SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 86
Meningoencephalitis



     อ.ที่ปรึกษา :
                       อ.พญ.ญาศินี อภิรักษ์ นภานนท์
     จัดทาโดย :
                       นสพ.ณัฐพงษ์ พุทธวงค์
             นิสิตแพทย์ชนปี ที่ 4 ศูนย์แพทยศาสตร์ ชนคลินิก รพ.แพร่
                        ั้                         ั้
>>       0        >>       1       >>         2       >>        3    >>   4   >>
Personal data
      ซักประวัติตรวจร่ างกายผู้ป่วย และมารดาผู้ป่วย ซึ่งอาศัยอยู่บ้านเดียวัน
       เลียงดูผู้ป่วยตั้งแต่ เกิด ใบส่ งตัว แฟมเวชระเบียนผู้ป่วย เชื่อถือได้ มาก
          ้                                   ้

      ผู้ป่วยเด็กชายไทย อายุ 2 ปี 5 เดือน
      วันที่รับนอนในโรงพยาบาล : 10/5/55
      วันทีจาหน่ ายออกโรงพยาบาล : 24/5/55
             ่




>>        0       >>        1       >>       2       >>        3      >>           4   >>
Chief complaint
              มีไข้ 4 วัน ก่ อนมาโรงพยาบาล




>>   0   >>      1   >>    2   >>   3   >>   4   >>
Present illness
           : 4 วัน ก่ อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีไข้ ไอมีเสมหะสีขาว
     มีนามูกใส กินได้ ลดลง บ่ นปวดศีรษะ ไปตรวจรักษาที่คลินิก
         ้
     เอกชน ได้ ยาลดไข้ ยาลดนามูก และยาแก้ อักเสบแบบผงผสม
                                 ้
     นา (ไม่ ได้ นายามาด้ วย)มารับประทาน อาการไม่ ดขึน
       ้                                               ี ้
         : 2 วัน ก่ อนมาโรงพยาบาล ยังมีไข้ สูง นอนทังวัน ดูเพลีย
                                                    ้
     มาก กินอาหารกินนมไม่ ได้ เลย อาเจียน ไปตรวจรักษาที่
     โรงพยาบาลสูงเม่ น ได้ ยา คือ



>>   0      >>      1      >>      2      >>      3      >>        4   >>
Present illness
       : paracetamol syrup 1 tsp o prn
         amoxicillin syrup 1 tsp o tid pc
         domperidone syrup 1 tsp o tid ac
         อาการไม่ ดขน มารดาดูผ้ ูป่วยซึมลง ไม่ พูด ไม่ เล่ น ไม่ กิน
                     ี ึ้
     อะไรเลย อ่ อนเพลียมาก (ปกติเป็ นเด็กร่ าเริง พูดเก่ ง)
        : 1 วัน ก่ อนมาโรงพยาบาล ไปตรวจรักษาที่โรงพยาบาล
     แพร่ คริสเตียน ผู้ป่วยเริ่มรู้สึกตัว เล่ นเองได้ บ้าง นั่งเองได้ แต่ ยง
                                                                           ั
     ยืน,เดินไม่ ได้ ไม่ พูด กินนมและอาหารได้ เล็กน้ อย

>>   0       >>        1       >>       2       >>       3       >>        4   >>
Present illness
         : วันนี ้ ก่ อนมาโรงพยาบาล ไข้ ลงดี แต่ ยังซึมอยู่ ตาเหม่ อลอย
     อ่ อนเพลีย ไม่ มีแรง นั่ง,ยืน,เดินไม่ ได้ มีแขนกระตุกเป็ นบางครัง้
     จึงถูกส่ งตัวมารักษาต่ อที่โรงพยาบาลแพร่




>>   0      >>       1       >>      2       >>      3       >>       4   >>
Present illness
      ปฏิเสธลุยนา เข้ าป่ า เดินทางออกนอกพืนที่ ปฏิเสธโรคไข้ เลือดออก
                        ้                            ้
       บริเวณใกล้ บ้าน
      บ้ านเด็กคนนีมีเลียงสัตว์ เป็ นสุนัข ไม่ ได้ เลียงหมูและไม่ มีการเลียงหมูใน
                          ้ ้                          ้                   ้
       ละแวกบ้ าน
      ไม่ มีประวัตต่ ุมนาใสขึนที่ใดในร่ างกายช่ วงก่ อนมีอาการ ไม่ เคยมีต่ ุมนาใส
                     ิ ้        ้                                                ้
       เป็ นๆหายๆ ไม่ มีประวัตไข้ ออกผื่นก่ อนหน้ าการป่ วยในครั งนี ้
                                    ิ                                 ้
      ก่ อนหน้ าป่ วยครั งนีไม่ มีประวัตท้องเสียถ่ ายเหลวนามาก่ อน
                            ้ ้           ิ
      ไม่ มีประวัตไข้ หรื อไอเรื อรั งของคนในครอบครั ว ไม่ มีประวัตคนใน
                      ิ           ้                                     ิ
       ครอบครั วเป็ นวัณโรค
      ผู้ป่วยอยู่ศูนย์ เด็กเล็ก ในศูนย์ ไม่ เคยมีใครป่ วยหรื อมีอาการแบบผู้ป่วย
       ไม่ มีเด็กในศูนย์ ป่วยเป็ นมือเท้ าปาก
>>       0       >>        1       >>        2       >>        3       >>       4    >>
Past history
         • ปฏิเสธโรคประจาตัวใดๆ
         • ปฏิเสธการใช้ ยาใดเป็ นประจา
         • ปฏิเสธประวัตผ่าตัด
                         ิ
         • ปฏิเสธประวัตได้ รับอุบัตเหตุท่ ศีรษะ
                           ิ       ิ       ี
         • เคยชัก 1 ครังจากไข้ สูงเมื่อ 2 เดือนที่ผ่านมา
                       ้




