบน โดยมีการปรับปรุ งเครื องชี วัดข้อมูล จปฐ. ทุก D ปี ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิ จ
       ั
และสังคมแห่งชาติ
                  ปี พ.ศ.1242 มี ก ารปรั บ ปรุ งเครื องชี วัด จปฐ. เพื อใช้ จ ัด เก็ บ ข้อ มู ล ในช่ ว ง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที K (พ.ศ. BDGD-BDGL) เป็ น L หมวด GK ตัวชีวัด
                  ปี พ.ศ. 1256 มีการปรับปรุ งเครื องชี วัดข้อมูล จปฐ. เพือใช้จดเก็บข้อมูลในช่ วง
                                                                                 ั
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที E (พ.ศ. BDMC- BDMM) เป็ น E หมวด GL ตัวชีวัด
                  ปี พ.ศ. 1255 มีการปรับปรุ งเครื องชี วัดข้อมูล จปฐ. เพือใช้จดเก็บข้อมูลในช่ วง
                                                                                   ั
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที L (พ.ศ. BDMD-BDML) เป็ น N หมวด GK ตัวชีวัด
                  ปี พ.ศ. 1255 คณะกรรมการอํานวยการงานพัฒนาคุ ณภาพชี วิตของประชาชน
(พชช.) มีมติเมือวันที L กุมภาพันธ์ BDMM ให้กรมการพัฒนาชุ มชน รับผิดชอบประสานการจัดเก็บ
ข้อมูล จปฐ. ในเขตเมืองด้วย โดยให้ใช้เครื องชีวัดเหมือนเขตชนบท (มติเมือ GH พ.ค. BDMD)
                  ปี พ.ศ. 1257 ได้มีการศึกษาปรับปรุ งเครื องชีวัดข้อมูล จปฐ. เพือใช้จดเก็บข้อมูล
                                                                                          ั
 ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที HC (พ.ศ. BDDC-BDDM) โดยสรุ ปตัวชีวัดตาม
 ความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ทีจะนํามาใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
 แห่งชาติ ฉบับที HC (พ.ศ. BDDC-BDDM) มีจานวน N หมวด MB ตัวชีวัด
                                          ํ
                                                                   ่
                  จากผลการศึกษาในปี พ.ศ. BDML สามารถสรุ ปได้วา “ ตัวชีวัดความจําเป็ นพืนฐาน
 จปฐ. ” ทีนํามาใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ช่ วงแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที HC
 (ปี BDDC-BDDM) มีจานวน N หมวด MB ตัวชีวัด
                     ํ
                  หมวดที H สุ ขภาพดี              มี         HG      ตัวชีวัด
                  หมวดที B มีบานอาศัย
                               ้                   มี         E      ตัวชีวัด
                  หมวดที G ฝักใฝ่ การศึกษา         มี         K      ตัวชีวัด
                                    ้
                  หมวดที M รายได้กาวหน้า           มี         G      ตัวชีวัด
                  หมวดที D ปลูกฝังค่านิยมไทย มี               N      ตัวชีวัด

รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
4


                   หมวดที N ร่ วมใจพัฒนา                 มี        D            ตัวชีวัด

หมวดที 1 : สุ ขภาพดี (ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดี) มี 13 ตัวชี วัด
                                                                                                        เป้ าหมาย
ตัวชีวัดที            ตัวชีวัดข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ปี 2550 - 2554               หน่ วย
                                                                                                          ร้ อยละ
    1        หญิงตังครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด และฉี ดวัคซีนครบตามเกณฑ์บริ การ                คน             100
    2        แม่ทีคลอดลูกได้รับการทําคลอด และดูแลหลังคลอด                                     คน             100
    3        เด็กแรกเกิดมีนาหนักไม่ตากว่า 2,500 กรัม
                             ํ           ํ                                                    คน             100
    4        เด็กแรกเกิดถึง 1 ปี เต็มได้รับการฉี ดวัคซีนป้ องกันโรคครบตามตารางสร้าง           คน             100
             เสริ มภูมิคุมกันโรค
                         ้
    5        เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 4 เดือนแรกติดต่อกัน                    คน          95
    6        เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เจริ ญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน                                  คน          100
    7        เด็กอายุ 6 - 15 ปี เจริ ญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน                                   คน          100
    8        เด็กอายุ 6 - 12 ปี ได้รับการฉี ดวัคซีนป้ องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริ ม          คน          100
             ภูมิคุมกันโรค
                   ้
    9        ทุกคนในครัวเรื อนกินอาหารถูกสุขลักษณะปลอดภัยและได้มาตรฐาน                     ครัวเรื อน     95
    10       คนในครัวเรื อนมีความรู ้ในการใช้ยาทีถูกต้องเหมาะสม                            ครัวเรื อน     100
    11       คนอายุ 35 ปี ขึนไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจําปี                                   คน          50
    12       คนอายุ 6 ปี ขึนไป ออกกําลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที                คน          60
    13       ผูทีมีสิทธิในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีหลักปะกันสุขภาพ
               ้                                                                              คน          98


หมวดที 2 : มีบ้านอาศัย(ประชาชนมีทอยู่อาศัยและสภาพแวดล้ อมทีเหมาะสม) มี 8 ตัวชี วัด
                                 ี
                                                                                                        เป้ าหมาย
ตัวชีวัดที            ตัวชีวัดข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ปี 2550 - 2554               หน่ วย
                                                                                                          ร้ อยละ
    14                                       ่
             ครัวเรื อนมีความมันคงในทีอยูอาศัยและบ้านมีสภาพคงทนถาวร                        ครัวเรื อน        100
    15       ครัวเรื อนมีนาสะอาดสําหรับดืมและบริ โภคเพียงพอตลอดปี
                          ํ                                                                ครัวเรื อน         95
    16       ครัวเรื อนมีนาใช้เพียงพอตลอดปี
                            ํ                                                              ครัวเรื อน         95
    17       ครัวเรื อนมีการจัดบ้านเรื อนเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย สะอาด และถูก               ครัวเรื อน         95
             สุขลักษณะ
    18       ครัวเรื อนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ                                                 ครัวเรื อน     100
    19       ครัวเรื อนมีการป้ องกันอุบติภยอย่างถูกวิธี
                                        ั ั                                                ครัวเรื อน     100
    20       ครัวเรื อนมีความปลอดภัยในชีวตและทรัพย์สิน
                                               ิ                                           ครัวเรื อน     100
    21       ครอบครัวมีความอบอุ่น                                                          ครัวเรื อน     100



รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
5




หมวดที 3 : ฝักใฝ่ การศึกษา(ประชาชนมีโอกาสเข้ าถึงบริ การด้ านการศึกษา) มี 7 ตัวชีวัด
                                                                                                             เป้ าหมาย
ตัวชีวัดที             ตัวชีวัดข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ปี 2550 - 2554                  หน่ วย
                                                                                                               ร้ อยละ
   22        เด็กทีอายุตากว่า 3 ปี เต็ม ได้รับการส่งเสริ มการเรี ยนรู ้จาการทํากิจกรรมร่ วมกับ
                        ํ                                                                         คน               80
             ผูใหญ่ในบ้าน
               ้
   23        เด็กอายุ 3 – 5 ปี เต็ม ได้รับบริ การเลียงดูเตรี ยมความพร้อมก่อนวัยเรี ยน             คน            80
   24        เด็กอายุ 6 – 12 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี                                      คน           100
   25        เด็กทีจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ได้เรี ยนต่อมัธยมศึกษาตอนปลาย หรื อ                   คน            95
             เทียบเท่า
   26        เด็กทีจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี แต่ไม่ได้เรี ยนต่อมัธยมศึกษาตอนปลายหรื อ              คน            80
             เทียบเท่า และยังไม่มีงานทําได้รับการฝึ กอบรมอาชีพ
   27        คนอายุ 15 - 16 ปี เต็ม อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้ทุกคน                  คน           100
   28        คนในครัวเรื อนรับรู ้ข่าวสารทีเป็ นประโยชน์ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 ครัง             ครัวเรื อน      100


หมวดที 4 : รายได้ ก้าวหน้ า(ประชาชนมีการประกอบอาชี พและมีรายได้ พอเพียงต่ อการดํารงชี วต)
                                                                                       ิ
           มี 3 ตัวชี วัด
                                                                                                            เป้ าหมาย
ตัวชีวัดที             ตัวชีวัดข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ปี 2550 - 2554                 หน่ วย
                                                                                                              ร้ อยละ
    29       คนอายุ 15 - 60 ปี เต็ม มีการประกอบอาชีพและมีรายได้                                 คน                95
    30       คนในครัวเรื อนมีรายได้เฉลียไม่ตากว่าคนละ 23,000 บาทต่อปี
                                             ํ                                               ครัวเรื อน           70
    31       ครัวเรื อนมีการเก็บออมเงิน                                                      ครัวเรื อน           80


หมวดที 5 : ปลูกฝังค่ านิยมไทย(ประชาชนมีการปลูกฝังค่ านิยมไทยให้ กบตนเองเพือให้
                                                                 ั
           คุณภาพชี วตทีดีขึน) มี 6 ตัวชี วัด
                       ิ
                                                                                                            เป้ าหมาย
ตัวชีวัดที             ตัวชีวัดข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ปี 2550 - 2554                 หน่ วย
                                                                                                              ร้ อยละ
    32       คนในครัวเรื อนไม่ติดสุรา                                                           คน               100
    33       คนในครัวเรื อนไม่สูบบุหรี                                                          คน                90
    34       คนในครัวเรื อนได้ปฏิบติตนตามขนบธรรมเนียมและมารยาทไทย
                                   ั                                                         ครัวเรื อน           95
    35       คนอายุ 6 ปี ขึนไปทุกคน ได้ปฏิบติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์
                                            ั                                                ครัวเรื อน          100
             ละ 1 ครัง
    36       คนสูงอายุได้รับการดูแลเอาใจใส่จากคนในครัวเรื อน                                    คน            100
    37       คนพิการได้รับการดูแลเอาใจใส่จากคนในครัวเรื อน                                      คน            100


รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
6

หมวดที 6 : ร่ วมใจพัฒนา (ประชาชนมีจิตสํ านึกและร่ วมกันรักษาสิ ทธิLของตนเองเพือประโยชน์
            ของชุ มชนหรื อท้ องถิน) มี 5 ตัวชี วัด
                                                                                                 เป้ าหมาย
ตัวชีวัดที            ตัวชีวัดข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ปี 2550 - 2554        หน่ วย
                                                                                                   ร้ อยละ
   38        คนในครัวเรื อนเป็ นสมาชิกกลุ่มทีตังขึนในหมู่บาน/ชุมชน ตําบล
                                                              ้                     ครัวเรื อน         95
   39        คนในครัวเรื อนมีส่วนร่ วมแสดงความคิดเห็นเพือประโยชน์ของชุมชนหรื อ      ครัวเรื อน         95
             ท้องถิน
   40        คนในครัวเรื อนมีส่วนร่ วมในการทํากิจกรรมเกียวกับการอนุรักษ์ทรัพยากร    ครัวเรื อน      90
             ธรรมชาติเพือประโยชน์ของชุมชนหรื อท้องถิน
   41        คนในครัวเรื อน มีส่วนร่ วมทํากิจกรรมสาธารณะของหมู่บาน/ชุมชน
                                                                       ้            ครัวเรื อน     100
   42        คนอายุ 18 ปี ขึนไป ทีมีสิทธิZเลือกตังไปใช้สิทธิZเลือกตังในชุมชนของตน      คน           90




รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
7


ขันตอนการนํา จปฐ. ไปใช้ ในการพัฒนา




                                                                              7. สอนชุมชนอืนๆ
                                                          6.ประเมินผล
                                         5.ดําเนิน การตามแผน
                            4. จัดลําดับภูมปั ญญาและวางแผน
                    3.วิเคราะห์ปัญหา
           2. รู ้ปัญหา
      1. สํารวจข้อมูล




              1. สํารวจ                                      2. รู ้ปัญหา
                ข้อมูล

                                                         3. วิเคราะห์ปัญหา
                                                      (หาสาเหตุแนวทางแก้ไข)


