SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 25
Downloaden Sie, um offline zu lesen
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
Derivative of Function
สาขาอุตสาหกรรมศิลป์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
• " อนุพันธ์ของฟังก์ชัน " นิยมใช้ในทางวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์
และงานทางด้านคอมพิวเตอร์ อย่างแพร่หลาย ในบทนี้จะศึกษาแนวคิดของอนุพันธ์
ในเชิงเรขาคณิต อัตราการเปลี่ยนแปลง การใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ในการหาคาตอบ
และการนาไปประยุกต์ใช้ในงานทางด้านอุตสาหกรรม
นิยาม : การหาความชันและเส้นสัมผัส
• ถ้า 𝑦 − 𝑓 𝑎 = lim
ℎ→0
𝑓 𝑎+ℎ −𝑓 𝑎
ℎ
. 𝑥 − 𝑎 เป็น
สมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้งที่จุด 𝑃(𝑥, 𝑦) ใดๆ จะเป็นเส้นตรงที่ผ่าน
จุด 𝑃 และมีความชันเท่ากับ lim
ℎ→0
𝑓 𝑎+ℎ −𝑓(𝑎)
ℎ
(ถ้าลิมิตหาค่าได้)
ความชันของเส้นโค้ง ณ.จุด 𝑃(𝑥, 𝑦) หมายถึงความชันของเส้นสัมผัส
เส้นโค้ง ณ. จุด 𝑃
ตัวอย่างที่ 1 ให้ 𝑓 𝑥 = 2𝑥2
+ 1 จงหาความชันของฟังก์ชันที่ x = 5
จาก 𝑓 𝑎 + ℎ = 2(𝑎 + ℎ)2
+1
𝑓 𝑎 = 2𝑎2
+ 1
lim
ℎ→0
𝑓 𝑎 + ℎ − 𝑓(𝑎)
ℎ
= lim
ℎ→0
2 𝑎 + ℎ 2
+ 1 − 2𝑎2
− 1
ℎ
= lim
ℎ→0
2𝑎2+4𝑎ℎ+2ℎ2+1−2𝑎2−1
ℎ
= lim
ℎ→0
4𝑎 + 2ℎ
= 4𝑎
ดังนั้น ความชันที่ของฟังก์ชันที่ (x = 5) เท่ากับ 4 (5) = 20
ตัวอย่างที่ 2 จงหาสมการเส้นสัมผัสสมการเส้นสัมผัสสมการเส้นสัมผัสเส้นโค้ง 𝑓 𝑥 = 𝑥 + 1 ที่ x=8
จาก 𝑓 𝑎 + ℎ = 𝑎 + ℎ + 1
𝑓 𝑎 = 𝑎 + 1 = 8 + 1 = 3
lim
ℎ→0
𝑓 𝑎 + ℎ − 𝑓(𝑎)
ℎ
= lim
ℎ→0
𝑎 + ℎ + 1 − 𝑎 + 1
ℎ
= lim
ℎ→0
8+ℎ +1− 8+1
ℎ
= lim
ℎ→0
9+ℎ−3
ℎ
= lim
ℎ→0
9+ℎ−3
ℎ
×
9+ℎ+3
9+ℎ+3
lim
ℎ→0
𝑓 𝑎 + ℎ − 𝑓(𝑎)
ℎ
= lim
ℎ→0
9 + ℎ
2
− 3 2
ℎ 9 + ℎ + 3
= lim
ℎ→0
9+ℎ−9
ℎ 9+ℎ+3
= lim
ℎ→0
ℎ
ℎ 9+ℎ+3
= lim
ℎ→0
1
9+ℎ+3
=
1
6
ดังนั้น ความชันเส้นสัมผัสเส้นโค้ง มีค่าเท่ากับ
1
6
สมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง (8,3) คือ
𝑦 − 𝑓 𝑎 = lim
ℎ→0
𝑓 𝑎 + ℎ − 𝑓 𝑎
ℎ
. 𝑥 − 𝑎
𝑦 − 3 =
1
6
𝑥 − 8
6 𝑦 − 3 = 𝑥 − 8
6𝑦 − 18 = 𝑥 − 8
𝑥 − 8 + 6𝑦 + 18 = 0
𝑥 + 6𝑦 + 10 = 0
นิยาม : อัตราการเปลี่ยนแปลง
ถ้ากาหนด 𝑦 = 𝑓(𝑥) มีจุด 𝑃(𝑥1, 𝑓 𝑥1 ) และจุด
𝑄(𝑥2, 𝑓 𝑥2 ) อยู่บนกราฟของฟังก์ชันแล้ว ความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุด P และ
Q คือ
𝑓 𝑥2 −𝑓 𝑥1
𝑥2−𝑥1
เรียกอัตราส่วนนี้ว่า อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ
x เมื่อค่าของ x เปลี่ยนจาก 𝑥1 เป็น 𝑥2 นิยามได้ดังนี้
𝑓 𝑥2 − 𝑓 𝑥1
𝑥2 − 𝑥1
ตัวอย่างที่ 3 จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของเส้นรวบวงของวงกลม เทียบกับรัศมี เมื่อรัศมีเปลี่ยน
จาก 5 เซนติเมตร เป็น 8 เซนติเมตร
สูตรหาเส้นรอบวงของวงกลม คือ 2𝜋𝑟 กาหนดให้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็นความสัมพันธ์