>>   0   >>       1      >>      2       >>      3         >>   4   >>
labor history
                มารดาตังครรภ์ ตอนอายุ 22 ปี ตังครรภ์ ครังแรก ไม่ เคยแท้ ง ก่ อน
                        ้                        ้      ้
     หน้ านี ้ ฝากครรภ์ ท่ ี รพ.สิคว ก่ อนใกล้ คลอดมาฝากครรภ์ ต่อที่คลินิกหมอ
                                   ิ้
     บุญโรจน์ ผลการตรวจเลือดปกติ ไม่ พบภาวะซีด ธาลัสซีเมีย ซิฟิลิส ตับ
     อักเสบบี เอชไอวี ระหว่ างตังครรภ์ ไม่ พบความผิดปกติใดๆ
                                      ้
                คลอดเมื่ออายุครรภ์ 38 สัปดาห์ คลอดวิธีผ่าตัด เนื่องจากถุง
     นาคร่ าแตกก่ อนเจ็บครรภ์ แพทย์ บอกสายสะดือเสี่ยงพันคอเด็ก นาหนัก
       ้                                                                 ้
     แรกคลอด 3,030 กรัม ความยาว 55 ซม. เส้ นรอบศรีษะ 33 ซม. Apgar
     score (1 นาที)9 (5 นาที)10 ไม่ มีความผิดปกติใดๆย้ ายมาอยู่กับมารดา
     หลังคลอด ไม่ มีตัวเหลือง ไม่ ได้ ส่องไฟ นอนโรงพยาบาล 3 คืน กลับบ้ าน
     พร้ อมมารดา
>>        0      >>       1      >>      2      >>       3      >>       4    >>
ประวัตเิ ลียงดูและอาหาร
                                  ้
               หลังคลอดกินนมมารดา จนถึงอายุ 9 เดือน เปลี่ยนมากินนม
     ผงเนื่องจากมารดาต้ องไปทางาน ในช่ วงที่เปลี่ยนมาเป็ นนมผง ทานได้
     ดีไม่ มีความผิดปกติใดๆ ไม่ มีอาเจียน หรือท้ องเสียถ่ ายเหลว ปั จจุบัน
     กินนมยี่ห้อ ดูโกร 1 พลัส มารดาเริ่มให้ ทานอาหารเสริมเป็ นข้ าบด
     ผสมผัก ไข่ แดง เนือสัตว์ บด ตอนอายุประมาณ 6 - 7 เดือน ผู้ป่วยกิน
                           ้
     ได้ ดี ผู้ป่วยได้ รับการเลียงดูโดยมารดา ถ้ ามารดาไม่ อยู่บ้านจะให้ ยาย
                                ้
     และอาสาวดูแล




>>        0      >>      1      >>       2     >>       3      >>      4      >>
ประวัติพฒนาการ
                                      ั
        ผู้ป่วยอายุ 2 ปี 5 เดือน พัฒนาการปกติสมวัย ประเมินตาม
 Denver II ประเมินเมื่อ 21 / 5 / 55
 Language : พูดอ้ อแอ้ ตอนอายุ 5-6 เดือน พูดเป็ นคาๆเรี ยกแม่ พ่ อ ได้ ตอนอายุ 11
 เดือน ปั จจุบันพูดประโยคสันๆ ได้ ดี สื่อสารรู้เรื่ อง บอกความต้ องการของตัวเองได้
                               ้
 รู้ จักสีแดง สีเหลือง นับเลข 1 2 3 ได้
 Personal-social : ใส่ เสือยืดได้ เอง ยังติดกระดุมไม่ ได้ บอกชื่อเพื่อนที่อยู่บริเวณใกล้
                          ้
 บ้ านได้ แปรงฟั นได้ แต่ ต้องคอยช่ วย ล้ างมือเช็ดมือเองได้ ใส่ รองเท้ าสลับกันอยู่บ้าง
 Fine motor : ชูนิวโปงได้ ต่ อบล็อกได้ 3 ชิน ขีดเส้ นยุ่งๆได้
                    ้ ้                      ้
 Gross motor : เริ่มคว่าได้ ตอน อายุ 6 เดือน เกาะเดิน 9-10เดือน ปั จจุบันเดินได้ และ
 วิ่งได้ ขนลงบันไดเองได้ แต่ ต้องมีผ้ ูปกครองจับมือเพราะกลัวตกบันได โยนบอลได้
           ึ้


>>     0        >>        1       >>        2       >>         3       >>        4    >>
ประวัติรับวัคซีน
        ได้ รับครบตามกาหนดทุกครัง ไม่ ได้ รับวัคซีนเพิ่ม ไม่ มีปัญหาหลัง
                                       ้
 การรับวัคซีน ไม่ มีไข้ ไม่ เคยไข้ ชัก
              แรกคลอด :            BCG ,HBV1
              2 เดือน :            HBV2 ,DTP1 ,OPV1
            4 เดือน :              DTP2 ,OPV2
            6 เดือน :              HBV3 ,DTP3 ,OPV3
            12 เดือน :             MMR1 ,JE1
            18 เดือน :             DTP4 ,OPV4 ,JE2
            นัดครั งต่ อไป 22 ก.ค.55 DTP5, OPV5, JE3 , MMR2
                   ้



>>    0      >>      1      >>       2      >>       3        >>   4   >>
ประวัติครอบครัว
              บิดา มารดา ปฏิเสธโรคประจาตัวๆ ผู้ป่วยเป็ นบุตรคนเดียว
     ไม่ มีบุคคลในครอบครัวป่ วยเป็ นธาลัสซีเมีย หรือป่ วยเป็ นไข้ หวัด หรือ
     ป่ วยในลักษณะเดียวกับผู้ป่วย ไม่ มีสัตว์ เลียงในบ้ าน
                                                 ้


             ประวัตการใช้ ยา การแพ้ยา โรคภูมแพ้
                   ิ                        ิ
             ปฏิเสธการแพ้ ยา แพ้ อาหาร โรคภูมแพ้ ไม่ มียาใดที่ใช้ ประจา
                                             ิ
     ยาที่ได้ จากคลินิก : ยาลดไข้ ยาลดนามูก และยาแก้ อักเสบแบบผง
                                       ้
     ผสมนา (ไม่ ได้ นายามาด้ วย)
            ้