                                                  4. จัดลําดับภูมิปัญญาและวางแผน

                                                        5. ดําเนินการตามแผน


                                                             N. ประเมินผล
                                                            สํารวจ จปฐ. ซํา


                                                         7. สอนชุมชนอืน ๆ




รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
8


สรุ ปสถานการณ์ การใช้ จปฐ.
       สรุ ปขันตอนทัง K ขันตอน ของการนํา ข้อมูล จปฐ. มาใช้ใ นกระบวนการพัฒนาชุ ม ชน
จะเห็นได้วาสถานะของการใช้ จปฐ. มีอยู่ M สถานะด้วยกัน ดังนี
          ่
           .เป็ นเปาหมาย
                   ้

                                            MBO
                                                              Goal

                           สภาพปั จจุบน
                                      ั                บรรลุ จปฐ. ปี 2554
          1.เป็ นตัวชี วัด                เป็ นเป้ าหมายทีสามารถวัดได้ชดเจน
                                                                       ั


          4.เป็ นข้ อมูล                  สามารถใช้ประกอบการวางแผน

          5.เป็ นกระบวนการ                 การเก็บข้อมูล/วิเคราะห์/หาแนวทาง
                                           แก้ไข/วางแผน/ประเมินผล


เงือนไขแห่ งความสํ าเร็จของ จปฐ.
         การที จะนํา จปฐ. มาใช้ เพื อพัฒนาคุ ณ ภาพชี วิตของประชาชนให้เป็ นผลสํา เร็ จได้นัน
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิน/เจ้าหน้าที/ข้าราชการ/ประชาชนและองค์กรเอกชน จะต้องมีบทบาท
ดังต่อไปนี
         1. บทบาทของเจ้ าหน้ าทีของรัฐ
             การทีจะให้เกิดการใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชี วิตของคนไทยดังทีกล่าวมาแล้วนัน
บทบาทหน้าที ของข้าราชการทุกระดับ จะต้องมีบทบาทดังนี คือ
                  1) มีความรู ้ความเข้าใจเกียวกับการใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวตเป็ นอย่างดี
                                                                                  ิ
                  2) สามารถเชือมแนวความคิด จปฐ. เข้ากับการพัฒนาชุมชนทีมีอยูเ่ ดิมอย่างดี
                  3) จะต้องมี ความเข้าใจว่า จปฐ. นี ไม่ใช่ ของข้าราชการกระทรวงใดกระทรวง
หนึ งแต่เป็ นของประชาชน เป็ นภาพทีต้องการให้ชาวบ้านบรรลุเกณฑ์หรื อเข้าเกณฑ์ จปฐ.นีทุกข้อ
ดังนัน จึงเป็ นความจําเป็ นร่ วมกันทีจะต้องช่วยกันพัฒนาสนับสนุนชาวบ้านทุกเรื องตาม จปฐ.
                  4) ข้าราชการทีมีความรู ้ จะต้องสามารถถ่ายทอดความรู ้นีไปให้วิทยากรระดับ
ล่างได้และระดับล่างสุ ดจะต้องถ่ายทอดเรื อง จปฐ.ไปให้ชาวบ้านได้ จนกระทังชาวบ้านสามารถ
ปฏิบติได้ตามแนวคิด จปฐ.
      ั



รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
9


                  5) เมือชาวบ้านทําแผนระดับชุ มชนแล้ว เป็ นหน้าทีของข้าราชการทุกกระทรวง
ทีจะต้องให้การสนับสนุ น กระตุนอย่างต่อเนื อง เพือให้ชาวบ้านเกิ ดการปฏิ บติการพัฒนาคุ ณภาพ
                                  ้                                         ั
ชีวตตามแผนทีวางไว้
       ิ
                  6) ข้าราชการควรจะต้องมีการออกนิ เทศงาน ติดตาม ช่วยแก้ไขปั ญหาอุปสรรค
         ั
ให้กบชาวบ้านอย่างต่อเนืองสมําเสมอ
                  7) ข้าราชการควรมีการประชุ มร่ วมกันทุกกระทรวงเป็ นประจํา และมีการฟื นฟู
ความรู ้ ความเข้าใจเกียวกับการนํา จปฐ. ไปใช้พฒนาคุณภาพชีวต
                                                ั             ิ
           2. บทบาทขององค์ กรประชาชน
                  องค์กรประชาชนในระดับหมู่บาน ซึ งอาจจะเป็ นกรรมการชุ มชน กลุ่มสตรี กลุ่ม
                                                  ้
เยาวชน อสม. ฯลฯ ซึ งจะมีบทบาทในการนํา จปฐ.ไปใช้เป็ นเครื องชี วัดการพัฒนานัน จะต้องมี
บทบาท โดยละเอียด ดังนี
                  1) มี ความรู ้ ความเข้าใจเกี ยวกับ การใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุ ณภาพชี วิต และ
สามารถนําไปปฎิบติในหมู่บานตนเองได้
                    ั        ้
                  2) จะต้องถ่ายทอดความรู ้ ความเข้าใจนี ไปยังชาวบ้านอืน ๆ หรื อชุมชนใกล้เคียงได้
                  3) นําผลสํารวจ จปฐ. มาวางแผนพัฒนาชุ มชนแล้วปฏิบติตามแผนทีวางไว้ได้
                                                                          ั
อย่างจริ งจัง
                  4) มีการระดมทรั พยากรในท้องถินตนเองมาใช้ ในการพัฒนาคุ ณภาพชี วิตทัง
เรื องกําลังคน เงิน วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ
                  5) มีการติดตามนิ เทศ ช่ วยเหลื อกันเองเพือแก้ไขปั ญหาอุปสรรคต่าง ๆ ภายใน
ชุ มชน หรื อชุ มชนใกล้เคียง ถ้าเกิ นกําลังที จะแก้ไขกันได้เอง ให้ติดต่อประสานงานกับองค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิน หรื อส่ วนราชการอืน ๆ
                  6) มี การฟื นฟูความรู ้ ความเข้าใจเกี ยวกับการใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุ ณภาพ
ชีวตเป็ นประจํา
     ิ
                  7) ประเมินผลการพัฒนาคุ ณภาพชี วิตในชุ มชนโดยการสํารวจ จปฐ. ซําทุกปี
จะทําให้ทราบว่าระดับการพัฒนาคุณภาพชีวตดีขึน หรื อไม่อย่างไร
                                           ิ


        3.     บทบาทองค์ กรเอกชน (NGO)
              การพัฒนาคุ ณภาพชี วิต นอกจากในส่ วนของข้าราชการและประชาชนจะประสาน
ช่ วยเหลื อกันแล้ว ยังมี องค์ก รเอกชน (NGO) อี กจํา นวนมาก ที จะเข้า มามี บ ทบาทช่ วยเหลื อการ
พัฒนาคุณภาพชีวตได้ ดังนี
                 ิ



รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
10


                1) ช่ วยเรื องเงิ นทุน เมื อชาวบ้านขาดเงิ นทุนในการพัฒนาคุ ณภาพชี วิต องค์กร
เอกชนอาจจะช่วยหาเงินช่วยเหลือจากแหล่งต่าง ๆ ได้
                2) ช่ ว ยเรื องกํา ลัง คน มี อ งค์ ก รเอกชนจํา นวนมากที ได้ ส่ ง นั ก พัฒ นาหรื อ
                                                                                ํ
อาสาสมัครเข้าไปช่วยการพัฒนาคุณภาพชี วิตของประชาชนทําให้ชาวบ้านมีกาลังคนเพิมขึน เพือ
ช่วยคิดช่วยทําการพัฒนาคุณภาพชีวต   ิ
                3) ช่ ว ยเรื องความรู ้ วิ ช าการต่ า ง ๆ มี อ งค์ ก รเอกชนจํา นวนมากที มี บ ทบาท
เกียวกับการให้ความรู ้ ความเข้าใจประชาชน องค์กรเอกชนเหล่านี จึงสามารถช่วยได้อย่างมาก
                4) การประชาสัมพันธ์ แนวความคิดเรื อง จปฐ. จําเป็ นต้องมีการสื อความหมาย
ถ่ายทอดแนวความคิดเป็ นเอกภาพและความมีพลังในการทํางานพัฒนาคุณภาพชี วิต องค์กรเอกชน
ทังหลายทีมีบทบาทด้านการสื อสารประชาสัมพันธ์ จึงจําเป็ นต้องช่วยในเรื องเหล่านี อย่างมากทัง
วิทยุ โทรทัศน์ หนังสื อพิมพ์ วารสาร เอกสาร ฯลฯ




รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
11


                                      การพัฒนาคุณภาพข้ อมูล จปฐ.
 โดยความร่ วมมือขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน “โครงการท้ องถินสดใส ใส่ ใจคุณภาพข้ อมูล”

          สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสี มาได้จดทําโครงการ “ท้องถินสดใส ใส่ ใจคุณภาพ
                                                       ั
ข้อมู ล เพื อส่ ง เสริ ม สนับสนุ นการใช้ป ระโยชน์ จากข้อมู ล จปฐ. และเป็ นการเผยแพร่ ข ้อมู ล ให้
หน่ ว ยงานต่ า ง ๆทังภาครั ฐ เอกชน ได้นํา ข้อ มู ล ไปใช้ป ระโยชน์ ใ นการวางแผนงานโครงการ
กิจกรรมและเพือเชิดชูเกียรติองค์กรปกครองส่ วนท้องถินทีมีผลบริ หารจัดเก็บข้อมูลทีมีคุณภาพและ
นํา ข้อมู ล ไปใช้ป ระโยชน์ เพื อให้ “ไตรภาคี ” ประกอบด้วย ภาคประชาชน(ผูนํา /อาสาสมัค ร)
                                                                                ้
ภาครัฐ (หน่วยงานในพืนที) และ ภาคท้ องถิน (องค์กรปกครองส่ วนท้องถิน) ซึ งเป็ นกลไกสําคัญทีมี
บทบาทในกระบวนการบริ หารจัดเก็ บ ข้อมู ล บันทึ ก ข้อมู ล ได้ม าซึ งข้อมู ลที มี คุ ณภาพ (ถู ก ต้อง
ครบถ้วน เป็ นปั จจุ บน ได้รับการยอมรั บ และนํา ไปใช้ป ระโยชน์ ) เป็ นหัวใจสํา คัญที จะทําทําให้
                          ั
กระบวนการในการวางแผนกํา หนดทิ ศ ทางในการแก้ไ ขปั ญ หาและพัฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของ
ประชาชนเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพประสิ ทธิ ผล



          ไตรภาคี
   • ภาคประชาชน
     -1 ใชเวทีประชาคมรับรอง
     ความถูกตองของขอมูลกอน
     บันทึก
       2 ตรวจสอบขอมูลโดยการ       คณะกรรมการติดตาม
     ป$ดประกาศผลใหประชาชน
     รับรองผลการจัดเก็บขอมูล • ติดตามสุมตรวจผลการ             สพจ.นครราชสีมา
   • ภาครัฐ มอบหนวยงาน         ดําเนินงาน/ใหคะแนน
     เจาภาพหลัก 6 หมวด         ตามหลักเกณฑ3
   • ภาคท!องถิ่น ประมวลผล                                 • จัดทําโล
     ขอมูลกอนสงอําเภอ                                     • ประกาศเกียรติคุณ




                                                                   ภาคประชาชน
                                                                                                             - ถูกต้อง
                                                                   - กระบวนการมีส่วนร่ วม
                                                                                                             - ครบถ้วน
                                                                                                                      ั ั
                                                                                                             - เป็ นปจจุบน
                                                                                            ข้อมูลมีคุณภาพ
                                                                                                             - ได้รบการยอมรับ
                                                                                                                    ั
                                                                                                             - นําไปใช้ประโยชน์

                                                                         ไตรภาคี
                                  ภาคท้องถิ น
                              - การนําไปใช้ประโยชน์ ในการวางแผน
                                                                                                    ภาครัฐ
                                                                                            - การตรวจสอบรั บรองในพืนที




รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
12


                                  บทสรุ ปของผู้บริหาร
กระบวนการจัดข้ อมูล จปฐ ปี 1225
         สํานักงานพัฒนาชุ มชนจังหวัดนครราชสี มาดําเนิ นการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ระหว่างเดื อน
มกราคม BDDM-เมษายน BDDM โดยมีกระบวนการดังนี
         H. ประชุมชีแจงผูจดเก็บข้อมูล จปฐ.32อําเภอ ในเดือนธันวาคมBDDG
                            ้ั
         2. อาสาสมัครจัดเก็บข้อมูลดําเนินการสํารวจข้อมูลจปฐ.รายครัวเรื อนเดือนมกราคมBDDM
         G. ผูนํา ท้อ งถิ น/อาสาพัฒ นาชุ ม ชนที ได้รั บ มอบหมายตรวจสอบความถู ก ต้อ งสมบู ร ณ์
               ้
ครบถ้วนของข้อมูล จปฐ.เดือนกุมภาพันธ์ 2554
         M. เจ้าหน้าทีบันทึกข้อมูลดําเนินการบันทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูลเดือนมีนาคม BDDM
         D. สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอจัดเวทีประชาคมตําบลรับรองความถูกต้องของข้อมูลจปฐ.
ระดับตํา บลร่ วมกับองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ น/ผูนําชุ มชนและหน่ วยงานภาคี การพัฒนา แล้ว
                                                       ้
ส่ งกลับข้อมูลเพือแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องประมวลผลส่ งสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เดือนเมษายน
BDDM
         N. เจ้าหน้าทีรับผิดชอบข้อมูล จปฐ.ระดับจังหวัดตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณ์ครบถ้วน
ของข้อมูลประมวลผลเป็ นภาพรวมของจังหวัดส่ งกรมการพัฒนาชุมชนเดือนเมษายน BDDM
            ผูให้ขอมูล ได้แก่ หัวหน้าครัวเรื อน ผูอยูในหมู่บาน/ชุมชนไม่นอยกว่า Nเดือนในรอบปี
              ้ ้                                 ้ ่       ้           ้
            ผูจดเก็บข้อมูล ได้แก่ อาสาสมัครทีเข้ารับการอบรมการสํารวจข้อมูล
               ้ั
            พืนทีจัดเก็บข้อมูล จัดเก็บข้อมูลในเขตพืนชนบทเท่านัน
         ผลการจัดเก็บข้อมูลความจําเป็ นพืนฐานปี BDDM ซึ งจัดเก็บทุกครัวเรื อนในเขตชนบทใน
จังหวัดนครราชสี มา จํานวน GB อําเภอ BED ตําบล G,NCM หมูบาน 388,503 ครัวเรื อน ซึ งมี
                                                                   ้
ประชากร จํา นวน1,393,169 คน แยกเป็ นเพศชาย686,610 คน เพศหญิ ง 706,559 คน พบว่ า
ประชาชนในเขตชนบทมีคุณภาพชีวตตามเครื องชีวัด จปฐ. จํานวน N หมวด MB ตัวชีวัด สรุ ปได้ดงนี
                                      ิ                                                    ั

        จํานวนครัวเรื อน                                        GEE,DCG         ครัวเรื อน
        จํานวนประชากร                                           H,GLG,HNL       คน
                  แยกเป็ นเพศชาย                                NEN,NHC         คน
                  แยกเป็ นเพศหญิง                               KCN,DDL         คน
        ครัวเรื อนทีมีนาดืมเพียงพอ
                           ํ                                    388,293         ครัวเรื อน
        ครัวเรื อนทีมีนาใช้เพียงพอ
                         ํ                                      388,190         ครัวเรื อน
        เด็กทีไม่ได้เรี ยนต่อชัน ม.M                            531             คน
        คนอายุ HD-NC ปี ไม่มีอาชีพและหรื อรายได้                2,189           คน
        จํานวนคนทีอ่าน เขียนภาษไทยไม่ได้                        954             คน

รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
13


       จํานวนคนพิการ                                            B3,193    คน
       จํานวนคนทีมีรายได้ตากว่า BG,CCC บาท/คน/ปี
                             ํ                                  H,605     ครัวเรื อน
       รายได้เฉลีย                                              55,388.31 บาท/คน/ปี
       รายรับจากบัญชีครัวเรื อน                                 52,187.34 บาท/คน/ปี
       รายจ่ายจากบัญชีครัวเรื อน                                86,018.91 บาท/คน/ปี
       หนีสิ นจากบัญชีครัวเรื อน                                10,654.93 บาท/คน/ปี
       เงินออมจากบัญชีครัวเรื อน                                9,403.50  บาท/คน/ปี
       ส่ วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ่างทัวไป
       ส่ วนใหญ่นบถือศาสนา “พุทธ”
                    ั
       ระดับการศึกษาของคนในจังหวัด (สู งสุ ด G ลําดับแรก)
                         1. ป. M – N
                         2. ม.1-3
                         3. ตํากว่า ป.M
       บรรลุเปาหมาย
               ้                 11      ข้ อ
       5,L,HH,HB,HG,HD,HN,HK,BB,BG,BD,BN,BL,GC,GH,GG,GM,GE,GL,MC,MB
       ไม่ บรรลุเปาหมาย
                  ้              11      ข้ อ คือ
       H,B,G,M,N,K,E,HC,HM,HE,HL,BC,BH,BM,BK,BE,GB,GD,GN,GK,MH
       สํานักงานพัฒนาชุมชนได้ประสานหน่วยงานภาคีนาข้อมูล จปฐ.เพือใช้ประโยชน์ในการ
                                                         ํ
แก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวตประชาชนในจังหวัดนครราชสี มา
                               ิ




รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
14


                                         บทที 2
                           ผลการสํ ารวจข้ อมูล จปฐ. จังหวัดนครราชสี มา
        ผลการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. เขตชนบท จังหวัดนครราชสี มา ในพืนที จํานวน GB อําเภอ
BED ตําบล G,NCM หมูบาน 388,503 ครัวเรื อน
                      ้

ตารางที 1 แสดงพืนทีจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ปี 2554 ของจังหวัดนครราชสี มา
 ที               อําเภอ                คร ัวเรือน           หมูบาน
                                                                ่ ้         ตําบล

 1    เมือง                            37,843                  214            22
 2    คง                               13,308                  153            10
 3    ครบุรี                           15,845                  148            12
 4    จักราช                           13,229                  109             8
 5    โชคชัย                           11,971                  119            10
 6    ชุมพวง                           13,119                  123             9
 7    ด่านขุนทด                        22,064                  219            16
 8    โนนไทย                           12,037                  128            10
 9    บัวใหญ่                          11,730                  122            10
10    โนนสูง                           20,991                  192            15
11    ปั กธงชัย                        20,477                  201            16
12    ปากช่อง                          27,637                  214            12
13    พิมาย                            23,146                  211            12
14    สีควิ.                           16,826                  154            12
15    สูงเนิน                          14,130                  124            11
16    ประทาย                           12,376                  144            13
17    ห ้วยแถลง                        12,088                  119            10
18    ขามทะเลสอ                         5,129                   46             5
19    ขามสะแกแสง                        6,187                   72             7
20    เสิงสาง                          10,171                   84            6
21    บ ้านเหลือม 4                     3,203                   38            4
22    หนองบุญมาก                       11,965                  104            9
23    แก ้งสนามนาง                      7,174                   56            5
24    โนนแดง                            3,844                   57            5
25    วังนํ. าเขียว                     6,426                   83            5
26    เมืองยาง                          5,364                   46            4
27    เทพารักษ์                         4,364                  59             4
28    พระทองคํา                         7,051                  72             5
29    ลําทะเมนชัย                       4,875                  53             4
30    เฉลิมพระเกียรติ                   6,486                  53             5
31    สีดา                              3,499                  44             5
32    บัวลาย                            3,948                  43             4
              รวม                       388,503              3,604           285

หมายเหตุ พืนทีจัดเก็บข้อมูล จปฐ. เฉพาะในเขตชนบทเท่านัน


รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
15


ตารางที 2 แสดงจํานวนประชากร ชาย - หญิง ปี 2554 ของจังหวัดนครราชสี มา
                                                          จํานวน
ที                   อําเภอเมือง                                              รวม
                                                  ชาย               หญิง
 1   เมือง                                       66,688            70,355     137,043
 2   คง                                          22,257            23,507      45,764
 3   ครบุรี                                      27,551            27,488      55,039
 4   จักราช                                      25,088            25,086      50,174
 5   โชคชัย                                      21,174            22,226      43,400
 6   ชุมพวง                                      23,467            24,219      47,686
 7   ด่านขุนทด                                   39,875            39,780      79,655
 8   โนนไทย                                      20,324            21,282      41,606
 9   บัวใหญ่                                     20,440            21,821      42,261
10   โนนสูง                                      37,978            39,754      77,732
11   ปั กธงชัย                                   34,843            37,096      71,939
12   ปากช่อง                                     46,320            46,302      92,622
13   พิมาย                                       39,648            41,288      80,936
14   สีควิ.                                      30,980            30,766      61,746
15   สูงเนิน                                     24,574            25,846      50,420
16   ประทาย                                      22,529            24,228      46,757
17   ห ้วยแถลง                                   22,798            23,329      46,127
18   ขามทะเลสอ                                    8,959             9,171      18,130
19   ขามสะแกแสง                                  10,014            10,264      20,278
20   เสิงสาง                                     19,098            18,976      38,074
21   บ ้านเหลือม 4                                5,773             5,760      11,533
22   หนองบุญมาก                                  23,601            22,955      46,556
23   แก ้งสนามนาง                                14,455            14,624      29,079
24   โนนแดง                                       6,321             6,975      13,296
25   วังนํ. าเขียว                               11,417            11,484      22,901
26   เมืองยาง                                     8,501             8,867      17,368
27   เทพารักษ์                                    7,336             6,568      13,904
28   พระทองคํา                                   11,577            11,756      23,333
29   ลําทะเมนชัย                                  8,461             8,975      17,436
30   เฉลิมพระเกียรติ                             11,843            12,310      24,153
31   สีดา                                         5,644             6,100      11,744
32   บัวลาย                                       7,076             7,401      14,477
                       รวม                      686,610        706,559      1,393,169

หมายเหตุ จํานวนประชากรเฉพาะในเขตชนบทเท่านัน




รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
16




ตารางที 3 แสดงรายได้เฉลียต่อคนต่อปี เรี ยงลําดับจากน้อยไปหามาก
ลําด ับที                      อําเภอ                        รายได้เฉลียต่อคนต่อปี (บาท)

   1        จักราช                                                   47,238.50
   2        เฉลิมพระเกียรติ                                          48,245.88
   3        โนนแดง                                                   48,455.12
   4        โนนสูง                                                   48,487.96
   5        ชุมพวง                                                   48,809.61
   6        โนนไทย                                                   49,896.71
   7        เทพารักษ์                                                49,946.09
   8        ห ้วยแถลง                                                50,207.99
   9        ลําทะเมนชัย                                              50,775.85
  10        ปั กธงชัย                                                51,969.08
  11        ประทาย                                                   52,595.71
  12        บัวใหญ่                                                  52,751.96
  13        เมืองยาง                                                 52,947.19
  14        ขามสะแกแสง                                               54,017.30
  15        บัวลาย                                                   54,270.79
  16        ด่านขุนทด                                                54,470.90
  17        เสิงสาง                                                  54,639.69
  18        พระทองคํา                                                54,974.50
  19        พิมาย                                                    55,028.60
  20        ขามทะเลสอ                                                55,821.13
  21        ครบุรี                                                   55,864.80
  22        สีดา                                                     56,236.74
  23        บ ้านเหลือม
                     4                                               56,401.47
  24        คง                                                       56,660.00
  25        สีควิ.                                                   57,458.63
  26        สูงเนิน                                                  58,421.68
  27        โชคชัย                                                   58,490.28
  28        หนองบุนนาก                                               58,864.87
  29        วังนํ. าเขียว                                            58,954.06
  30        แก ้งสนามนาง                                             59,458.74
  31        เมืองนครราชสีมา                                          61,723.23
  32        ปากช่อง                                                  67,292.17
                          ่                 2
              เฉลียรายได้ตอคนต่อปี ของคนในพืนที                      55,388.31

หมายเหตุ จํานวนประชากรเฉพาะในเขตชนบทเท่านัน




รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
17




ตารางที 4 แสดงจํานวนครัวเรื อนทีมีรายได้เฉลียตํากว่า 23,000 บาท ต่อคนต่อปี
 ที                            อําเภอเมือง                                   จํานวน(คร.)