ระหว่างเส้นรอบวงของวงกลม (y) กับรัศมีวงกลม (x) จะได้สมการ 𝑓(𝑥) = 2𝜋𝑥
𝑓 𝑥2 − 𝑓 𝑥1
𝑥2 − 𝑥1
=
2𝜋 8 − 2𝜋 5
8 − 5
=
16𝜋 − 10𝜋
3
=
6𝜋
3
= 2𝜋
ดังนั้นอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของเส้นรอบวงกลม เทียบกับรัศมี เมื่อรัศมีเปลี่ยนจาก 5
เซนติเมตร เป็น 8 เซนติเมตร คือ 2𝜋 เซนติเมตร/เซนติเมตร
ตัวอย่างที่ 4 ความยาวด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเปลี่ยนจาก 10 เซนติเมตร เป็น 12 เซนติเมตร จงหาอัตราการ
เปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเทียบกับความยาวของด้าน
ให้ 𝑓(𝑥) แทนพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านเท่ากับ x
∴ 𝑓(𝑥) = 𝑥2
อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเทียบกับความยาวด้านที่เปลี่ยนไปคือ
𝑓 𝑥2 − 𝑓 𝑥1
𝑥2 − 𝑥1
=
12 2
− 10 2
12 − 10
=
144 − 100
2
= 22 ตารางเซนติเมตร/เซนติเมตร
ดังนั้นอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเทียบกับความยาวของด้าน เท่ากับ 22
ตารางเซนติเมตร/เซนติเมตร
นิยาม : อัตราการเปลี่ยนแปลง ขณะที่ x=a
อัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เทียบกับ x ขณะใดๆ หมายถึงอัตราการ
เปลี่ยนแปลงเมื่อค่า x เปลี่ยนแปลงไปน้อยมาก จึงต้องใช้ลิมิตช่วยในการหาคาตอบ โดย
𝑥1 = 𝑎 มีค่าใดๆ กาหนดให้ค่าของ𝑥2 = 𝑎 + ℎ ให้ h มีค่าน้อยมากๆจน
เข้าใกล้ 0
𝑙𝑖𝑚
ℎ→0
𝑓 𝑎 + ℎ − 𝑓(𝑎)
𝑎 + ℎ − 𝑎
= 𝑙𝑖𝑚
ℎ→0
𝑓 𝑎 + ℎ − 𝑓(𝑎)
ℎ
ตัวอย่างที่ 5 กาหนดให้ 𝑓 𝑥 = 2𝜋𝑥 จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลง ขณะที่ x=2
𝑓 𝑎 = 2𝜋𝑎 = 4𝜋
𝑓 𝑎 + ℎ = 2𝜋(𝑎 + ℎ) = 2𝜋 2 + ℎ
𝑙𝑖𝑚
ℎ→0
𝑓 𝑎 + ℎ − 𝑓(𝑎)
ℎ
= lim
ℎ→0
2𝜋 2 + ℎ − 4𝜋
ℎ
= lim
ℎ→0
4𝜋 + 2𝜋ℎ − 4𝜋
ℎ
= lim
ℎ→0
2𝜋 = 2𝜋
ดังนั้นอัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เทียบกับ x ขณะที่ x=2 คือ 2𝜋 เซนติเมตร/เซนติเมตร
การหาอนุพันธ์โดยใช้สูตร (Derivative Formula)
ในบางครั้งการหาอนุพันธ์โดยใช้ทฤษฎีของลิมิต ค่อนข้างทาได้ยาก จึงมีการ
สร้างสูตรสาหรับหาค่าของอนุพันธ์ขึ้นมาจากนิยาม คือ เมื่อให้ f เป็นฟังก์ชันที่มี x เป็นตัว
แปรอิสระและ y เป็นตัวแปรตาม f เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ที่ x ใดๆก็ต่อเมื่อ
𝑙𝑖𝑚
ℎ→0
𝑓 𝑎+ℎ −𝑓(𝑎)
ℎ
สามารถนิยามอนุพันธ์ของฟังก์ชัน ที่ x=a เป็นสัญลักษณ์
𝑓′
𝑎 ,
𝑑𝑦
𝑑𝑥 𝑥=𝑎
,
𝑑𝑓(𝑥)
𝑑𝑥 𝑥=𝑎
จากนิยามจะได้ว่า 𝑓′ 𝑎 = 𝑙𝑖𝑚
ℎ→0
𝑓 𝑎+ℎ −𝑓(𝑎)
ℎ
การอ่านสัญลักษณ์ 𝑓′ 𝑥 อ่านว่า เอฟไพร์มของเอกซ์
𝑑𝑦
𝑑𝑥 𝑥=𝑎
อ่านว่า ดีวายบายดีเอกซ์โดยที่เอกซ์เท่ากับเอ
𝑑𝑓(𝑥)
𝑑𝑥 𝑥=𝑎
อ่านว่า ดีเอฟของเอกซ์บายดีเอกซ์โดย
ที่เอกซ์เท่ากับเอ
สูตรอนุพันธ์ differential ที่นิยมใช้
1.
𝑑𝑐
𝑑𝑥
= 0 2.
𝑑 𝑥 𝑛
𝑑𝑥
= 𝑛𝑥 𝑛−1
3.
𝑑
𝑑𝑥
𝑓 + 𝑔 =
𝑑𝑓
𝑑𝑥
+
𝑑𝑔
𝑑𝑥
4.
𝑑
𝑑𝑥
𝑓)(𝑔 = 𝑓
𝑑𝑔
𝑑𝑥
+ 𝑔
𝑑𝑓
𝑑𝑥
5.
𝑑
𝑑𝑥
𝑓
𝑔
=
𝑔
𝑑𝑓
𝑑𝑥
−𝑓
𝑑𝑔
𝑑𝑥
𝑔2 6.
𝑑
𝑑𝑥
𝑢 𝑛
= 𝑛𝑢 𝑛−1 𝑑𝑢
𝑑𝑥
7.
𝑑
𝑑𝑥
ln 𝑥 =
1
𝑥
8.
𝑑
𝑑𝑥