>>       0      >>       1      >>      2      >>       3      >>      4      >>
ประวัตการใช้ ยา การแพ้ยา โรคภูมแพ้ (ต่ อ)
                  ิ                        ิ
     ยาที่ได้ จากโรงพยาบาลสูงเม่ น
             paracetamol syrup 1 tsp o prn
              amoxycilline syrup 1 tsp o tid pc
             domperridone syrup 1 tsp o tid ac
     ยาที่ได้ จากโรงพยาบาลแพร่ คริสเตียน
              paracetamol syrup 1 tsp o prn
              ibuprofen syrup 1 tsp o tid pc
              benadyl syrup 1 tsp o tid pc
              Cef-3 (50MKD) IV OD >>(ถ้ า dose meningitis ต้ อง 100 MKD)
              5%D/N/3 IV drip
>>      0       >>       1       >>        2      >>   3   >>      4       >>
Review of system
     อาการทั่วไป : นอนเป็ นส่ วนมาก ตื่นมาร้ องไห้ งอแง กินนมน้ อยลงกิน
         ข้ าวน้ อยลง ไม่ มีนาหนักลดหรือเพิ่มผิดปกติ
                             ้
     ผิวหนังและผม : ไม่ มีผ่ ืน ไม่ มีผ่ ืนคัน ไม่ มีจุดเลือดออก ไม่ มีแผล
         อักเสบ ผิวไม่ แห้ งไม่ แตก
     ศีรษะ : ไม่ เคยรับอุบัตเหตุท่ ศีรษะ ไม่ มีร่องรอยที่ผิดปกติของศีรษะ
                               ิ     ี
     หู : ลืมตาได้ ตามเสียงเรียก ไม่ มีหนอง หรือเลือดไหลจากหู
     ตา : ไม่ มีตาแดง ไม่ มีขีตา เวลาร้ องไห้ นาตาไหลตามปกติไม่ มีตาแห้ ง
                                 ้                 ้
         ไม่ มีตาบวม
     จมูก : มีนามูกใส ไม่ มีเลือดกาเดา ไม่ เป็ นไซนัสอักเสบเรือรัง
                  ้                                                ้
>>      0      >>       1      >>      2      >>       3     >>       4      >>
Review of system
     ปากและคอหอย : มีแผลในปาก ปากไม่ แห้ ง ปากไม่ เขียว มุมปากไม่ มี
       แผล ไม่ มีนาลายไหลยืดตลอดเวลา ไม่ มีประวัตสาลักอาหาร
                     ้                                    ิ
     คอ : ไม่ ก้อนที่คอโต คอแข็ง
     ระบบหัวใจและหลอดเลือด : ไม่ บวม ไม่ มีมือเท้ าเขียว ไม่ มีหายใจ
       หอบเหนื่อยเวลานอนราบ
     ระบบทางเดินอาหาร : กินนมกินอาหารได้ น้อยลงกว่ าเดิม ไม่ มี
       ท้ องเสียถ่ ายเหลว ไม่ มีถ่ายเป็ นมูกเลือด ไม่ มีท้องผูก ปกติถ่ายวัน
       ละ 1 ครัง มีอาเจียนบางครังเป็ นนมและกากอาหารไม่ มีสีดาหรือ
                 ้                  ้
       เลือดปน ไม่ มีตัวเหลืองตาเหลือง

>>      0      >>       1      >>      2      >>       3      >>      4       >>
Review of system
     ระบบทางเดินปั สสาวะ : ปั สสาวะออกดี พุ่งเป็ นลา สีเหลืองใส
     ระบบประสาท : ไม่ เคยได้ รับอุบัตเหตุท่ ศีรษะ ไม่ เคยผ่ าตัดเสมอ แขน
                                      ิ     ี
       กระตุก 2 ข้ าง เคยชักจากไข้ สูง 1 ครัง เมื่อ 2 เดือนก่ อน
                                              ้
     ระบบกล้ ามเนือและกระดูก : ไม่ มีข้อบวมหรือผิดรูป ไม่ มีแผล ไม่ มี
                     ้
       กล้ ามเนือลีบ อ่ อนเพลีย แขนขาไม่ มีแรง นั่ง ยืน เดินเองไม่ ได้
                 ้
       (ก่ อนป่ วยนั่ง ยืน เดินได้ ด)
                                    ี




>>      0      >>      1      >>      2      >>      3      >>      4      >>
Physical examination
     V/S : Body temp : 36.5 °c, PR: 82/mins, RR: 28/min,
          BP 160/60 mmHg ,O2sat 100% room air
            Weight : 12 kg(P 25 ), Height : 89 cm(P25-P50)
     GA : A thai boy, looked ill, drowsiness, crying no dyspnea, no pallor,
          no jaundice, no cyanosis
     Skin,hair.nail : no rash, no petechiae, no purpura, good skin turgor,
       no abnormal pigmentation, normal hair distribution, no koilonychia



>>    0      >>       1      >>       2      >>      3      >>       4   >>
Physical examination
     HEENT :
       Head : normocephalic without evidence of head trauma,
               no tenderness, no hydrocephalus
       Eyes : no pale conjunctiva, not injected, no ictericsclera,
              no eye retraction, no sunken eye ball,
              eye ground cannot test
       Ears : pinna no deformity pharynx, no tenderness, no discharge
              tympanic membrane intact

>>    0      >>      1      >>      2     >>       3     >>      4      >>
Physical examination
     HEENT :
       nose : no deformity, no tenderness, mucus clear discharge,
               no bleeding
       mouth and throat : normal lips, gum and tongue, oral ulcer,
               pharynx no injected, tonsil no enlargement or exudate
      neck : limitation range of motion, trachea in midline,
              no neck mass, no thyroid enlargement