 1    เมือง                                                                      23
 2    คง                                                                         48
 3    ครบุรี                                                                     53
 4    จักราช                                                                      5
 5    โชคชัย                                                                     54
 6    ชุมพวง                                                                     64
 7    ด่านขุนทด                                                                 196
 8    โนนไทย                                                                    67
 9    บัวใหญ่                                                                   75
10    โนนสูง                                                                    242
11    ปั กธงชัย                                                                 55
12    ปากช่อง                                                                   77
13    พิมาย                                                                      18
14    สีควิ.                                                                     27
15    สูงเนิน                                                                    31
16    ประทาย                                                                     70
17    ห ้วยแถลง                                                                   6
18    ขามทะเลสอ                                                                  27
19    ขามสะแกแสง                                                                 13
20    เสิงสาง                                                                    66
21    บ ้านเหลือม
               4                                                                 28
22    หนองบุญมาก                                                                 77
23    แก ้งสนามนาง                                                                5
24    โนนแดง                                                                     10
25    วังนํ. าเขียว                                                             38
26    เมืองยาง                                                                  31
27    เทพารักษ์                                                                  8
28    พระทองคํา                                                                 103
29    ลําทะเมนชัย                                                               38
30    เฉลิมพระเกียรติ                                                           28
31    สีดา                                                                        3
32    บัวลาย                                                                     19
                                รวม                                            1,605




รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
18




ตารางที 5 สรุ ปรายรับ – รายจ่าย จากบัญชีครัวเรื อน พ.ศ. BDDM
                                               จํานวนเงินรวม        เฉลียต่อ คร.    เฉลียต่อคน
           ประเภทรายจ่าย
                                                  (บาท/ปี )        (บาท/คร./ปี )   (บาท/คน/ปี )
1)รายร ับจากบ ัญชีคร ัวเรือน                72,705,779,063.16         187,143.42     52,187.34
2)รายจ่ายจากบ ัญชีคร ัวเรือน
(2.1)รายจ่ายทีเป็ นต ้นทุนการผลิต
                  4
(2.2.1)ค่าพันธุพช/สัตว์
                 ์ ื                           4,628,587,922.97        11,913.91       3,322.34
(2.1.2)ค่าสารเคมีเพือการผลิต
                     4                         7,352,369,635.89        18,924.87       5,277.44
(ปุย ยาฆ่าแมลง ฯลฯ)
  ๋
(2.1.3)ค่าจ ้าง/ค่าแรงงาน/ค่าเช่า              7,334,420,972.75        18,878.67       5,264.56
(2.1.4)ค่าเครืองจักรต่างๆ ค่านํ. ามัน
               4                               6,302,398,153.39        16,222.26       4,523.79
และอืนๆ
      4
รวมรายจ่ายต้นทุนการผลิตทงหมด
                        ั2                  25,617,776,685.00         65,939.71      18,388.13
(2.2)การทําสวน
(2.2.1)ค่าอาหาร
(1)ค่าใช ้จ่ายเพือซือข ้าวสาร
                 4 .                            6,159,300,322.85       15,853.93       4,421.07
(2) ค่าใช ้จ่ายเพือซืออาหารทีจําเป็ น
                  4 .         4                27,200,745,595.39       70,014.25      19,524.37
(เช่น เนือสัตว์ ไข่ ผัก ฯลฯ)
         .
(3) ค่าใช ้จ่ายเพือซือขนมกินเล่น ขนม
                   4 .                         15,649,167,352.45       40,280.69      11,232.78
กรุบกรอบ ฯลฯ
รวมค่าอาหาร                                  49,009,213,270.69       126,148.87      35,178.23
(2.2.2)ค่าใช ้จ่ายเกียวกับเสือผ ้า เครือง
                       4      .        4        2,318,683,012.83        5,968.25       1,664.32
แต่งกาย
(2.2.3)ค่าใช ้จ่ายเกียวกับทีอยู่อาศัย
                     4      4                   1,145,245,295.50        2,947.84         822.04
(2.2.4) ค่ารักษาพยาบาล ค่ายา                      797,432,547.76        2,052.58         572.39
(2.2.5) ค่าใช ้จ่ายด ้านการศึกษา                2,679,135,716.28        6,896.05       1,923.05
(2.2.6) ค่าการเดินทาง (ค่านํ. ามันรถ            8,131,605,514.12       20,930.61       5,836.77
ค่าโดยสาร)
(2.2.7) ค่านํ. า ค่าไฟ                          4,644,018,511.23       11,953.62       3,333.42
(2.2.8) ค่าโทรศัพท์ โทรศัพท์มอถือ ื             8,142,374,923.39       20,958.33       5,844.50
บัตรเติมเงิน
(2.2.9) ค่าใช ้จ่ายส่วนบุคคล (สบู่ ยาสี         7,364,214,819.74       18,955.36       5,285.95
ฟั น ฯลฯ)
(2.2.10) ค่าบันเทิง หวย และการพนัน                897,497,458.42        2,310.14         644.21
(2.1.11) ค่าบุหรี4 เหล ้า ยาดอง                 3,571,144,906.85        9,192.07       2,563.32
(2.1.12) ค่าใช ้จ่ายอืนๆ 4                      5,520,537,198.89       14,209.77       3,962.58
รวมรายจ่ายในการอุปโภคบริโภค                  94,221,103,175.70       242,523.49      67,630.78
ทงหมด
   ั2
รวมรายจ่าย                                  119,838,879,860.70       308,463.20      86,018.91
       2 ิ
3) หนีสนจากบ ัญชีคร ัวเรือน                  14,844,123,827.60        38,208.52      10,654.93
4) เงินออมจากบ ัญชีคร ัวเรือน                13,100,660,549.41        33,720.87       9,403.50




รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
15

  10

   5

   0




ผลการสํารวจขอมูล จปฐ. รายตัวชี้วัด
         ประจําป 2554
20




         ตัวชี วัดที หญิ งตังครรภ์ได้รับการดู แลก่อนคลอดตามเกณฑ์บริ การและฉี ดวัคซี นครบ
ตามเกณฑ์ในภาพรวมจังหวัดนครราชสี มา พบว่า หญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด ตามเกณฑ์
บริ การ (คือในช่วง ) เดือนแรก ไปตรวจครรภ์อย่างน้อย , ครัง ในช่วง - เดือนขึนไป ไปตรวจครรภ์
                                                                                       ํ
อย่างน้อยเดือนละ , ครัง) และได้รับการฉี ดวัคซี นครบตามเกณฑ์ (คือการได้รับวัคซี นตามที2กาหนด
ไว้ในตารางสร้างเสริ มภูมิคุมกันโรค) ผ่านเกณฑ์จานวน 11,960 คน คิดเป็ นร้อยละ ==.= จากจํานวน
                           ้                    ํ
                                              ่
หญิงตังครรภ์ที2สํารวจทังหมด 11,971 คน ไม่ผานเกณฑ์ 11 คน ซึ2 งตํ2ากว่าเป้ าหมายร้อยละ @., ผล
                     ่
การสํารวจถือว่าไม่ผานเกณฑ์เป้ าหมาย

ปี พ.ศ. หญิงตังครรภ์ทงหมด(คน) ผ่านเกณฑ์(คน) ตกเกณฑ์(คน)
                     ั                                                 ร้อยละ    เป้ าหมาย
 2553           11,734            11,720        14                       99.9        100
 2554           11,971            11,960        11                       99.9        100




                                         ั ่
    แผนภูมิที แสดงอัตราส่ วนของจํานวนที2ยงไม่ผานเกณฑ์ทงหมดของจังหวัดนครราชสี มา
                                                      ั

รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554
               ิ
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554
รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554

Weitere ähnliche Inhalte

Empfohlen

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Empfohlen (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

รายงานคุณภาพชีวิตประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554

  • 1.
  • 2. ประมวลสรุป พระราชกระแสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล"าฯ ให"คณะกรรมการอํานวยการ งานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) และเจ"าหน"าที่ เข"าเฝ-าถวายรายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย การดําเนิ นงานพัฒนา แต่ก่อนใช้วดด้วยสายตาบ้าง เฉลียไปตามความคิ ดเห็ น ั ทีไม่เป็ นเชิงสถิติบาง ทําไปเรื อย ๆ บ้าง แต่ตอนนี' ทางราชการมีการสํารวจข้อมูล จปฐ. ้ เป็ นข้อ มู ล ที คิ ด ว่ า ในขณะนี' ดี ที สุ ด แล้ว ดี ใ นการเป็ นฐานให้ เ ริ มต้น แก้ไ ขปั ญ หา เป็ นข้อมูลทีง่าย ดูง่าย และเห็นด้วยทีมีการสํารวจข้อมูล จปฐ. มีการวัดเพือให้พบปั ญหา ซึงเมือรู ้ปัญหาแล้วจะได้มีการแก้ไขสําหรับการวัดนั'นจะตรงหรื อไม่ตรง แน่นอนต้องมี การผิดพลาดบ้าง ก็ไม่ น่าจะเป็ นปั ญหาใหญ่ ขอให้มีสิงทีจะช่ วยชี' ให้ฝ่ายรั ฐเข้าไปหา ชาวบ้า นได้ท ราบปั ญหาชาวบ้านบ้าง เมื อเราทํา จริ ง สํารวจจริ งแล้ว จะทําให้พบกับ บุคคลที ควรสงเคราะห์ หรื อทําให้พบปั ญหา และเมื อพบปั ญหาแล้วจะแก้ไขอย่างไร เป็ นสิ งซึงจะตามมา หลักการพัฒนาทีควรจะคํานึงถึง คือ ช่วยเขาเพือให้เขาช่วยตัวเองได้ การให้คาแนะนําเพือให้ชาวบ้านได้เรี ยนรู ้วธีการแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง จึงเป็ นสิ งสําคัญ ํ ิ (ได้รับพระราชทานพระราชานุญาต ตามหนังสื อสํานักราชเลขาธิการ ที รล. 0017/10527 ลงวันที 29 ตุลาคม 2534)
  • 3. คํานํา รายงานการพัฒนาคุณภาพชีวตของประชาชน จากข้อมูลความจําเป็ นพื!นฐาน (จปฐ.) เป็ น ิ เอกสารที(จดทําขึ!นเพื(อนําเสนอผลการจัดเก็บและวิเคราะห์ขอมูลความจําเป็ นพื!นฐาน(จปฐ.) ปี 0112 ั ้ โดยดํา เนิ นการสํา รวจและจัดเก็บ ข้อมู ล จากทุ ก ครั วเรื อน ทุ กหมู่บา นในเขตชนบท ของจังหวัด ้ นครราชสี มา ผลที( ได้จากการสํารวจข้อมูลจะทําให้ทราบถึ งคุ ณภาพชี วิตของประชาชนในระดับ ครั วเรื อน หมู่ บ ้า น ตํา บล อํา เภอ และภาพรวมของจัง หวัด โดยมี เครื( องชี! วดข้อมู ล ความจํา เป็ น ั พื!นฐาน 8 หมวด 20 ตัวชี!วด ั ในการประมวลผลการจัดเก็ บข้อมู ล ความจํา เป็ นพื!นฐาน(จปฐ.) ปี 0112 ภาพรวมของ จังหวัดนครราชสี มาจาก 9::,<1<9 ครั วเรื อน 9,8<2 หมู่บาน 0:1 ตําบล 90 อําเภอ พบว่าตัวชี! วด ้ ั ทั!งหมด 8 หมวด 20 ตัวชี! วด มี ตวชี! วดที(บรรลุ เป้ าหมาย 0= ตัวชี! วด ไม่บรรลุ เป้ าหมาย 0= ตัวชี! วด ั ั ั ั ั ได้แก่ ตัวชี! วดที( =,0,9,2,8,>,:,=<,=2,=:,=?,0<,0=,02,0>,0:,90,91,98,9> และ 21 ส่ วนผลการจัดเก็บ ั ข้อมู ลด้า นรายได้ (ตัวชี! วดที( 9<) จัง หวัดนครราชสี มามี รายได้เฉลี( ย ต่ อคนต่อปี ในภาพรวมของ ั จังหวัดเท่ากับ 11,9::.9= บาทต่อคนต่อปี และมีครัวเรื อนที(มีรายได้เฉลี(ยต่อคนต่อปี ตํ(ากว่าเกณฑ์ จปฐ. (09,<<< บาท) จํานวน =,8<1 ครัวเรื อน หวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานคุณภาพชีวิตของประชาชน จากข้อมูลความจําเป็ นพื!นฐาน (จปฐ.) ( ประจําปี 0112 ฉบับนี! จะเป็ นเครื( องมือหนึ(งที(ช่วยให้หน่วยงานที(เกี(ยวข้องกับการพัฒนาชนบท ทั!งภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ(น และองค์กรภาคประชาชน ตลอดจนนิสิต นักศึกษา และประชาชนทัวไปได้นาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนแก้ไขปั ญหาและพัฒนาคุณภาพชีวตของ ( ํ ิ ประชาชนให้ดียงขึ!น อย่างน้อยผ่านเกณฑ์ความจําเป็ นพื!นฐานทุกตัวชี!วดต่อไป (ิ ั สํ านักงานพัฒนาชุ มชนจังหวัดนครราชสี มา สิ งหาคม
  • 4. สารบัญ ประมวลสรุ ปพระราชกระแสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี คํานํา บทที 1 ข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) % 1 แนวคิดเรื อง จปฐ. เพือพัฒนาคุณภาพชีวต ิ 1 ความหมายของคุณภาพชีวิต และ จปฐ. 1 ข้อมูลความจําเป็ นพื'นฐาน จปฐ. 2 ขั'นตอนการนํา จปฐ. ไปใช้ในการพัฒนา 7 การพัฒนาคุณภาพข้อมูล จปฐ.โดยความร่ วมมือองค์กรปกครองส่ วนท้องถิน. 11 บทสรุ ปสําหรับผูบริ หาร ้ 56 บทที 2 ผลการสํ ารวจข้ อมูล จปฐ. จังหวัดนครราชสี มา 14 พื'นทีจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ปี 2554 14 จํานวนประชากร ชาย – หญิง 15 รายได้เฉลียต่อคนต่อปี 16 จํานวนครัวเรื อนทีมีรายได้เฉลียตํากว่าเกณฑ์ 23,000 บาท ต่อคนต่อปี 17 สรุ ปรายรับ – รายจ่าย จากบัญชีครัวเรื อน พ.ศ. 6BB4 18 ผลการสํารวจข้อมูล จปฐ. รายตัวชี'วด ั 19 บทที 3 รายงานคุณภาพชี วตของประชาชนจังหวัดนครราชสี มา ิ 63 ผลการวิเคราะห์ขอมูล จปฐ. ภาพรวมจังหวัดรายตัวชี'วด ้ ั 64 - หมวดที 1 สุ ขภาพดี (13 ตัวชี'วด) ั 64 - หมวดที 2 มีบานอาศัย (8 ตัวชี'วด) ้ ั 77 - หมวดที 3 ฝักใฝ่ การศึกษา (7 ตัวชี'วด) ั 85 ้ - หมวดที 4 รายได้กาวหน้า (3 ตัวชี'วด) ั 92 - หมวดที 5 ปลูกฝังค่านิยม (6 ตัวชี'วด)ั 95 - หมวดที 6 ร่ วมใจพัฒนา(5 ตัวชี'วด) ั 99 ตัวชี'วดทียังไม่บรรลุเป้ าหมายภาพรวมจังหวัดนครราชสี มา ั 111 ตัวชี'วดทียังไม่บรรลุเป้ าหมายรายอําเภอ ั 112
  • 5. 1 บทที ข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) แนวคิดเรือง จปฐ. เพือพัฒนาคุณภาพชี วต ิ หลักการและแนวคิดเรื อง จปฐ. นี ในเบื องต้นก็คือการวาดภาพสังคมที พึงประสงค์ของ คนไทย โดยคิ ด ว่า ในฐานะที ประชาชนทุ ก คนที เกิ ดเป็ นคนไทยนัน ขันตําของชี วิ ตเขาน่ า จะมี อะไรบ้าง? นันคือ การทีจะทําให้คนไทยมีคุณภาพชีวตทีดี ขันตําเขาควรจะมีอะไรบ้าง ิ ได้ขอสรุ ปว่า การมีคุณภาพชีวตทีดีของคนไทย จะต้องผ่านเกณฑ์ความจําเป็ นพืนฐาน ้ ิ (จปฐ.) ทุกตัวชีวัด ความหมายของคุณภาพชี วตและ จปฐ. ิ ความหมายของคําวา “คุณภาพชีวิต” คือ 1. คุณภาพชี วิต หมายถึ ง การดํารงชี วิตของมนุ ษย์ในระดับทีเหมาะสมตามความจําเป็ น พืนฐานในสังคมหนึง ๆในช่วงเวลาหนึง ๆ 2. คุณภาพชีวตของประชาชนจะดี หมายถึง ครอบครัวนันหรื อชุ มชนนันได้บรรลุเกณฑ์ ิ ความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ครบถ้วนทุกประการ ความหมายของคําว่ า “ความจําเป็ นพืนฐาน” (จปฐ.) คือ ความต้องการพืนฐานสําหรับประชาชน ดํารงชีวิต สิ งจําเป็ นต่อการครองชีพพืนฐาน จปฐ. ความต้องการขันตําทีชาวบ้านควรมี ความต้องการตําทีสุดทีสามารถดํารงชีวต ิ อย่างปกติสุขพอสมควร รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 6. 2 ข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) จปฐ. เป็ นข้อมูลทีแสดงถึงลักษณะของสังคมไทยทีพึงประสงค์ตามเกณฑ์มาตรฐานขัน ่ ํ ตําของเครื องชีวัดว่า อย่างน้อยคนไทยควรจะมีระดับความเป็ นอยูไม่ตากว่าเกณฑ์ระดับไหน ในช่วง ระยะเวลาหนึง และทําให้ประชาชนสามารถทราบด้วยตนเองว่า ในขณะนีคุณภาพชี วิตของตนเอง ครอบครัว รวมไปถึงหมู่บานหมู่บานอยูในระดับใด มีปัญหาทีจะต้องแก้ไขในเรื องใดบ้าง เป็ นการ ้ ้ ่ ส่ งเสริ มให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม อันเป็ นนโยบาย สําคัญในการพัฒนาชนบทของประเทศ หลักการของข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ่ เป็ นเครื องมือกระบวนการเรี ยนรู ้ของประชาชนเพือทราบสภาพความเป็ นอยูของตนเอง และชุมชน ส่ งเสริ มให้ประชาชนมีส่วนร่ วมในการพัฒนา ใช้ขอมูล จปฐ.เป็ นแนวทางในการคัดเลือกโครงการสอดคล้องกับสภาพปั ญหาของชุมชน ้ แนวคิดและความเป็ นมาของข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ข้อมูล จปฐ. ที มี การจัดเก็บโดยประชาชนด้วยความสนับสนุ นของคณะทํางาน สนับสนุนการปฏิบติการพัฒนาชนบทระดับตําบล (คปต.) และผูแทนขององค์การบริ หารส่ วนตําบล ั ้ (อบต.) หรื อ เทศบาล นันจะทําให้ทราบว่าแต่ละครัวเรื อนมีปัญหาอะไร หมู่บานมีปั ญหาอะไร และ ้ เมือทราบแล้ว ส่ วนใดทีไม่สามารถดําเนิ นการเองได้ก็ให้ขอรับการสนับสนุ นบางส่ วนหรื อทังหมด จากโครงการขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิน (อปท.) เช่น องค์การบริ หารส่ วนตําบล เทศบาล หรื อ องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด (อบจ.) ส่ วนราชการในภูมิภาค (อําเภอ,จังหวัด) ส่ วนราชการส่ วนกลาง (กรม,กระทรวง) หรื อในระดับรัฐบาล ต่อไป ปี พ.ศ. 1212 แนวความคิดเรื อง จปฐ. เกิ ดขึนครังแรก สํานักงานคณะกรรมการ ํ พัฒนาการเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ได้กาหนดรู ปแบบลักษณะของสังคมไทยและคนไทยทีพึง ประสงค์ในอนาคต โดยกําหนดเป็ นเครื องชี วัดความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ของคนไทยซึ งได้ขอ ้ สรุ ปว่า “การมีคุณภาพชีวตทีดีของคนไทยจะต้องผ่านเกณฑ์ความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ) ทุกตัวชีวัด” ิ ปี พ.ศ. 1213 คณะรัฐมนตรี เห็นชอบอนุ มติเมือวันที BC สิ งหาคม BDBE ให้มีการ ั ดํา เนิ น การโครงการปี รณรงค์ คุ ณ ภาพชี วิ ต และประกาศใช้ เ ป็ น “ ปี รณรงค์ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของ รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 7. 3 ประชาชนในชาติ (ปรช.) ” (BC สิ งหาคม BDBE - GH ธันวาคม BDGC) โดยใช้เครื องชี วัดความจําเป็ น พืนฐาน E หมวด GB ตัวชี วัด เป็ นเครื องมือทีใช้วดคุ ณภาพชี วิตของคนไทยว่า อย่างน้อยคนไทย ั ควรมีคุณภาพชีวตในเรื องอะไรบ้าง และควรมีระดับไหนในช่วงระยะเวลาหนึง ๆ ิ ปี พ.