𝑒 𝑥
= 𝑒 𝑥
สูตรอนุพันธ์ differential ที่นิยมใช้
9.
𝑑
𝑑𝑥
log 𝑎 𝑥 =
1
𝑥 ln 𝑎
10.
𝑑
𝑑𝑥
sin 𝑥 = cos 𝑥
11.
𝑑
𝑑𝑥
cos 𝑥 = − sin 𝑥 12.
𝑑
𝑑𝑥
tan 𝑥 = 𝑠𝑒𝑐2 𝑥
13.
𝑑
𝑑𝑥
𝑎𝑟𝑐 sin 𝑥 =
1
1−𝑥2
14.
𝑑
𝑑𝑥
𝑎𝑟𝑐 cos 𝑥 = −
1
1−𝑥2
15.
𝑑
𝑑𝑥
𝑎𝑟𝑐 tan 𝑥 =
1
1+𝑥2
ตัวอย่างที่ 6 กาหนดให้ 𝑓 𝑥 = 𝑥4 + 𝑥2 จงหา 𝑓′(𝑥)
𝑓 𝑥 = 𝑥4
+ 𝑥2
𝑑
𝑑𝑥
𝑓 𝑥 =
𝑑
𝑑𝑥
𝑥4
+
𝑑
𝑑𝑥
𝑥2
ใช้สูตร
𝑑 𝑥 𝑛
𝑑𝑥
= 𝑛𝑥 𝑛−1
𝑑
𝑑𝑥
𝑓 𝑥 = 4𝑥4−1 + 2𝑥2−1
= 4𝑥3 + 2𝑥
ดังนั้น 𝑓′
𝑥 เท่ากับ 4𝑥3
+ 2𝑥
ตัวอย่างที่ 7 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน 𝑦 = 𝑥2 − 2𝑥 + 3 2𝑥 + 5
𝑦 = 𝑥2 − 2𝑥 + 3 2𝑥 + 5
𝑑𝑦
𝑑𝑥
=
𝑑
𝑑𝑥
𝑥2
− 2𝑥 + 3 2𝑥 + 5
ใช้สูตร
𝑑
𝑑𝑥
𝑓)(𝑔 = 𝑓
𝑑𝑔
𝑑𝑥
+ 𝑔
𝑑𝑓
𝑑𝑥
กาหนดให้ 𝑓 = 𝑥2
− 2𝑥 + 3 และ 𝑔 = 2𝑥 + 5
𝑑𝑦
𝑑𝑥
= (𝑥2−2𝑥 + 3)
𝑑
𝑑𝑥
2𝑥 + 5 + 2𝑥 + 5
𝑑
𝑑𝑥
𝑥2 − 2𝑥 + 3
= (𝑥2−2𝑥 + 3)(2) + 2𝑥 + 5 (2𝑥 − 2)
= 2𝑥2 − 4𝑥 + 6 + 4𝑥2 − 4𝑥 + 10𝑥 − 10
= 6𝑥2 + 2𝑥 − 4
ดังนั้น อนุพันธ์ของ 𝑦 = 𝑥2
− 2𝑥 + 3 2𝑥 + 5 เท่ากับ
6𝑥2 + 2𝑥 − 4
ตัวอย่างที่ 8 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน 𝑓 𝑥 =
𝑥2−1
𝑥+2
ใช้สูตร
𝑑
𝑑𝑥
𝑓
𝑔
=
𝑔
𝑑𝑓
𝑑𝑥
−𝑓
𝑑𝑔
𝑑𝑥
𝑔2 โดยที่ 𝑓 = 𝑥2 − 1 𝑔 = 𝑥 + 2
แทนค่าลงในสูตร
𝑑
𝑑𝑥
𝑓
𝑔
=
𝑥+2
𝑑
𝑑𝑥
𝑥2−1 − 𝑥2−1
𝑑
𝑑𝑥
𝑥+2
𝑥+2 2
=
𝑥+2 2𝑥 − 𝑥2−1 1
𝑥+2 2
=
𝑥2 + 4𝑥 + 1
𝑥 + 2 2
ดังนั้นคาตอบของอนุพันธ์ คือ
𝑥2+4𝑥+1
𝑥+2 2
ตัวอย่างที่ 9 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน 𝑓(𝑥) =
3
10
𝑙𝑛 8 + 5𝑥2
ใช้สูตร
𝑑
𝑑𝑢
ln 𝑢 =
1
𝑢
𝑑𝑢
𝑑𝑥
𝑑
𝑑𝑢
3
10
𝑙𝑛 8 + 5𝑥2 =
3
10
𝑑
𝑑𝑢
𝑙𝑛 8 + 5𝑥2
=
3
10
1
8 + 5𝑥2
𝑑
𝑑𝑥
8 + 5𝑥2
=
3
10
1
8 + 5𝑥2
10𝑥
=
30𝑥
80 + 50𝑥2
ดังนั้นคาตอบของอนุพันธ์ คือ
30𝑥
80+50𝑥2
ฟังก์ชันหลายตัวแปรและอนุพันธ์ย่อย
• ถ้ากาหนดให้ Z เป็นฟังก์ชันของสองตัวแปรอิสระ X และ Y เขียนในรูป
ของ 𝑍 = 𝑓 𝑥, 𝑦 กาหนดให้ y เป็นค่าคงตัวชั่วขณะแล้วฟังก์ชัน
𝑍 = 𝑓 𝑥, 𝑦 ก็จะเป็นฟังก์ชันของตัวแปร X เท่านั้น สามารถหา
อนุพันธ์ของ Z เทียบกับตัวแปร X ได้ และเรียกอนุพันธ์นี้ว่า อนุพันธ์ย่อย
ของ Z เทียบกับ X
นิยาม : ให้ 𝑍 = 𝑓 𝑥, 𝑦 เป็นฟังก์ชันของสองตัวแปรอิสระ x
และ y อนุพันธ์ย่อยของ Z หรือ 𝑓 𝑥, 𝑦 เทียบกับ x เขียนแทนด้วย
สัญลักษณ์
𝜕𝑧
𝜕𝑥
หรือ
𝜕𝑓
𝜕𝑥
𝑥, 𝑦 โดยที่
𝜕𝑧
𝜕𝑥
= lim
ℎ→0
𝑓 𝑥+ℎ,𝑦 −𝑓 𝑥,𝑦
ℎ
(ถ้าลิมิตหาค่าได้)
หมายเหตุ เรียกสัญลักษณ์ 𝜕 (Curl) ว่า เครื่องหมายอนุพันธ์ย่อย
ตัวอย่างที่ 10 กาหนดให้ 𝑧 = 𝑥4
− 10𝑥𝑦2
+ 𝑦 จงหา
𝜕𝑧
𝜕𝑥
วิธีทา จาก 𝑧 = 𝑥4
− 10𝑥𝑦2
+ 𝑦
𝜕𝑧
𝜕𝑥
=
𝜕
𝜕𝑥
𝑥4
− 10𝑥𝑦2
+ 𝑦
=
𝜕
𝜕𝑥
𝑥4 −
𝜕
𝜕𝑥
10𝑥𝑦2 +
𝜕
𝜕𝑥
𝑦
= 4𝑥3
− 10𝑦2
+ 0
= 4𝑥3
− 10𝑦2
ตัวอย่างที่ 11 กาหนดให้ 𝑓 𝑥, 𝑦 = 2𝑥3
𝑦2
+ 6𝑥 + 2𝑦 จงหา 𝑓𝑥 1,3
วิธีทา จาก 𝑓 𝑥, 𝑦 = 2𝑥3
𝑦2
+ 6𝑥 + 2𝑦
𝑓𝑥 =
𝜕
𝜕𝑥
2𝑥3 𝑦2 + 6𝑥 + 2𝑦
=
𝜕
𝜕𝑥
2𝑥3
𝑦2
+
𝜕
𝜕𝑥
6𝑥 +
𝜕
𝜕𝑥
2𝑦
= 6𝑥2 𝑦2 + 6 + 0
= 6𝑥2 𝑦2 + 6
แทนค่า x=1 และ y=3 ในอนุพันธ์ย่อยที่ได้จะได้
𝑓𝑥 1,3 = 6 1 2 3 2 + 6
= 60