>>    0      >>      1      >>      2      >>       3     >>       4   >>
Physical examination
     Cardiovascular system :
        PMI at 5st ICS Lt MCL, normal S1, S2 , regular rhythms,
        no murmur, peripheral pulse full grade 2+ all extremities
     Respiratory system :
       normal chest movement and expansion, no chest wall retraction,
       no adventitious sounds
     Abdomen :
       no surgical scar, no visible peristalsis, soft, no guarding,
       no tenderness, no mass, liver and spleen are not palpable
>>    0      >>      1     >>      2      >>      3      >>      4      >>
Physical examination
     Genitourinary system :
       kidney no palpable
     Nervous system :
       drowsiness, crying, E4V2M5
       Cranial nerve I,VIII : not test
                         II : pupil 3 mm. react to light both eyes
               III, IV, VI : no limitation of eye movement
                         V : normal tone of temporalis and masetter muscle

>>    0      >>      1      >>       2      >>      3      >>      4    >>
Physical examination
     Cranial nerve    VII : no facial muscle weakness
                   IX, X : no deviation of uvula
                       XI : no weakness of sternocleidomatoid and
                             trapizius muscle
                       XII : no tonnge deviation
     Sensory : can not test
     Motor : normal muscle tone, no muscular atrophy,
             motor power at least grade II all

>>    0      >>      1      >>      2     >>      3      >>         4   >>
Physical examination
     Meninges :        Stiff neck - positive,
                       Brudsinski - positive
                       Kernig       - can't evaluate
     Lymphatic system : no pitting edema, no lymphadenopathy




>>    0      >>     1      >>      2     >>      3     >>      4   >>
Positive finding
         จากประวัติ                              จากการตรวจร่ างกาย
     •   Acute fever 4 day PTA               •   Alteration of conscious, E4V2M5
     •   ซึม ไม่ พูด                         •   Neck : limit range of movement
     •   ปวดศีรษะ
                                             •   Neuro sign : stiff neck positive
     •   คลื่นไส้ อาเจียน
                                                               Brudsinski positive
     •   ไปรั กษาที่คลินิกได้ ยามา
         รั บประทาน อาการไม่ ดีขน  ึ้                         Kernig can't evaluate
     •   generalize tonic seizure            •   Productive cough
                                             •   rhinorrhea

>>        0        >>        1          >>       2     >>       3      >>       4     >>
Negative finding
     • no rash                                     • ปฏิเสธประวัตแพ้ ยา
                                                                     ิ
     •                                             • ปฏิเสธประวัตใช้ ยาใดเป็ นประจา
                                                                       ิ
     • no diarrhea ,no dysuria                     • ปฏิเสธประวัตได้ รับอุบัตเหตุท่ ี
                                                                   ิ         ิ
     • ได้ รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ไม่เคย               ศีรษะ
       ได้ รับวัคซีนเสริมอื่นๆ                     • ปฏิเสธประวัตลุยนา เข้ าป่ า
                                                                         ิ ้
     • ไม่ มีประวัติ head injuries,                • ปฏิเสธโรคไข้ เลือดออกบริเวณ
       congenital heart disease , sinusitis,         ใกล้ บ้าน
       otitis media , vascular malformation




>>       0       >>        1       >>          2       >>       3       >>       4      >>
Problem list
                 Acute febrile illness

          with alteration of conscious

          with meningeal irritation sign
                     with headache
           with generalize tonic seizure
>>    0     >>   1    >>   2   >>   3    >>   4   >>
Differential diagnosis
               Level of conscious
                                                     Coma

                                            Stupor

                                  Obtundation

                       Delirium

              Confusion




>>   0   >>        1      >>        2     >>     3    >>    4   >>
Differential diagnosis
            Alteration of conscious
     • Infection of central nervous system :
           Encephalitis, Meningitis
     • Cerebovascular disease : hemorrhage, infarction
     • Chemical : toxin, drug
     • Abnormal metabolism : electrolyte imbalance

>>    0    >>     1    >>    2     >>    3    >>     4   >>
Differential diagnosis
            Meningoencephalitis
         • Brain abscess       • Drug
         • Subarachnoid         ( BZD, barbiturates )
           hemorrhage          • Seizure
         • Neck injury         • Electrolyte imbalance
                               • SLE
>>   0      >>    1   >>   2     >>       3      >>     4   >>
Differential diagnosis
              Meningoencephalitis
     •   bacteria
     •   virus
     •   parasite
     •   fungus
     •   TB



>>       0   >>     1   >>   2   >>   3   >>   4   >>
Differential diagnosis
               Meningoencephalitis
          Meningitis      Encephalitis
     o fever        meningeal irritation sign
                                                    o fever
     o Headache                                     o Headache
     o Nuchal rigidity                              o Alteration of conscious
       (neck stiffness)                             o Seizure
     o Photophobia                                  o focal neurologic sign
       (intolerance of bright light)
>>    0        >>         1         >>          2    >>       3     >>      4   >>
Lab investigation for meningitis
          •   CBC                •   BUN, Cr, LFT
          •   PBS                •   UA,UC
          •   CT brain           •   ESR, CPR
          •   CSF                •   Stool exam
          •   Blood sugar        •   Scrapings of skin lesions
          •   Hemoculture        •   Anti-HIV


>>    0   >>       1    >>   2       >>      3     >>      4     >>
Plan for investigation
        CBC
     • เพื่อช่ วยในการวินิจฉัยโรค หาสาเหตุของไข้ , การติดเชือ โดยดู
                                                            ้
        จากจานวนของ WBC , ชนิดของ WBC
     • นอกจากนียังช่ วยประเมินภาวะ anemia, thrombocytopenia
                   ้
     ผล :
      WBC 11,790 /cu.mm. N 32 %, L 49.9%, M 8.7 %,E 9.1%, B 0.3%
      RBC Hb 13.2 g/dl, Hct 40.1 %, MCV 83.4 fl.
      Platelet 430,000 /cu.mm