ศ. 124 คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่ งชาติ (กชช.) มี ม ติ ใ ห้สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ มอบโครงการ ปี รณรงค์ให้ กระทรวงมหาดไทย โดยกรมการพัฒนาชุ มชน เป็ นหน่ วยงานรับผิดชอบดําเนิ นงานต่อ ภายใต้ชืองานว่า “ งานพัฒนา คุณภาพชีวตของประชาชนในชนบท (พชช.) ” ิ ปี พ.ศ. 1241 คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่ ง ชาติ (กชช.) มี ม ติ เมื อวันที HD กันยายน BDGB ให้กรมการพัฒนาชุ มชน จัดเก็บข้อมูล จปฐ. เป็ นประจําทุกปี ตังแต่ปี BDGG จนถึ ง ปั จจุบน โดยมีการปรับปรุ งเครื องชี วัดข้อมูล จปฐ. ทุก D ปี ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิ จ ั และสังคมแห่งชาติ ปี พ.ศ.1242 มี ก ารปรั บ ปรุ งเครื องชี วัด จปฐ. เพื อใช้ จ ัด เก็ บ ข้อ มู ล ในช่ ว ง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที K (พ.ศ. BDGD-BDGL) เป็ น L หมวด GK ตัวชีวัด ปี พ.ศ. 1256 มีการปรับปรุ งเครื องชี วัดข้อมูล จปฐ. เพือใช้จดเก็บข้อมูลในช่ วง ั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที E (พ.ศ. BDMC- BDMM) เป็ น E หมวด GL ตัวชีวัด ปี พ.ศ. 1255 มีการปรับปรุ งเครื องชี วัดข้อมูล จปฐ. เพือใช้จดเก็บข้อมูลในช่ วง ั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที L (พ.ศ. BDMD-BDML) เป็ น N หมวด GK ตัวชีวัด ปี พ.ศ. 1255 คณะกรรมการอํานวยการงานพัฒนาคุ ณภาพชี วิตของประชาชน (พชช.) มีมติเมือวันที L กุมภาพันธ์ BDMM ให้กรมการพัฒนาชุ มชน รับผิดชอบประสานการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ในเขตเมืองด้วย โดยให้ใช้เครื องชีวัดเหมือนเขตชนบท (มติเมือ GH พ.ค. BDMD) ปี พ.ศ. 1257 ได้มีการศึกษาปรับปรุ งเครื องชีวัดข้อมูล จปฐ. เพือใช้จดเก็บข้อมูล ั ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที HC (พ.ศ. BDDC-BDDM) โดยสรุ ปตัวชีวัดตาม ความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ทีจะนํามาใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที HC (พ.ศ. BDDC-BDDM) มีจานวน N หมวด MB ตัวชีวัด ํ ่ จากผลการศึกษาในปี พ.ศ. BDML สามารถสรุ ปได้วา “ ตัวชีวัดความจําเป็ นพืนฐาน จปฐ. ” ทีนํามาใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ช่ วงแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที HC (ปี BDDC-BDDM) มีจานวน N หมวด MB ตัวชีวัด ํ หมวดที H สุ ขภาพดี มี HG ตัวชีวัด หมวดที B มีบานอาศัย ้ มี E ตัวชีวัด หมวดที G ฝักใฝ่ การศึกษา มี K ตัวชีวัด ้ หมวดที M รายได้กาวหน้า มี G ตัวชีวัด หมวดที D ปลูกฝังค่านิยมไทย มี N ตัวชีวัด รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 8. 4 หมวดที N ร่ วมใจพัฒนา มี D ตัวชีวัด หมวดที 1 : สุ ขภาพดี (ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดี) มี 13 ตัวชี วัด เป้ าหมาย ตัวชีวัดที ตัวชีวัดข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ปี 2550 - 2554 หน่ วย ร้ อยละ 1 หญิงตังครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด และฉี ดวัคซีนครบตามเกณฑ์บริ การ คน 100 2 แม่ทีคลอดลูกได้รับการทําคลอด และดูแลหลังคลอด คน 100 3 เด็กแรกเกิดมีนาหนักไม่ตากว่า 2,500 กรัม ํ ํ คน 100 4 เด็กแรกเกิดถึง 1 ปี เต็มได้รับการฉี ดวัคซีนป้ องกันโรคครบตามตารางสร้าง คน 100 เสริ มภูมิคุมกันโรค ้ 5 เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 4 เดือนแรกติดต่อกัน คน 95 6 เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เจริ ญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน คน 100 7 เด็กอายุ 6 - 15 ปี เจริ ญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน คน 100 8 เด็กอายุ 6 - 12 ปี ได้รับการฉี ดวัคซีนป้ องกันโรคครบตามตารางสร้างเสริ ม คน 100 ภูมิคุมกันโรค ้ 9 ทุกคนในครัวเรื อนกินอาหารถูกสุขลักษณะปลอดภัยและได้มาตรฐาน ครัวเรื อน 95 10 คนในครัวเรื อนมีความรู ้ในการใช้ยาทีถูกต้องเหมาะสม ครัวเรื อน 100 11 คนอายุ 35 ปี ขึนไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจําปี คน 50 12 คนอายุ 6 ปี ขึนไป ออกกําลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที คน 60 13 ผูทีมีสิทธิในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีหลักปะกันสุขภาพ ้ คน 98 หมวดที 2 : มีบ้านอาศัย(ประชาชนมีทอยู่อาศัยและสภาพแวดล้ อมทีเหมาะสม) มี 8 ตัวชี วัด ี เป้ าหมาย ตัวชีวัดที ตัวชีวัดข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ปี 2550 - 2554 หน่ วย ร้ อยละ 14 ่ ครัวเรื อนมีความมันคงในทีอยูอาศัยและบ้านมีสภาพคงทนถาวร ครัวเรื อน 100 15 ครัวเรื อนมีนาสะอาดสําหรับดืมและบริ โภคเพียงพอตลอดปี ํ ครัวเรื อน 95 16 ครัวเรื อนมีนาใช้เพียงพอตลอดปี ํ ครัวเรื อน 95 17 ครัวเรื อนมีการจัดบ้านเรื อนเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย สะอาด และถูก ครัวเรื อน 95 สุขลักษณะ 18 ครัวเรื อนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ ครัวเรื อน 100 19 ครัวเรื อนมีการป้ องกันอุบติภยอย่างถูกวิธี ั ั ครัวเรื อน 100 20 ครัวเรื อนมีความปลอดภัยในชีวตและทรัพย์สิน ิ ครัวเรื อน 100 21 ครอบครัวมีความอบอุ่น ครัวเรื อน 100 รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 9. 5 หมวดที 3 : ฝักใฝ่ การศึกษา(ประชาชนมีโอกาสเข้ าถึงบริ การด้ านการศึกษา) มี 7 ตัวชีวัด เป้ าหมาย ตัวชีวัดที ตัวชีวัดข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ปี 2550 - 2554 หน่ วย ร้ อยละ 22 เด็กทีอายุตากว่า 3 ปี เต็ม ได้รับการส่งเสริ มการเรี ยนรู ้จาการทํากิจกรรมร่ วมกับ ํ คน 80 ผูใหญ่ในบ้าน ้ 23 เด็กอายุ 3 – 5 ปี เต็ม ได้รับบริ การเลียงดูเตรี ยมความพร้อมก่อนวัยเรี ยน คน 80 24 เด็กอายุ 6 – 12 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี คน 100 25 เด็กทีจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ได้เรี ยนต่อมัธยมศึกษาตอนปลาย หรื อ คน 95 เทียบเท่า 26 เด็กทีจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี แต่ไม่ได้เรี ยนต่อมัธยมศึกษาตอนปลายหรื อ คน 80 เทียบเท่า และยังไม่มีงานทําได้รับการฝึ กอบรมอาชีพ 27 คนอายุ 15 - 16 ปี เต็ม อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้ทุกคน คน 100 28 คนในครัวเรื อนรับรู ้ข่าวสารทีเป็ นประโยชน์ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 ครัง ครัวเรื อน 100 หมวดที 4 : รายได้ ก้าวหน้ า(ประชาชนมีการประกอบอาชี พและมีรายได้ พอเพียงต่ อการดํารงชี วต) ิ มี 3 ตัวชี วัด เป้ าหมาย ตัวชีวัดที ตัวชีวัดข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ปี 2550 - 2554 หน่ วย ร้ อยละ 29 คนอายุ 15 - 60 ปี เต็ม มีการประกอบอาชีพและมีรายได้ คน 95 30 คนในครัวเรื อนมีรายได้เฉลียไม่ตากว่าคนละ 23,000 บาทต่อปี ํ ครัวเรื อน 70 31 ครัวเรื อนมีการเก็บออมเงิน ครัวเรื อน 80 หมวดที 5 : ปลูกฝังค่ านิยมไทย(ประชาชนมีการปลูกฝังค่ านิยมไทยให้ กบตนเองเพือให้ ั คุณภาพชี วตทีดีขึน) มี 6 ตัวชี วัด ิ เป้ าหมาย ตัวชีวัดที ตัวชีวัดข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ปี 2550 - 2554 หน่ วย ร้ อยละ 32 คนในครัวเรื อนไม่ติดสุรา คน 100 33 คนในครัวเรื อนไม่สูบบุหรี คน 90 34 คนในครัวเรื อนได้ปฏิบติตนตามขนบธรรมเนียมและมารยาทไทย ั ครัวเรื อน 95 35 คนอายุ 6 ปี ขึนไปทุกคน ได้ปฏิบติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ ั ครัวเรื อน 100 ละ 1 ครัง 36 คนสูงอายุได้รับการดูแลเอาใจใส่จากคนในครัวเรื อน คน 100 37 คนพิการได้รับการดูแลเอาใจใส่จากคนในครัวเรื อน คน 100 รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 10. 6 หมวดที 6 : ร่ วมใจพัฒนา (ประชาชนมีจิตสํ านึกและร่ วมกันรักษาสิ ทธิLของตนเองเพือประโยชน์ ของชุ มชนหรื อท้ องถิน) มี 5 ตัวชี วัด เป้ าหมาย ตัวชีวัดที ตัวชีวัดข้ อมูลความจําเป็ นพืนฐาน (จปฐ.) ปี 2550 - 2554 หน่ วย ร้ อยละ 38 คนในครัวเรื อนเป็ นสมาชิกกลุ่มทีตังขึนในหมู่บาน/ชุมชน ตําบล ้ ครัวเรื อน 95 39 คนในครัวเรื อนมีส่วนร่ วมแสดงความคิดเห็นเพือประโยชน์ของชุมชนหรื อ ครัวเรื อน 95 ท้องถิน 40 คนในครัวเรื อนมีส่วนร่ วมในการทํากิจกรรมเกียวกับการอนุรักษ์ทรัพยากร ครัวเรื อน 90 ธรรมชาติเพือประโยชน์ของชุมชนหรื อท้องถิน 41 คนในครัวเรื อน มีส่วนร่ วมทํากิจกรรมสาธารณะของหมู่บาน/ชุมชน ้ ครัวเรื อน 100 42 คนอายุ 18 ปี ขึนไป ทีมีสิทธิZเลือกตังไปใช้สิทธิZเลือกตังในชุมชนของตน คน 90 รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 11. 7 ขันตอนการนํา จปฐ. ไปใช้ ในการพัฒนา 7. สอนชุมชนอืนๆ 6.ประเมินผล 5.ดําเนิน การตามแผน 4. จัดลําดับภูมปั ญญาและวางแผน 3.วิเคราะห์ปัญหา 2. รู ้ปัญหา 1. สํารวจข้อมูล 1. สํารวจ 2. รู ้ปัญหา ข้อมูล 3. วิเคราะห์ปัญหา (หาสาเหตุแนวทางแก้ไข) 4. จัดลําดับภูมิปัญญาและวางแผน 5. ดําเนินการตามแผน N. ประเมินผล สํารวจ จปฐ. ซํา 7. สอนชุมชนอืน ๆ รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 12. 8 สรุ ปสถานการณ์ การใช้ จปฐ. สรุ ปขันตอนทัง K ขันตอน ของการนํา ข้อมูล จปฐ. มาใช้ใ นกระบวนการพัฒนาชุ ม ชน จะเห็นได้วาสถานะของการใช้ จปฐ. มีอยู่ M สถานะด้วยกัน ดังนี ่ .เป็ นเปาหมาย ้ MBO Goal สภาพปั จจุบน ั บรรลุ จปฐ. ปี 2554 1.เป็ นตัวชี วัด เป็ นเป้ าหมายทีสามารถวัดได้ชดเจน ั 4.เป็ นข้ อมูล สามารถใช้ประกอบการวางแผน 5.