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์IzmHantha
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...yindee Wedchasarn
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 

Was ist angesagt? (20)

เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
 
ปริพันธ์
ปริพันธ์ปริพันธ์
ปริพันธ์
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

Ähnlich wie อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่4.pdf
บทที่4.pdfบทที่4.pdf
บทที่4.pdfsewahec743
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังNiwat Namisa
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558ครู กรุณา
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005CUPress
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005CUPress
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)kroojaja
 
ลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & Seriesลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & SeriesChomsurangUpathamSchool
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557Tonson Lalitkanjanakul
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 sensehaza
 
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชันsawed kodnara
 
9789740331131
97897403311319789740331131
9789740331131CUPress
 

Ähnlich wie อนุพันธ์ของฟังก์ชัน (20)

อินทิกรัลของฟังก์ชัน
อินทิกรัลของฟังก์ชันอินทิกรัลของฟังก์ชัน
อินทิกรัลของฟังก์ชัน
 
Pat1;61
Pat1;61Pat1;61
Pat1;61
 
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
บทที่4.pdf
บทที่4.pdfบทที่4.pdf
บทที่4.pdf
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 
112
112112
112
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
 
Pat15412
Pat15412Pat15412
Pat15412
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 
ลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & Seriesลำดับและอนุกรม Sequences & Series
ลำดับและอนุกรม Sequences & Series
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
9789740331131
97897403311319789740331131
9789740331131
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 

Mehr von CC Nakhon Pathom Rajabhat University

การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 

Mehr von CC Nakhon Pathom Rajabhat University (20)

ภาษา php
ภาษา phpภาษา php
ภาษา php
 
ภาษา java sript
ภาษา java sriptภาษา java sript
ภาษา java sript
 
session cookies
session cookiessession cookies
session cookies
 
ภาษา css
ภาษา cssภาษา css
ภาษา css
 
ภาษา xhtml
ภาษา xhtmlภาษา xhtml
ภาษา xhtml
 
ภาษา html5
ภาษา html5ภาษา html5
ภาษา html5
 
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
 
Entity Relationship
Entity RelationshipEntity Relationship
Entity Relationship
 
แบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบแบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบ
 
การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2
 
การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
 

อนุพันธ์ของฟังก์ชัน

  • 2. อนุพันธ์ของฟังก์ชัน • " อนุพันธ์ของฟังก์ชัน " นิยมใช้ในทางวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และงานทางด้านคอมพิวเตอร์ อย่างแพร่หลาย ในบทนี้จะศึกษาแนวคิดของอนุพันธ์ ในเชิงเรขาคณิต อัตราการเปลี่ยนแปลง การใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ในการหาคาตอบ และการนาไปประยุกต์ใช้ในงานทางด้านอุตสาหกรรม
  • 3. นิยาม : การหาความชันและเส้นสัมผัส • ถ้า 𝑦 − 𝑓 𝑎 = lim ℎ→0 𝑓 𝑎+ℎ −𝑓 𝑎 ℎ . 𝑥 − 𝑎 เป็น สมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้งที่จุด 𝑃(𝑥, 𝑦) ใดๆ จะเป็นเส้นตรงที่ผ่าน จุด 𝑃 และมีความชันเท่ากับ lim ℎ→0 𝑓 𝑎+ℎ −𝑓(𝑎) ℎ (ถ้าลิมิตหาค่าได้) ความชันของเส้นโค้ง ณ.จุด 𝑃(𝑥, 𝑦) หมายถึงความชันของเส้นสัมผัส เส้นโค้ง ณ. จุด 𝑃
  • 4. ตัวอย่างที่ 1 ให้ 𝑓 𝑥 = 2𝑥2 + 1 จงหาความชันของฟังก์ชันที่ x = 5 จาก 𝑓 𝑎 + ℎ = 2(𝑎 + ℎ)2 +1 𝑓 𝑎 = 2𝑎2 + 1 lim ℎ→0 𝑓 𝑎 + ℎ − 𝑓(𝑎) ℎ = lim ℎ→0 2 𝑎 + ℎ 2 + 1 − 2𝑎2 − 1 ℎ = lim ℎ→0 2𝑎2+4𝑎ℎ+2ℎ2+1−2𝑎2−1 ℎ = lim ℎ→0 4𝑎 + 2ℎ = 4𝑎 ดังนั้น ความชันที่ของฟังก์ชันที่ (x = 5) เท่ากับ 4 (5) = 20
  • 5. ตัวอย่างที่ 2 จงหาสมการเส้นสัมผัสสมการเส้นสัมผัสสมการเส้นสัมผัสเส้นโค้ง 𝑓 𝑥 = 𝑥 + 1 ที่ x=8 จาก 𝑓 𝑎 + ℎ = 𝑎 + ℎ + 1 𝑓 𝑎 = 𝑎 + 1 = 8 + 1 = 3 lim ℎ→0 𝑓 𝑎 + ℎ − 𝑓(𝑎) ℎ = lim ℎ→0 𝑎 + ℎ + 1 − 𝑎 + 1 ℎ = lim ℎ→0 8+ℎ +1− 8+1 ℎ = lim ℎ→0 9+ℎ−3 ℎ = lim ℎ→0 9+ℎ−3 ℎ × 9+ℎ+3 9+ℎ+3
  • 6. lim ℎ→0 𝑓 𝑎 + ℎ − 𝑓(𝑎) ℎ = lim ℎ→0 9 + ℎ 2 − 3 2 ℎ 9 + ℎ + 3 = lim ℎ→0 9+ℎ−9 ℎ 9+ℎ+3 = lim ℎ→0 ℎ ℎ 9+ℎ+3 = lim ℎ→0 1 9+ℎ+3 = 1 6 ดังนั้น ความชันเส้นสัมผัสเส้นโค้ง มีค่าเท่ากับ 1 6
  • 7. สมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง (8,3) คือ 𝑦 − 𝑓 𝑎 = lim ℎ→0 𝑓 𝑎 + ℎ − 𝑓 𝑎 ℎ . 𝑥 − 𝑎 𝑦 − 3 = 1 6 𝑥 − 8 6 𝑦 − 3 = 𝑥 − 8 6𝑦 − 18 = 𝑥 − 8 𝑥 − 8 + 6𝑦 + 18 = 0 𝑥 + 6𝑦 + 10 = 0