>>      0     >>      1      >>      2     >>      3     >>      4    >>
Plan for investigation
       PBS
       เพื่อลักษณะรูปร่ าง ของส่ วนประกอบในเลือด เช่ น เม็ดเลือดแดง
       , เม็ดเลือดขาว และเกร็ดเลือด หากมีภาวะ bacterial infection
       จากการพบ band form , toxic granule, vacuolization หรือ virial
       infection บางชนิดจะพบ atypical lymphocyte ได้
     ผล :
     WBC 12,000 /cu.mm. N 30 %, L 50 %, M 10 %,E 10%, B 0%
     RBC normochromic normocytic red cell
     Platelet adquate , no giant platelet
>>      0      >>     1      >>      2     >>      3      >>      4    >>
Plan for investigation
     BUN, Cr, electrolyte ,DTx
     เพื่อดูการทางานของไต และดูสมดุลเกลือแร่ ระดับนาตาล ใน ้
     เลือด ซึ่งอาจเป็ นสาเหตุท่ทาให้ ภาวะความรู้สึกตัวที่ผิดปกติได้
                               ี
     ผล :
     BUN 10.5 mg/dl, Cr 0.6 mg/dl.
     Na 139.2 mmol/L, K 4.39 mmol/L, Cl 108 mmol/L, HCO3- 25 mmol/L,
     Ca 9.8 mmol/L, phosphorus 5.3 mmol/L,




>>   0      >>       1      >>       2      >>       3      >>         4   >>
Plan for investigation
         CT brain :
     เพื่อดูความผิดปกติบริเวณสมอง ช่ วยในการวินิจฉัยแยกโรคทา เช่ น
     Brain abscess, Subarachnoid hemorrhage, cerebovascular infaction
      * กรณีที่มีความดันในสมองสูง หรื อผู้ป่วยที่มี focal neurological signs or
         symptoms หรื อมี IICP, papilledema หรื อ coma ควรทา brain imagine
         ก่อนทา Lumbar puncture




>>       0       >>        1        >>        2       >>        3       >>        4   >>
Plan for investigation
        CT brain :
     ผล : Imp. meningoencephalitis with small vasculitis or infarction
       in right thalamus is first considered
             no well forming abscess or hydrocephalus




>>      0      >>      1      >>      2      >>      3      >>       4   >>
Plan for investigation
     Lumbar puncture :
 ข้ อบ่ งชี ้
 1. เพื่อการวินิจฉัย ได้ แก่ การติดเชื ้อในระบบประสาทส่วนกลาง
     subarachnoid hemorrhage การใส่สารทึบรังสีในการทา spinal cord
     imaging
 2. เพื่อการรักษา ได้ แก่ การให้ ยาเข้ าน ้าไขสันหลัง การระบายน ้าไขสันหลัง
     เพื่อลดความดันในช่องกะโหลกศีรษะ



>>     0       >>       1       >>       2       >>       3       >>          4   >>
Plan for investigation
     Lumbar puncture : CSF profile หากลุ่มเชือ   ้
     โดยตรวจดูระดับ OP - CP, WBC, RBC,
     protein, lactate, sugar ซึ่งมีลักษณะต่ างกัน
     ตามการติดเชือแต่ ละชนิด
                    ้




>>     0       >>       1      >>       2      >>    3   >>   4   >>
Plan for investigation




>>   0   >>   1   >>   2   >>   3   >>   4   >>
Gram stain results of common bacteria
         causing bacterial meningitis




>>   0   >>   1   >>   2    >>   3    >>     4   >>
Plan for investigation
   Lumbar puncture :
 CSF 3 bottle
 - ถ้ าเลือดสีจางลงเรื่อยๆ >> Traumatic tap
 - ถ้ าเลือดสีสม่าเสมอ >> subarachnoid hemorrhage
 * ควรทา LP ทุกรายในผู้ป่วยที่สงสัยการติดเชือของเยื่อหุ้มสมอง
                                              ้
 ถ้ าไม่ มีข้อห้ าม
 * repeat LP at 24–48 hours when clinical indicators of meningitis
 are present but CSF examination is normal.
>>    0      >>       1      >>      2      >>       3     >>        4   >>
Plan for investigation
 ข้ อควรระวัง / ข้ อห้ าม Lumbar puncture :
 1. ห้ ามทาการเจาะตรวจน ้าไขสันหลัง ในกรณี
     - สงสัยไขสันหลังได้ รับภยันตรายหรื อถูกกด
     - มีการติดเชื ้อของผิวหนังในตาแหน่งที่จะเจาะตรวจ
 2. กรณีที่มีความดันในสมองสูง หรื อผู้ป่วยที่มี focal neurological signs
     or symptoms หรื อมี papilledema ควรทา brain imagine ก่อน และ
     ถ้ าพบว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิด cerebral herniation ให้ งดเจาะตรวจ
     และถ้ าสงสัยการติดเชื ้อ ควรให้ ยาปฏิชีวนะไปก่อน


>>     0      >>       1      >>        2      >>       3      >>          4   >>
Plan for investigation
 ข้ อควรระวัง / ข้ อห้ าม Lumbar puncture :
 3. กรณีที่มีภาวะหัวใจหรื อการหายใจล้ มเหลว การจัดท่าเพื่อทาการเจาะ
     น ้าไขสันหลังอาจทาให้ ผ้ ป่วยทารกและเด็กเล็ก มีปัญหาการหายใจได้
                              ู
     จึงต้ องทาอย่างระมัดระวังหรื อพิจารณาเลื่อนการเจาะน ้าไขสันหลัง
     ออกไปทาหลังจากที่อาการผู้ป่วยดีขึ ้น
 4. การแข็งตัวของเลือดผิดปกติอย่างมาก ถ้ าจาเป็ นต้ องเจาะควรทาการ
     แก้ ไขก่อน ถ้ าปริมาณเกล็ดเลือดสูงกว่า100,000/mm3 สามารถเจาะ
     ตรวจน ้าไขสันหลังได้



>>    0      >>       1      >>       2      >>       3      >>        4   >>
Plan for investigation
   Lumbar puncture :
 ผล : clear , Xanthochromia, no traumatic tap
   Cell dif. : RBC - /cu.mm. WBC 23 /cu.mm. all lymphocyte
                sugar 53 mg/dl (DTx 97 %)
                protein 33 mg/dl (albumin 3.6 mg/dl)
   gram’ s stain : not found organism , WBC rare
   CSF culture : no growth after 2 days