เป็ นกระบวนการ การเก็บข้อมูล/วิเคราะห์/หาแนวทาง แก้ไข/วางแผน/ประเมินผล เงือนไขแห่ งความสํ าเร็จของ จปฐ. การที จะนํา จปฐ. มาใช้ เพื อพัฒนาคุ ณ ภาพชี วิตของประชาชนให้เป็ นผลสํา เร็ จได้นัน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิน/เจ้าหน้าที/ข้าราชการ/ประชาชนและองค์กรเอกชน จะต้องมีบทบาท ดังต่อไปนี 1. บทบาทของเจ้ าหน้ าทีของรัฐ การทีจะให้เกิดการใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชี วิตของคนไทยดังทีกล่าวมาแล้วนัน บทบาทหน้าที ของข้าราชการทุกระดับ จะต้องมีบทบาทดังนี คือ 1) มีความรู ้ความเข้าใจเกียวกับการใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวตเป็ นอย่างดี ิ 2) สามารถเชือมแนวความคิด จปฐ. เข้ากับการพัฒนาชุมชนทีมีอยูเ่ ดิมอย่างดี 3) จะต้องมี ความเข้าใจว่า จปฐ. นี ไม่ใช่ ของข้าราชการกระทรวงใดกระทรวง หนึ งแต่เป็ นของประชาชน เป็ นภาพทีต้องการให้ชาวบ้านบรรลุเกณฑ์หรื อเข้าเกณฑ์ จปฐ.นีทุกข้อ ดังนัน จึงเป็ นความจําเป็ นร่ วมกันทีจะต้องช่วยกันพัฒนาสนับสนุนชาวบ้านทุกเรื องตาม จปฐ. 4) ข้าราชการทีมีความรู ้ จะต้องสามารถถ่ายทอดความรู ้นีไปให้วิทยากรระดับ ล่างได้และระดับล่างสุ ดจะต้องถ่ายทอดเรื อง จปฐ.ไปให้ชาวบ้านได้ จนกระทังชาวบ้านสามารถ ปฏิบติได้ตามแนวคิด จปฐ. ั รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 13. 9 5) เมือชาวบ้านทําแผนระดับชุ มชนแล้ว เป็ นหน้าทีของข้าราชการทุกกระทรวง ทีจะต้องให้การสนับสนุ น กระตุนอย่างต่อเนื อง เพือให้ชาวบ้านเกิ ดการปฏิ บติการพัฒนาคุ ณภาพ ้ ั ชีวตตามแผนทีวางไว้ ิ 6) ข้าราชการควรจะต้องมีการออกนิ เทศงาน ติดตาม ช่วยแก้ไขปั ญหาอุปสรรค ั ให้กบชาวบ้านอย่างต่อเนืองสมําเสมอ 7) ข้าราชการควรมีการประชุ มร่ วมกันทุกกระทรวงเป็ นประจํา และมีการฟื นฟู ความรู ้ ความเข้าใจเกียวกับการนํา จปฐ. ไปใช้พฒนาคุณภาพชีวต ั ิ 2. บทบาทขององค์ กรประชาชน องค์กรประชาชนในระดับหมู่บาน ซึ งอาจจะเป็ นกรรมการชุ มชน กลุ่มสตรี กลุ่ม ้ เยาวชน อสม. ฯลฯ ซึ งจะมีบทบาทในการนํา จปฐ.ไปใช้เป็ นเครื องชี วัดการพัฒนานัน จะต้องมี บทบาท โดยละเอียด ดังนี 1) มี ความรู ้ ความเข้าใจเกี ยวกับ การใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุ ณภาพชี วิต และ สามารถนําไปปฎิบติในหมู่บานตนเองได้ ั ้ 2) จะต้องถ่ายทอดความรู ้ ความเข้าใจนี ไปยังชาวบ้านอืน ๆ หรื อชุมชนใกล้เคียงได้ 3) นําผลสํารวจ จปฐ. มาวางแผนพัฒนาชุ มชนแล้วปฏิบติตามแผนทีวางไว้ได้ ั อย่างจริ งจัง 4) มีการระดมทรั พยากรในท้องถินตนเองมาใช้ ในการพัฒนาคุ ณภาพชี วิตทัง เรื องกําลังคน เงิน วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ 5) มีการติดตามนิ เทศ ช่ วยเหลื อกันเองเพือแก้ไขปั ญหาอุปสรรคต่าง ๆ ภายใน ชุ มชน หรื อชุ มชนใกล้เคียง ถ้าเกิ นกําลังที จะแก้ไขกันได้เอง ให้ติดต่อประสานงานกับองค์กร ปกครองส่ วนท้องถิน หรื อส่ วนราชการอืน ๆ 6) มี การฟื นฟูความรู ้ ความเข้าใจเกี ยวกับการใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุ ณภาพ ชีวตเป็ นประจํา ิ 7) ประเมินผลการพัฒนาคุ ณภาพชี วิตในชุ มชนโดยการสํารวจ จปฐ. ซําทุกปี จะทําให้ทราบว่าระดับการพัฒนาคุณภาพชีวตดีขึน หรื อไม่อย่างไร ิ 3. บทบาทองค์ กรเอกชน (NGO) การพัฒนาคุ ณภาพชี วิต นอกจากในส่ วนของข้าราชการและประชาชนจะประสาน ช่ วยเหลื อกันแล้ว ยังมี องค์ก รเอกชน (NGO) อี กจํา นวนมาก ที จะเข้า มามี บ ทบาทช่ วยเหลื อการ พัฒนาคุณภาพชีวตได้ ดังนี ิ รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 14. 10 1) ช่ วยเรื องเงิ นทุน เมื อชาวบ้านขาดเงิ นทุนในการพัฒนาคุ ณภาพชี วิต องค์กร เอกชนอาจจะช่วยหาเงินช่วยเหลือจากแหล่งต่าง ๆ ได้ 2) ช่ ว ยเรื องกํา ลัง คน มี อ งค์ ก รเอกชนจํา นวนมากที ได้ ส่ ง นั ก พัฒ นาหรื อ ํ อาสาสมัครเข้าไปช่วยการพัฒนาคุณภาพชี วิตของประชาชนทําให้ชาวบ้านมีกาลังคนเพิมขึน เพือ ช่วยคิดช่วยทําการพัฒนาคุณภาพชีวต ิ 3) ช่ ว ยเรื องความรู ้ วิ ช าการต่ า ง ๆ มี อ งค์ ก รเอกชนจํา นวนมากที มี บ ทบาท เกียวกับการให้ความรู ้ ความเข้าใจประชาชน องค์กรเอกชนเหล่านี จึงสามารถช่วยได้อย่างมาก 4) การประชาสัมพันธ์ แนวความคิดเรื อง จปฐ. จําเป็ นต้องมีการสื อความหมาย ถ่ายทอดแนวความคิดเป็ นเอกภาพและความมีพลังในการทํางานพัฒนาคุณภาพชี วิต องค์กรเอกชน ทังหลายทีมีบทบาทด้านการสื อสารประชาสัมพันธ์ จึงจําเป็ นต้องช่วยในเรื องเหล่านี อย่างมากทัง วิทยุ โทรทัศน์ หนังสื อพิมพ์ วารสาร เอกสาร ฯลฯ รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 15. 11 การพัฒนาคุณภาพข้ อมูล จปฐ. โดยความร่ วมมือขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน “โครงการท้ องถินสดใส ใส่ ใจคุณภาพข้ อมูล” สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสี มาได้จดทําโครงการ “ท้องถินสดใส ใส่ ใจคุณภาพ ั ข้อมู ล เพื อส่ ง เสริ ม สนับสนุ นการใช้ป ระโยชน์ จากข้อมู ล จปฐ. และเป็ นการเผยแพร่ ข ้อมู ล ให้ หน่ ว ยงานต่ า ง ๆทังภาครั ฐ เอกชน ได้นํา ข้อ มู ล ไปใช้ป ระโยชน์ ใ นการวางแผนงานโครงการ กิจกรรมและเพือเชิดชูเกียรติองค์กรปกครองส่ วนท้องถินทีมีผลบริ หารจัดเก็บข้อมูลทีมีคุณภาพและ นํา ข้อมู ล ไปใช้ป ระโยชน์ เพื อให้ “ไตรภาคี ” ประกอบด้วย ภาคประชาชน(ผูนํา /อาสาสมัค ร) ้ ภาครัฐ (หน่วยงานในพืนที) และ ภาคท้ องถิน (องค์กรปกครองส่ วนท้องถิน) ซึ งเป็ นกลไกสําคัญทีมี บทบาทในกระบวนการบริ หารจัดเก็ บ ข้อมู ล บันทึ ก ข้อมู ล ได้ม าซึ งข้อมู ลที มี คุ ณภาพ (ถู ก ต้อง ครบถ้วน เป็ นปั จจุ บน ได้รับการยอมรั บ และนํา ไปใช้ป ระโยชน์ ) เป็ นหัวใจสํา คัญที จะทําทําให้ ั กระบวนการในการวางแผนกํา หนดทิ ศ ทางในการแก้ไ ขปั ญ หาและพัฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของ ประชาชนเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพประสิ ทธิ ผล ไตรภาคี • ภาคประชาชน -1 ใชเวทีประชาคมรับรอง ความถูกตองของขอมูลกอน บันทึก 2 ตรวจสอบขอมูลโดยการ คณะกรรมการติดตาม ป$ดประกาศผลใหประชาชน รับรองผลการจัดเก็บขอมูล • ติดตามสุมตรวจผลการ สพจ.นครราชสีมา • ภาครัฐ มอบหนวยงาน ดําเนินงาน/ใหคะแนน เจาภาพหลัก 6 หมวด ตามหลักเกณฑ3 • ภาคท!องถิ่น ประมวลผล • จัดทําโล ขอมูลกอนสงอําเภอ • ประกาศเกียรติคุณ ภาคประชาชน - ถูกต้อง - กระบวนการมีส่วนร่ วม - ครบถ้วน ั ั - เป็ นปจจุบน ข้อมูลมีคุณภาพ - ได้รบการยอมรับ ั - นําไปใช้ประโยชน์ ไตรภาคี ภาคท้องถิ น - การนําไปใช้ประโยชน์ ในการวางแผน ภาครัฐ - การตรวจสอบรั บรองในพืนที รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 16. 12 บทสรุ ปของผู้บริหาร กระบวนการจัดข้ อมูล จปฐ ปี 1225 สํานักงานพัฒนาชุ มชนจังหวัดนครราชสี มาดําเนิ นการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ระหว่างเดื อน มกราคม BDDM-เมษายน BDDM โดยมีกระบวนการดังนี H. ประชุมชีแจงผูจดเก็บข้อมูล จปฐ.32อําเภอ ในเดือนธันวาคมBDDG ้ั 2. อาสาสมัครจัดเก็บข้อมูลดําเนินการสํารวจข้อมูลจปฐ.รายครัวเรื อนเดือนมกราคมBDDM G. ผูนํา ท้อ งถิ น/อาสาพัฒ นาชุ ม ชนที ได้รั บ มอบหมายตรวจสอบความถู ก ต้อ งสมบู ร ณ์ ้ ครบถ้วนของข้อมูล จปฐ.เดือนกุมภาพันธ์ 2554 M. เจ้าหน้าทีบันทึกข้อมูลดําเนินการบันทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูลเดือนมีนาคม BDDM D. สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอจัดเวทีประชาคมตําบลรับรองความถูกต้องของข้อมูลจปฐ. ระดับตํา บลร่ วมกับองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ น/ผูนําชุ มชนและหน่ วยงานภาคี การพัฒนา แล้ว ้ ส่ งกลับข้อมูลเพือแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องประมวลผลส่ งสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เดือนเมษายน BDDM N. เจ้าหน้าทีรับผิดชอบข้อมูล จปฐ.ระดับจังหวัดตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณ์ครบถ้วน ของข้อมูลประมวลผลเป็ นภาพรวมของจังหวัดส่ งกรมการพัฒนาชุมชนเดือนเมษายน BDDM ผูให้ขอมูล ได้แก่ หัวหน้าครัวเรื อน ผูอยูในหมู่บาน/ชุมชนไม่นอยกว่า Nเดือนในรอบปี ้ ้ ้ ่ ้ ้ ผูจดเก็บข้อมูล ได้แก่ อาสาสมัครทีเข้ารับการอบรมการสํารวจข้อมูล ้ั พืนทีจัดเก็บข้อมูล จัดเก็บข้อมูลในเขตพืนชนบทเท่านัน ผลการจัดเก็บข้อมูลความจําเป็ นพืนฐานปี BDDM ซึ งจัดเก็บทุกครัวเรื อนในเขตชนบทใน จังหวัดนครราชสี มา จํานวน GB อําเภอ BED ตําบล G,NCM หมูบาน 388,503 ครัวเรื อน ซึ งมี ้ ประชากร จํา นวน1,393,169 คน แยกเป็ นเพศชาย686,610 คน เพศหญิ ง 706,559 คน พบว่ า ประชาชนในเขตชนบทมีคุณภาพชีวตตามเครื องชีวัด จปฐ. จํานวน N หมวด MB ตัวชีวัด สรุ ปได้ดงนี ิ ั จํานวนครัวเรื อน GEE,DCG ครัวเรื อน จํานวนประชากร H,GLG,HNL คน แยกเป็ นเพศชาย NEN,NHC คน แยกเป็ นเพศหญิง KCN,DDL คน ครัวเรื อนทีมีนาดืมเพียงพอ ํ 388,293 ครัวเรื อน ครัวเรื อนทีมีนาใช้เพียงพอ ํ 388,190 ครัวเรื อน เด็กทีไม่ได้เรี ยนต่อชัน ม.M 531 คน คนอายุ HD-NC ปี ไม่มีอาชีพและหรื อรายได้ 2,189 คน จํานวนคนทีอ่าน เขียนภาษไทยไม่ได้ 954 คน รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 17. 