  • 8. นิยาม : อัตราการเปลี่ยนแปลง ถ้ากาหนด 𝑦 = 𝑓(𝑥) มีจุด 𝑃(𝑥1, 𝑓 𝑥1 ) และจุด 𝑄(𝑥2, 𝑓 𝑥2 ) อยู่บนกราฟของฟังก์ชันแล้ว ความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุด P และ Q คือ 𝑓 𝑥2 −𝑓 𝑥1 𝑥2−𝑥1 เรียกอัตราส่วนนี้ว่า อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x เมื่อค่าของ x เปลี่ยนจาก 𝑥1 เป็น 𝑥2 นิยามได้ดังนี้ 𝑓 𝑥2 − 𝑓 𝑥1 𝑥2 − 𝑥1
  • 9. ตัวอย่างที่ 3 จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของเส้นรวบวงของวงกลม เทียบกับรัศมี เมื่อรัศมีเปลี่ยน จาก 5 เซนติเมตร เป็น 8 เซนติเมตร สูตรหาเส้นรอบวงของวงกลม คือ 2𝜋𝑟 กาหนดให้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็นความสัมพันธ์ ระหว่างเส้นรอบวงของวงกลม (y) กับรัศมีวงกลม (x) จะได้สมการ 𝑓(𝑥) = 2𝜋𝑥 𝑓 𝑥2 − 𝑓 𝑥1 𝑥2 − 𝑥1 = 2𝜋 8 − 2𝜋 5 8 − 5 = 16𝜋 − 10𝜋 3 = 6𝜋 3 = 2𝜋 ดังนั้นอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของเส้นรอบวงกลม เทียบกับรัศมี เมื่อรัศมีเปลี่ยนจาก 5 เซนติเมตร เป็น 8 เซนติเมตร คือ 2𝜋 เซนติเมตร/เซนติเมตร
  • 10. ตัวอย่างที่ 4 ความยาวด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเปลี่ยนจาก 10 เซนติเมตร เป็น 12 เซนติเมตร จงหาอัตราการ เปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเทียบกับความยาวของด้าน ให้ 𝑓(𝑥) แทนพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านเท่ากับ x ∴ 𝑓(𝑥) = 𝑥2 อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเทียบกับความยาวด้านที่เปลี่ยนไปคือ 𝑓 𝑥2 − 𝑓 𝑥1 𝑥2 − 𝑥1 = 12 2 − 10 2 12 − 10 = 144 − 100 2 = 22 ตารางเซนติเมตร/เซนติเมตร ดังนั้นอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเทียบกับความยาวของด้าน เท่ากับ 22 ตารางเซนติเมตร/เซนติเมตร
  • 11. นิยาม : อัตราการเปลี่ยนแปลง ขณะที่ x=a อัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เทียบกับ x ขณะใดๆ หมายถึงอัตราการ เปลี่ยนแปลงเมื่อค่า x เปลี่ยนแปลงไปน้อยมาก จึงต้องใช้ลิมิตช่วยในการหาคาตอบ โดย 𝑥1 = 𝑎 มีค่าใดๆ กาหนดให้ค่าของ𝑥2 = 𝑎 + ℎ ให้ h มีค่าน้อยมากๆจน เข้าใกล้ 0 𝑙𝑖𝑚 ℎ→0 𝑓 𝑎 + ℎ − 𝑓(𝑎) 𝑎 + ℎ − 𝑎 = 𝑙𝑖𝑚 ℎ→0 𝑓 𝑎 + ℎ − 𝑓(𝑎) ℎ