>>    0     >>     1      >>     2     >>      3     >>      4   >>
Plan for investigation


                           23

                           L all
                           33
                           53
                           -



>>   0   >>   1   >>   2    >>     3   >>   4   >>
Plan for investigation
 Hemoculture
   ควรทาทุกรายโดยเฉพาะในเด็กเล็ก เนื่องจากมีโอกาสพบเชือที่   ้
   เป็ นสาเหตุ ร้ อยละ 50 ( CSF via lumbar puncture (LP) and
   hemocultures should be taken prior to antibiotic therapy)
   ผล : pending
          ยา antibiotic ที่ได้ จากโรงพยาบาลสูงเม่ น
                  amoxicillin syrup 1 tsp o tid pc
          ยา antibiotic ที่ได้ จากโรงพยาบาลแพร่ คริสเตียน
                  Cef-3 (50MKD) IV OD ?? dose meningitis
>>    0     >>       1       >>        2        >>    3   >>     4   >>
Plan for investigation
 U/A : ดูความผิดปกติของไต ภาวะติดเชือในทางเดินปั สสาวะ
                                        ้
  ผล : yellow clear, protein negative, sugar negative
         pH 6.0 , Spgr. 1.020
         RBC 0-1 /hpf, WBC 0-1 /hpf, epithelial cell 0-1 /hpf .
 U/C : เพื่อดูภาวะติดเชือในทางเดินปั สสาวะ และหา sensitivity
                        ้
       ของยาต่ อเชือนันๆ
                   ้ ้
 ผล : no growth after 2 days


>>    0      >>      1      >>       2      >>      3      >>     4   >>
Positive finding of investigation
• CBC : WBC 11,790 /cu.mm. N 32 %, L 49.9%, M 8.7 %,E 9.1%, B 0.3%
• PBS : Leukocytosis lymphocyte predominant
• CT brain : Imp. meningoencephalitis with small vasculitis or infraction in
  right thalamus is first considered
         no well forming abscess or hydrocepalus
• Lumbar puncture : CSF profile = viral meningitis



>>     0      >>      1      >>       2      >>      3      >>       4   >>
Definitive diagnosis

           viral
     meningoencephalitis



>>   0   >>    1   >>   2   >>   3   >>   4   >>
Meningitis
         เกิดจากการแพร่ กระจายของเชือ  ้
     จากส่ วนอื่นมายัง subarachnoid space
     โดยมาได้ หลายทาง ดังนี ้
       - Hematogenous spread
       - Adjacent organ spread
       - Direct penetrating
       - Latrogenic


>>      0      >>      1     >>      2      >>   3   >>   4   >>
Pathophysiology
     • inflammatory response
            increased vascular permeability,
            alterations of the blood-brain barrier,
            increase ICP and vascular thrombosis,
            cerebral cortical necrosis Cerebral infarction.
     • Inflammation of spinal nerves and roots produces meningeal signs
     • inflammation of the cranial nerves produces cranial neuropathies
       of optic, oculomotor, facial, and auditory nerves.

>>       0      >>       1      >>       2      >>      3     >>   4      >>
Pathophysiology
      Raised CSF protein levels
            loss of albumin-rich fluid from the capillaries and veins traversing
       the subdural space.

      Hypoglycorrhachia (reduced CSF glucose levels)
           decreased glucose transport by the cerebral tissue.

      If damage to the cerebral cortex
         • impaired consciousness,            • motor and sensory deficits,
         • seizures,                          • later psychomotor retardation.
         • cranial nerve deficits,

>>       0       >>        1       >>       2       >>        3       >>           4   >>
Clinical Manifestations
     • Nonspecific findings include fever, anorexia and poor feeding, symptoms
       of upper respiratory tract infection, myalgias, arthralgias, tachycardia,
       hypotension, Seizures (focal or generalized), irritability, lethargy, stupor,
       photophobia (older children)

     • various cutaneous signs, such as
     • petechiae, purpura in H. influenzae type b, N meningitis
     • erythematous maculopapular rash in N meningitis, S. pneumoniae sepsis

     • Meningeal irritation is manifested as nuchal rigidity, back pain, Kernig
       sign and Brudzinski sign

>>       0       >>        1       >>        2       >>        3        >>        4    >>
• Fever may have cold
                                hand and feet
                                • unusual crying
                                • very sleepy with a
                                reluctance to wake up
                                • vomiting
                                • loss of appetite,
                                refusing feeds
                                • pale and blotchy
                                skin




>>   0   >>   1   >>   2   >>       3    >>     4   >>
>>   0   >>   1   >>   2   >>   3   >>   4   >>
meningeal irritation sign
   Meningism is the triad of
1. Nuchal rigidity (neck stiffness)
2. Photophobia (intolerance of bright light)
3. Headache
     PE
              Stiff neck - positive,
              Brudsinski - positive
              Kernig - can't evaluate

>>        0     >>     1     >>     2      >>   3   >>   4   >>
คอแข็ง ???




>>   0   >>   1    >>   2   >>   3   >>   4   >>
In some children, younger than 12-18 mo,
     Kernig and Brudzinski signs are not
     consistently present.


>>          0         >>           1            >>   2   >>   3   >>   4   >>
Clinical Manifestations
     • Increased ICP is suggested by headache, emesis, bulging fontanel or
       diastasis (widening) of the sutures, oculomotor or abducens nerve
       paralysis, and papilledema.