13 จํานวนคนพิการ B3,193 คน จํานวนคนทีมีรายได้ตากว่า BG,CCC บาท/คน/ปี ํ H,605 ครัวเรื อน รายได้เฉลีย 55,388.31 บาท/คน/ปี รายรับจากบัญชีครัวเรื อน 52,187.34 บาท/คน/ปี รายจ่ายจากบัญชีครัวเรื อน 86,018.91 บาท/คน/ปี หนีสิ นจากบัญชีครัวเรื อน 10,654.93 บาท/คน/ปี เงินออมจากบัญชีครัวเรื อน 9,403.50 บาท/คน/ปี ส่ วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ่างทัวไป ส่ วนใหญ่นบถือศาสนา “พุทธ” ั ระดับการศึกษาของคนในจังหวัด (สู งสุ ด G ลําดับแรก) 1. ป. M – N 2. ม.1-3 3. ตํากว่า ป.M บรรลุเปาหมาย ้ 11 ข้ อ 5,L,HH,HB,HG,HD,HN,HK,BB,BG,BD,BN,BL,GC,GH,GG,GM,GE,GL,MC,MB ไม่ บรรลุเปาหมาย ้ 11 ข้ อ คือ H,B,G,M,N,K,E,HC,HM,HE,HL,BC,BH,BM,BK,BE,GB,GD,GN,GK,MH สํานักงานพัฒนาชุมชนได้ประสานหน่วยงานภาคีนาข้อมูล จปฐ.เพือใช้ประโยชน์ในการ ํ แก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวตประชาชนในจังหวัดนครราชสี มา ิ รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 18. 14 บทที 2 ผลการสํ ารวจข้ อมูล จปฐ. จังหวัดนครราชสี มา ผลการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. เขตชนบท จังหวัดนครราชสี มา ในพืนที จํานวน GB อําเภอ BED ตําบล G,NCM หมูบาน 388,503 ครัวเรื อน ้ ตารางที 1 แสดงพืนทีจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ปี 2554 ของจังหวัดนครราชสี มา ที อําเภอ คร ัวเรือน หมูบาน ่ ้ ตําบล 1 เมือง 37,843 214 22 2 คง 13,308 153 10 3 ครบุรี 15,845 148 12 4 จักราช 13,229 109 8 5 โชคชัย 11,971 119 10 6 ชุมพวง 13,119 123 9 7 ด่านขุนทด 22,064 219 16 8 โนนไทย 12,037 128 10 9 บัวใหญ่ 11,730 122 10 10 โนนสูง 20,991 192 15 11 ปั กธงชัย 20,477 201 16 12 ปากช่อง 27,637 214 12 13 พิมาย 23,146 211 12 14 สีควิ. 16,826 154 12 15 สูงเนิน 14,130 124 11 16 ประทาย 12,376 144 13 17 ห ้วยแถลง 12,088 119 10 18 ขามทะเลสอ 5,129 46 5 19 ขามสะแกแสง 6,187 72 7 20 เสิงสาง 10,171 84 6 21 บ ้านเหลือม 4 3,203 38 4 22 หนองบุญมาก 11,965 104 9 23 แก ้งสนามนาง 7,174 56 5 24 โนนแดง 3,844 57 5 25 วังนํ. าเขียว 6,426 83 5 26 เมืองยาง 5,364 46 4 27 เทพารักษ์ 4,364 59 4 28 พระทองคํา 7,051 72 5 29 ลําทะเมนชัย 4,875 53 4 30 เฉลิมพระเกียรติ 6,486 53 5 31 สีดา 3,499 44 5 32 บัวลาย 3,948 43 4 รวม 388,503 3,604 285 หมายเหตุ พืนทีจัดเก็บข้อมูล จปฐ. เฉพาะในเขตชนบทเท่านัน รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 19. 15 ตารางที 2 แสดงจํานวนประชากร ชาย - หญิง ปี 2554 ของจังหวัดนครราชสี มา จํานวน ที อําเภอเมือง รวม ชาย หญิง 1 เมือง 66,688 70,355 137,043 2 คง 22,257 23,507 45,764 3 ครบุรี 27,551 27,488 55,039 4 จักราช 25,088 25,086 50,174 5 โชคชัย 21,174 22,226 43,400 6 ชุมพวง 23,467 24,219 47,686 7 ด่านขุนทด 39,875 39,780 79,655 8 โนนไทย 20,324 21,282 41,606 9 บัวใหญ่ 20,440 21,821 42,261 10 โนนสูง 37,978 39,754 77,732 11 ปั กธงชัย 34,843 37,096 71,939 12 ปากช่อง 46,320 46,302 92,622 13 พิมาย 39,648 41,288 80,936 14 สีควิ. 30,980 30,766 61,746 15 สูงเนิน 24,574 25,846 50,420 16 ประทาย 22,529 24,228 46,757 17 ห ้วยแถลง 22,798 23,329 46,127 18 ขามทะเลสอ 8,959 9,171 18,130 19 ขามสะแกแสง 10,014 10,264 20,278 20 เสิงสาง 19,098 18,976 38,074 21 บ ้านเหลือม 4 5,773 5,760 11,533 22 หนองบุญมาก 23,601 22,955 46,556 23 แก ้งสนามนาง 14,455 14,624 29,079 24 โนนแดง 6,321 6,975 13,296 25 วังนํ. าเขียว 11,417 11,484 22,901 26 เมืองยาง 8,501 8,867 17,368 27 เทพารักษ์ 7,336 6,568 13,904 28 พระทองคํา 11,577 11,756 23,333 29 ลําทะเมนชัย 8,461 8,975 17,436 30 เฉลิมพระเกียรติ 11,843 12,310 24,153 31 สีดา 5,644 6,100 11,744 32 บัวลาย 7,076 7,401 14,477 รวม 686,610 706,559 1,393,169 หมายเหตุ จํานวนประชากรเฉพาะในเขตชนบทเท่านัน รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 20. 16 ตารางที 3 แสดงรายได้เฉลียต่อคนต่อปี เรี ยงลําดับจากน้อยไปหามาก ลําด ับที อําเภอ รายได้เฉลียต่อคนต่อปี (บาท) 1 จักราช 47,238.50 2 เฉลิมพระเกียรติ 48,245.88 3 โนนแดง 48,455.12 4 โนนสูง 48,487.96 5 ชุมพวง 48,809.61 6 โนนไทย 49,896.71 7 เทพารักษ์ 49,946.09 8 ห ้วยแถลง 50,207.99 9 ลําทะเมนชัย 50,775.85 10 ปั กธงชัย 51,969.08 11 ประทาย 52,595.71 12 บัวใหญ่ 52,751.96 13 เมืองยาง 52,947.19 14 ขามสะแกแสง 54,017.30 15 บัวลาย 54,270.79 16 ด่านขุนทด 54,470.90 17 เสิงสาง 54,639.69 18 พระทองคํา 54,974.50 19 พิมาย 55,028.60 20 ขามทะเลสอ 55,821.13 21 ครบุรี 55,864.80 22 สีดา 56,236.74 23 บ ้านเหลือม 4 56,401.47 24 คง 56,660.00 25 สีควิ. 57,458.63 26 สูงเนิน 58,421.68 27 โชคชัย 58,490.28 28 หนองบุนนาก 58,864.87 29 วังนํ. าเขียว 58,954.06 30 แก ้งสนามนาง 59,458.74 31 เมืองนครราชสีมา 61,723.23 32 ปากช่อง 67,292.17 ่ 2 เฉลียรายได้ตอคนต่อปี ของคนในพืนที 55,388.31 หมายเหตุ จํานวนประชากรเฉพาะในเขตชนบทเท่านัน รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 21. 17 ตารางที 4 แสดงจํานวนครัวเรื อนทีมีรายได้เฉลียตํากว่า 23,000 บาท ต่อคนต่อปี ที อําเภอเมือง จํานวน(คร.) 1 เมือง 23 2 คง 48 3 ครบุรี 53 4 จักราช 5 5 โชคชัย 54 6 ชุมพวง 64 7 ด่านขุนทด 196 8 โนนไทย 67 9 บัวใหญ่ 75 10 โนนสูง 242 11 ปั กธงชัย 55 12 ปากช่อง 77 13 พิมาย 18 14 สีควิ. 27 15 สูงเนิน 31 16 ประทาย 70 17 ห ้วยแถลง 6 18 ขามทะเลสอ 27 19 ขามสะแกแสง 13 20 เสิงสาง 66 21 บ ้านเหลือม 4 28 22 หนองบุญมาก 77 23 แก ้งสนามนาง 5 24 โนนแดง 10 25 วังนํ. าเขียว 38 26 เมืองยาง 31 27 เทพารักษ์ 8 28 พระทองคํา 103 29 ลําทะเมนชัย 38 30 เฉลิมพระเกียรติ 28 31 สีดา 3 32 บัวลาย 19 รวม 1,605 รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 22. 18 ตารางที 5 สรุ ปรายรับ – รายจ่าย จากบัญชีครัวเรื อน พ.ศ. BDDM จํานวนเงินรวม เฉลียต่อ คร. เฉลียต่อคน ประเภทรายจ่าย (บาท/ปี ) (บาท/คร./ปี ) (บาท/คน/ปี ) 1)รายร ับจากบ ัญชีคร ัวเรือน 72,705,779,063.16 187,143.42 52,187.34 2)รายจ่ายจากบ ัญชีคร ัวเรือน (2.1)รายจ่ายทีเป็ นต ้นทุนการผลิต 4 (2.2.1)ค่าพันธุพช/สัตว์ ์ ื 4,628,587,922.97 11,913.91 3,322.34 (2.1.2)ค่าสารเคมีเพือการผลิต 4 7,352,369,635.89 18,924.87 5,277.44 (ปุย ยาฆ่าแมลง ฯลฯ) ๋ (2.1.3)ค่าจ ้าง/ค่าแรงงาน/ค่าเช่า 7,334,420,972.75 18,878.67 5,264.56 (2.1.4)ค่าเครืองจักรต่างๆ ค่านํ. ามัน 4 6,302,398,153.39 16,222.26 4,523.79 และอืนๆ 4 รวมรายจ่ายต้นทุนการผลิตทงหมด ั2 25,617,776,685.00 65,939.71 18,388.13 (2.2)การทําสวน (2.2.1)ค่าอาหาร (1)ค่าใช ้จ่ายเพือซือข ้าวสาร 4 . 6,159,300,322.85 15,853.93 4,421.07 (2) ค่าใช ้จ่ายเพือซืออาหารทีจําเป็ น 4 . 4 27,200,745,595.39 70,014.25 19,524.37 (เช่น เนือสัตว์ ไข่ ผัก ฯลฯ) . (3) ค่าใช ้จ่ายเพือซือขนมกินเล่น ขนม 4 . 15,649,167,352.45 40,280.69 11,232.78 กรุบกรอบ ฯลฯ รวมค่าอาหาร 49,009,213,270.69 126,148.87 35,178.23 (2.2.2)ค่าใช ้จ่ายเกียวกับเสือผ ้า เครือง 4 . 4 2,318,683,012.83 5,968.25 1,664.32 แต่งกาย (2.2.3)ค่าใช ้จ่ายเกียวกับทีอยู่อาศัย 4 4 1,145,245,295.50 2,947.84 822.04 (2.2.4) ค่ารักษาพยาบาล ค่ายา 797,432,547.76 2,052.58 572.39 (2.2.5) ค่าใช ้จ่ายด ้านการศึกษา 2,679,135,716.28 6,896.05 1,923.05 (2.2.6) ค่าการเดินทาง (ค่านํ. ามันรถ 8,131,605,514.12 20,930.61 5,836.77 ค่าโดยสาร) (2.2.7) ค่านํ. า ค่าไฟ 4,644,018,511.23 11,953.62 3,333.42 (2.2.8) ค่าโทรศัพท์ โทรศัพท์มอถือ ื 8,142,374,923.39 20,958.33 5,844.50 บัตรเติมเงิน (2.2.9) ค่าใช ้จ่ายส่วนบุคคล (สบู่ ยาสี 7,364,214,819.74 18,955.36 5,285.95 ฟั น ฯลฯ) (2.2.10) ค่าบันเทิง หวย และการพนัน 897,497,458.42 2,310.14 644.21 (2.1.11) ค่าบุหรี4 เหล ้า ยาดอง 3,571,144,906.85 9,192.07 2,563.32 (2.1.12) ค่าใช ้จ่ายอืนๆ 4 5,520,537,198.89 14,209.77 3,962.58 รวมรายจ่ายในการอุปโภคบริโภค 94,221,103,175.70 242,523.49 67,630.78 ทงหมด ั2 รวมรายจ่าย 119,838,879,860.70 308,463.20 86,018.91 2 ิ 3) หนีสนจากบ ัญชีคร ัวเรือน 14,844,123,827.60 38,208.52 10,654.93 4) เงินออมจากบ ัญชีคร ัวเรือน 13,100,660,549.41 33,720.87 9,403.50 รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ
  • 23. 15 10 5 0 ผลการสํารวจขอมูล จปฐ. รายตัวชี้วัด ประจําป 2554
  • 24. 20 ตัวชี วัดที หญิ งตังครรภ์ได้รับการดู แลก่อนคลอดตามเกณฑ์บริ การและฉี ดวัคซี นครบ ตามเกณฑ์ในภาพรวมจังหวัดนครราชสี มา พบว่า หญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด ตามเกณฑ์ บริ การ (คือในช่วง ) เดือนแรก ไปตรวจครรภ์อย่างน้อย , ครัง ในช่วง - เดือนขึนไป ไปตรวจครรภ์ ํ อย่างน้อยเดือนละ , ครัง) และได้รับการฉี ดวัคซี นครบตามเกณฑ์ (คือการได้รับวัคซี นตามที2กาหนด ไว้ในตารางสร้างเสริ มภูมิคุมกันโรค) ผ่านเกณฑ์จานวน 11,960 คน คิดเป็ นร้อยละ ==.= จากจํานวน ้ ํ ่ หญิงตังครรภ์ที2สํารวจทังหมด 11,971 คน ไม่ผานเกณฑ์ 11 คน ซึ2 งตํ2ากว่าเป้ าหมายร้อยละ @., ผล ่ การสํารวจถือว่าไม่ผานเกณฑ์เป้ าหมาย ปี พ.ศ. หญิงตังครรภ์ทงหมด(คน) ผ่านเกณฑ์(คน) ตกเกณฑ์(คน) ั ร้อยละ เป้ าหมาย 2553 11,734 11,720 14 99.9 100 2554 11,971 11,960 11 99.9 100 ั ่ แผนภูมิที แสดงอัตราส่ วนของจํานวนที2ยงไม่ผานเกณฑ์ทงหมดของจังหวัดนครราชสี มา ั รายงานคุณภาพชีวตของประชาชน จังหวัดนครราชสีมา ประจําปี 2554 ิ