  • 12. ตัวอย่างที่ 5 กาหนดให้ 𝑓 𝑥 = 2𝜋𝑥 จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลง ขณะที่ x=2 𝑓 𝑎 = 2𝜋𝑎 = 4𝜋 𝑓 𝑎 + ℎ = 2𝜋(𝑎 + ℎ) = 2𝜋 2 + ℎ 𝑙𝑖𝑚 ℎ→0 𝑓 𝑎 + ℎ − 𝑓(𝑎) ℎ = lim ℎ→0 2𝜋 2 + ℎ − 4𝜋 ℎ = lim ℎ→0 4𝜋 + 2𝜋ℎ − 4𝜋 ℎ = lim ℎ→0 2𝜋 = 2𝜋 ดังนั้นอัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เทียบกับ x ขณะที่ x=2 คือ 2𝜋 เซนติเมตร/เซนติเมตร
  • 13. การหาอนุพันธ์โดยใช้สูตร (Derivative Formula) ในบางครั้งการหาอนุพันธ์โดยใช้ทฤษฎีของลิมิต ค่อนข้างทาได้ยาก จึงมีการ สร้างสูตรสาหรับหาค่าของอนุพันธ์ขึ้นมาจากนิยาม คือ เมื่อให้ f เป็นฟังก์ชันที่มี x เป็นตัว แปรอิสระและ y เป็นตัวแปรตาม f เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ที่ x ใดๆก็ต่อเมื่อ 𝑙𝑖𝑚 ℎ→0 𝑓 𝑎+ℎ −𝑓(𝑎) ℎ สามารถนิยามอนุพันธ์ของฟังก์ชัน ที่ x=a เป็นสัญลักษณ์ 𝑓′ 𝑎 , 𝑑𝑦 𝑑𝑥 𝑥=𝑎 , 𝑑𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 𝑥=𝑎
  • 14. จากนิยามจะได้ว่า 𝑓′ 𝑎 = 𝑙𝑖𝑚 ℎ→0 𝑓 𝑎+ℎ −𝑓(𝑎) ℎ การอ่านสัญลักษณ์ 𝑓′ 𝑥 อ่านว่า เอฟไพร์มของเอกซ์ 𝑑𝑦 𝑑𝑥 𝑥=𝑎 อ่านว่า ดีวายบายดีเอกซ์โดยที่เอกซ์เท่ากับเอ 𝑑𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 𝑥=𝑎 อ่านว่า ดีเอฟของเอกซ์บายดีเอกซ์โดย ที่เอกซ์เท่ากับเอ
  • 15. สูตรอนุพันธ์ differential ที่นิยมใช้ 1. 𝑑𝑐 𝑑𝑥 = 0 2. 𝑑 𝑥 𝑛 𝑑𝑥 = 𝑛𝑥 𝑛−1 3. 𝑑 𝑑𝑥 𝑓 + 𝑔 = 𝑑𝑓 𝑑𝑥 + 𝑑𝑔 𝑑𝑥 4. 𝑑 𝑑𝑥 𝑓)(𝑔 = 𝑓 𝑑𝑔 𝑑𝑥 + 𝑔 𝑑𝑓 𝑑𝑥 5. 𝑑 𝑑𝑥 𝑓 𝑔 = 𝑔 𝑑𝑓 𝑑𝑥 −𝑓 𝑑𝑔 𝑑𝑥 𝑔2 6. 𝑑 𝑑𝑥 𝑢 𝑛 = 𝑛𝑢 𝑛−1 𝑑𝑢 𝑑𝑥 7. 𝑑 𝑑𝑥 ln 𝑥 = 1 𝑥 8. 𝑑 𝑑𝑥 𝑒 𝑥 = 𝑒 𝑥
  • 16. สูตรอนุพันธ์ differential ที่นิยมใช้ 9. 𝑑 𝑑𝑥 log 𝑎 𝑥 = 1 𝑥 ln 𝑎 10. 𝑑 𝑑𝑥 sin 𝑥 = cos 𝑥 11. 𝑑 𝑑𝑥 cos 𝑥 = − sin 𝑥 12. 𝑑 𝑑𝑥 tan 𝑥 = 𝑠𝑒𝑐2 𝑥 13. 𝑑 𝑑𝑥 𝑎𝑟𝑐 sin 𝑥 = 1 1−𝑥2 14. 𝑑 𝑑𝑥 𝑎𝑟𝑐 cos 𝑥 = − 1 1−𝑥2 15. 𝑑 𝑑𝑥 𝑎𝑟𝑐 tan 𝑥 = 1 1+𝑥2
  • 17. ตัวอย่างที่ 6 กาหนดให้ 𝑓 𝑥 = 𝑥4 + 𝑥2 จงหา 𝑓′(𝑥) 𝑓 𝑥 = 𝑥4 + 𝑥2 𝑑 𝑑𝑥 𝑓 𝑥 = 𝑑 𝑑𝑥 𝑥4 + 𝑑 𝑑𝑥 𝑥2 ใช้สูตร 𝑑 𝑥 𝑛 𝑑𝑥 = 𝑛𝑥 𝑛−1 𝑑 𝑑𝑥 𝑓 𝑥 = 4𝑥4−1 + 2𝑥2−1 = 4𝑥3 + 2𝑥 ดังนั้น 𝑓′ 𝑥 เท่ากับ 4𝑥3 + 2𝑥
  • 18. ตัวอย่างที่ 7 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน 𝑦 = 𝑥2 − 2𝑥 + 3 2𝑥 + 5 𝑦 = 𝑥2 − 2𝑥 + 3 2𝑥 + 5 𝑑𝑦 𝑑𝑥 = 𝑑 𝑑𝑥 𝑥2 − 2𝑥 + 3 2𝑥 + 5 ใช้สูตร 𝑑 𝑑𝑥 𝑓)(𝑔 = 𝑓 𝑑𝑔 𝑑𝑥 + 𝑔 𝑑𝑓 𝑑𝑥 กาหนดให้ 𝑓 = 𝑥2 − 2𝑥 + 3 และ 𝑔 = 2𝑥 + 5