>>       0      >>       1       >>       2      >>       3      >>          4   >>
Meningitis
     1. Bacterial meningitis
     2. Viral meningitis
     3. TB meningitis
     4. Fungal meningitis


>>   0    >>    1    >>        2   >>   3   >>   4   >>
Normal healthy neonates may have as many as 30 leukocytes/mm3

>>    0      >>      1      >>       2      >>       3      >>       4   >>
>>   0   >>   1   >>   2   >>   3   >>   4   >>
Bacterial meningitis
                      สาเหตุและชนิดของเชือแบคทีเรี ยแบ่ งตามกลุ่มอายุ
                                         ้

 the first 2 mo of life
 Gram positive : Group B streptococcus, Group D streptococcus
 Gram negative : Listeria monocytogenes , E. coli, Enterobacter spp.
     children 2 mo-12 yr of age
                       S. pneumoniae, N. meningitidis, or H. influenzae type b (Hib)
                       Salmonella (<6 mo.)
          H. influenzae type b vaccines and conjugated pneumococcal vaccine,
     beginning at about 2 mo. of age >> The incidence of H. influenzae type b
     meningitis dropped precipitously.

>>       0       >>         1       >>         2       >>        3      >>     4       >>
Bacterial meningitis
• Otitis media infection ,cochlear transplantation >>
  S. pneumoniae
• Splenic dysfunction (sickle cell anemia) or asplenia is
  associated with an increased risk of S. pneumoniae,
  H. influenzae type b
• Lumbosacral dermal sinus and meningomyelocele >>
  staphylococcal and gram-negative enteric
• Meningocele, head injury, ผ่ าตัดศีรษะ >> H. influenzae type b

>>    0     >>     1      >>     2     >>      3     >>      4     >>
Bacterial meningitis
 Treatment : initial(empirical) antibiotic >> sensitivity
  o Specific treatment
        should receive antibiotics immediately after an LP is performed.
        If there are signs of increased ICP or focal neurologic findings
         antibiotics should be given without performing an LP and before
         obtaining a CT scan.
     o Supportive and symptomatic treatment :
        Fever ,control vital sign, fluid imbalance , electrolyte imbalance,
         cardiovascular instability,etc.
     o Preventive complication
        Seizures, increased ICP, cranial nerve palsies, stroke, Depressed
         level of consciousness, SIADH
>>      0      >>        1       >>        2       >>        3       >>        4   >>
Bacterial meningitis
 Treatment                                               .
     กลุ่มอายุ                      เชือที่พบบ่ อย
                                       ้                            ยาปฏิชีวนะเบืองต้ น
                                                                                 ้
     ทารกแรกเกิด                    Gram negative, Group B          Cefotaxime + ampicillin
                                    streptococcus, Group D
                                    streptococcus

     ทารกและเด็กเล็ก                H. influenzae, S.               Cefotaxime or ceftriaxone
                                    pneumoniae, N.                   ± vancomycin *
                                    meningitidis, Salmonella         ± ciprofloxacin**

     เด็กโต > 5 ปี และผู้ใหญ่       S. pneumoniae, N.               Cefotaxime or ceftriaxone
                                    meningitidis

 *เมื่ อสงสัย drug resistant S. pneumoniae ** เมื่อสงสัย drug resistant Salmonella

>>        0        >>           1       >>           2         >>        3        >>            4   >>
Bacterial meningitis
         ยาปฏิชีวนะที่ใช้ สาหรับเชือต่ างๆ และระยะเวลาที่ให้
                                   ้




>>   0     >>       1      >>      2      >>      3      >>    4   >>
viral meningitis
     • Enteroviruses cause more than 80% of all cases of meningitis (Enterovirus 71,
       Poliovirus, Coxackie viruses)
     • Mumps
     • Herpes simplex virus
     • Other virus (Rabies, CMV, HIV-1, EBV)
Treatment o No specific treatment (Except.Herpes simplex virus >> Acyclovir)
                  o supportive and symptomatic relief.
                     • Analgesic with rest
                     • Acetaminophen : fever
                     • reduction in room light, noise, and visitors.
                     • Intravenous fluids : poor oral intake.

>>        0       >>       1       >>       2       >>       3         >>     4    >>
Tuberculous meningitis
      • เกิดจากเชือ Mycobacterium tuberculosis
                  ้
     Pathophysiology
            เริ่มจาก primary TB ในอวัยวะอื่นๆของร่ างกาย เช่ น
        Pulmonary TB, TB lymph node เชือผ่ านทางหลอดเลือดดา
                                         ้
        กระจายเข้ าสู่ CNS และไปยังเยื่อหุ้มสมอง
     Investication
      • ตรวจพบการติดเชือ TB ที่อ่ นของร่ างกาย,
                           ้        ื
        CXR ผิดปกติ 60-90 % มักพบ hilar node โต
      • Tuberculin skin test - 70% positive
      • PCR --> sensitivity & specificity สูง
>>       0     >>      1     >>      2     >>      3     >>      4   >>
Tuberculous meningitis
Treatment
     • Specific treatment : 2HRZE or 2HRZS then HR 7 – 10 month
     • Supportive treatment
       - Corticosteroid (Dexamethasone (0.5 mg/kg/day) แบ่ งทุก 6 ชั่วโมง )
            - ลด IICP, Brain edema
            - ลด Basal arachnoiditis --> ลด hydrocephalus
       - IV fluid & electrolyte
       - Rehabilitation & Physical therapy




>>       0      >>       1       >>       2       >>       3      >>          4   >>
Fungal meningitis
      •   Cryptococcal meningitis
      •   Candidiasis                     Immunocompromised host
      •   Cerebral aspergillosis
      •   Nocardiasis
 Investication
     CSF : indian ink          encapsulated yeast  Cryptococcal meningitis
         : gram stain          budding yeast           Candidiasis
         : modified acid fast  branching filamentous bacteria  Nocardiasis
         : GMS stain           septate hyphae with acute-angle  Cerebral
                                branching                         aspergillosis

>>        0      >>       1      >>      2       >>      3      >>       4    >>
Fungal meningitis




>>   0    >>    1   >>   2   >>   3   >>   4   >>
Fungal meningitis
Treatment

     Cryptococcal meningitis      amphotericin B 1 mg/kg/day IV for 6 wks.

     Candidiasis                  amphotericin B 1 mg/kg/day IV for 10-14 day
                                  + 5- fluorocytosine 200 mg/kg/day oral for 6-9 wks.