  • 19. 𝑑𝑦 𝑑𝑥 = (𝑥2−2𝑥 + 3) 𝑑 𝑑𝑥 2𝑥 + 5 + 2𝑥 + 5 𝑑 𝑑𝑥 𝑥2 − 2𝑥 + 3 = (𝑥2−2𝑥 + 3)(2) + 2𝑥 + 5 (2𝑥 − 2) = 2𝑥2 − 4𝑥 + 6 + 4𝑥2 − 4𝑥 + 10𝑥 − 10 = 6𝑥2 + 2𝑥 − 4 ดังนั้น อนุพันธ์ของ 𝑦 = 𝑥2 − 2𝑥 + 3 2𝑥 + 5 เท่ากับ 6𝑥2 + 2𝑥 − 4
  • 20. ตัวอย่างที่ 8 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน 𝑓 𝑥 = 𝑥2−1 𝑥+2 ใช้สูตร 𝑑 𝑑𝑥 𝑓 𝑔 = 𝑔 𝑑𝑓 𝑑𝑥 −𝑓 𝑑𝑔 𝑑𝑥 𝑔2 โดยที่ 𝑓 = 𝑥2 − 1 𝑔 = 𝑥 + 2 แทนค่าลงในสูตร 𝑑 𝑑𝑥 𝑓 𝑔 = 𝑥+2 𝑑 𝑑𝑥 𝑥2−1 − 𝑥2−1 𝑑 𝑑𝑥 𝑥+2 𝑥+2 2 = 𝑥+2 2𝑥 − 𝑥2−1 1 𝑥+2 2 = 𝑥2 + 4𝑥 + 1 𝑥 + 2 2 ดังนั้นคาตอบของอนุพันธ์ คือ 𝑥2+4𝑥+1 𝑥+2 2
  • 21. ตัวอย่างที่ 9 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน 𝑓(𝑥) = 3 10 𝑙𝑛 8 + 5𝑥2 ใช้สูตร 𝑑 𝑑𝑢 ln 𝑢 = 1 𝑢 𝑑𝑢 𝑑𝑥 𝑑 𝑑𝑢 3 10 𝑙𝑛 8 + 5𝑥2 = 3 10 𝑑 𝑑𝑢 𝑙𝑛 8 + 5𝑥2 = 3 10 1 8 + 5𝑥2 𝑑 𝑑𝑥 8 + 5𝑥2 = 3 10 1 8 + 5𝑥2 10𝑥 = 30𝑥 80 + 50𝑥2 ดังนั้นคาตอบของอนุพันธ์ คือ 30𝑥 80+50𝑥2
  • 22. ฟังก์ชันหลายตัวแปรและอนุพันธ์ย่อย • ถ้ากาหนดให้ Z เป็นฟังก์ชันของสองตัวแปรอิสระ X และ Y เขียนในรูป ของ 𝑍 = 𝑓 𝑥, 𝑦 กาหนดให้ y เป็นค่าคงตัวชั่วขณะแล้วฟังก์ชัน 𝑍 = 𝑓 𝑥, 𝑦 ก็จะเป็นฟังก์ชันของตัวแปร X เท่านั้น สามารถหา อนุพันธ์ของ Z เทียบกับตัวแปร X ได้ และเรียกอนุพันธ์นี้ว่า อนุพันธ์ย่อย ของ Z เทียบกับ X
  • 23. นิยาม : ให้ 𝑍 = 𝑓 𝑥, 𝑦 เป็นฟังก์ชันของสองตัวแปรอิสระ x และ y อนุพันธ์ย่อยของ Z หรือ 𝑓 𝑥, 𝑦 เทียบกับ x เขียนแทนด้วย สัญลักษณ์ 𝜕𝑧 𝜕𝑥 หรือ 𝜕𝑓 𝜕𝑥 𝑥, 𝑦 โดยที่ 𝜕𝑧 𝜕𝑥 = lim ℎ→0 𝑓 𝑥+ℎ,𝑦 −𝑓 𝑥,𝑦 ℎ (ถ้าลิมิตหาค่าได้) หมายเหตุ เรียกสัญลักษณ์ 𝜕 (Curl) ว่า เครื่องหมายอนุพันธ์ย่อย
  • 24. ตัวอย่างที่ 10 กาหนดให้ 𝑧 = 𝑥4 − 10𝑥𝑦2 + 𝑦 จงหา 𝜕𝑧 𝜕𝑥 วิธีทา จาก 𝑧 = 𝑥4 − 10𝑥𝑦2 + 𝑦 𝜕𝑧 𝜕𝑥 = 𝜕 𝜕𝑥 𝑥4 − 10𝑥𝑦2 + 𝑦 = 𝜕 𝜕𝑥 𝑥4 − 𝜕 𝜕𝑥 10𝑥𝑦2 + 𝜕 𝜕𝑥 𝑦 = 4𝑥3 − 10𝑦2 + 0 = 4𝑥3 − 10𝑦2
  • 25. ตัวอย่างที่ 11 กาหนดให้ 𝑓 𝑥, 𝑦 = 2𝑥3 𝑦2 + 6𝑥 + 2𝑦 จงหา 𝑓𝑥 1,3 วิธีทา จาก 𝑓 𝑥, 𝑦 = 2𝑥3 𝑦2 + 6𝑥 + 2𝑦 𝑓𝑥 = 𝜕 𝜕𝑥 2𝑥3 𝑦2 + 6𝑥 + 2𝑦 = 𝜕 𝜕𝑥 2𝑥3 𝑦2 + 𝜕 𝜕𝑥 6𝑥 + 𝜕 𝜕𝑥 2𝑦 = 6𝑥2 𝑦2 + 6 + 0 = 6𝑥2 𝑦2 + 6 แทนค่า x=1 และ y=3 ในอนุพันธ์ย่อยที่ได้จะได้ 𝑓𝑥 1,3 = 6 1 2 3 2 + 6 = 60