     Cerebral aspergillosis       voriconazole 6 mg/kg twice at 12-h intervals
                                  (loading doses) followed by 4 mg/kg q12h.
     Nocardiasis                  cotrimoxazole (trimethoprim 10-12 mg/day)
                                   4-6 wks.


>>        0        >>         1      >>        2      >>        3       >>       4      >>
Prevention
              Primary prevention                         Chemoprophylaxis
H. INFLUENZAE Hib conjugate vaccine beginning at         rifampin 20 mg/kg/day
TYPE B        2 mo of age                                (adult 600 mg/day) 4 days
S. pneumoniae • Pneumococcal conjugated vaccine
              (PCV7) ในเด็กอายุต่ากว่ า 2 ปี
              • PPV23 ในเด็กอายุ 2 ขึนไป     ้
N. menigitis  Meningococal polysaccharide vaccine        rifampin 10 mg/kg/dose
              ใช้ ในเด็กที่มีอายุ > 2 ปี ขึนไป
                                           ้             bid 2 days
TB meningitis BCG                                        Isoniazid 5 -10 mg/kg/day
                                                         6 months
Viral meningitis    MMR, varicella-zoster vaccine

>>       0         >>      1      >>        2       >>     3      >>        4    >>
Encephalitis
         An inflammation of the brain parenchyma, presents as diffuse
 and/or focal neuropsychological dysfunction. Although it primarily
 involves the brain, the meninges are frequently involved
                            “ meningoencephalitis ”
     1. Direct viral invasion
     Extraneural phase : viral >> lymphatic system <-> Blood circulation
     organ >> Neural phase = encephalitis
             • Enterovirus
             • Arbovirus
             • Herpes virus type I – II
>>       0      >>      1      >>       2     >>       3      >>      4    >>
Encephalitis
     2. ADEM (Acute disseminated encephalomyelitis)
            postinfectious encephalitis
            - เกิดร่ วมกับการติดไวรัสเฉพาะบางชนิด เช่ น measles ,
     chickenpox เป็ นต้ น
            - post vaccination เช่ น rabies , measles




>>      0     >>       1     >>      2      >>      3     >>        4   >>
encephalitis




>>   0    >>   1   >>   2   >>   3   >>   4   >>
encephalitis
     Clinical Manifestations
             The classic presentation is encephalopathy with diffuse or
     focal neurologic symptoms, including the following:
             • Behavioral and personality changes, with decreased level of
             consciousness
             • Neck pain, stiffness
             • Photophobia
             • Lethargy
             • Generalized or focal seizures (60% of children with CE)
             • Acute confusion or amnestic states
             • Flaccid paralysis (10% of patients with WNE)

>>       0      >>      1      >>       2     >>       3      >>      4      >>
encephalitis
     Investigation
      1. Lumbar puncture : CSF profile




>>      0     >>       1     >>      2   >>   3   >>   4   >>
encephalitis
     Investigation
      2. การวินิจฉัยจาเพาะของแต่ ละเชือ เช่ น PCR หรือ CSF culture
                                      ้
      3. serology หาปฏิกริยาภูมิต้านทานในเลือด
                           ิ
      4. stool culture : enterovirus

      Treatment
         o No specific treatment
           (Except.Herpes simplex virus >> Acyclovir 10-15mg,/kg. q 8 hrs.
           x 21 days ) ผู้ป่วยรายนี ้ นน.13 kg. ได้ 120 mg iv. q 8 hrs.
         o Prevent or relief brain edema
         o supportive and symptomatic relief


>>      0      >>       1      >>        2      >>       3       >>          4   >>
Japanese encephalitis : JE
     ไข้ สมองอักเสบ
             เป็ นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเจอีที่สมอง โดยมีพาหะสาคัญ คือ
     ยุงราคาญ ชนิด Culex tritaeniorrhynchus ซึ่งมักแพร่ พนธุ์ในนา     ั
     ข้าว โรคนี้เป็ นโรคสมองอักเสบ ชนิดที่พบบ่อยที่สุดในประเทศไทย
        การติดต่ อ : โรคนี้มีหมูเป็ นรังโรค เชื้อไวรัสจะ
     เพิ่มจานวนในหมูอย่างรวดเร็ วโดยไม่มีอาการป่ วย
     เมื่อยุงราคาญชนิดที่เป็ นพาหะ มากัดและดูดเลือด
     ไวรัสจะเข้าไปฟักตัวเพิ่มจานวนในยุง ซึ่งจะแพร่
     โรคไปให้คนหรื อสัตว์ท่ีถกกัดได้ เช่น ม้า วัว ควาย แพะ แกะ และนก เป็ นต้น
                                ู
>>        0      >>       1      >>       2       >>      3       >>       4    >>
Japanese encephalitis : JE
     อาการ
               ผูที่ได้รับเชื้ออาจมี หรื อไม่มีอาการป่ วยก็ได้ ประมาณว่าผูติดเชื้อ 300 คน อาจป่ วยเป็ นโรคนี้
                  ้                                                       ้
       ได้ 1 คน ผูป่วยมักแสดงอาการหลังได้รับเชื้อ 5-15 วัน ในระยะแรกจะมีไข้สูง อาเจียน ปวด
                        ้
       ศีรษะ อ่อนเพลีย ซึ่งจะกินเวลา 1-7 วัน (ส่ วนใหญ่ 2-3 วัน) หลังจากนั้น จะมีอาการทางสมอง
       เช่น คอแข็ง สติสมปชัญญะเลวลง ซึม เพ้อคลัง ชักหมดสติ หรื อมือสัน อัมพาต ระยะนี้กินเวลา 3-6
                               ั                          ่                      ่
       วัน ผูที่มีอาการรุ นแรงอาจถึงตายได้ในระยะนี้ (อัตราการตายร้อยละ 15-30 ของผูป่วย) หลังจาก
                ้                                                                            ้
       นั้นไข้จะค่อยๆลดลงสู่ปกติ และอาการทางสมองจะค่อยๆดีข้ ึน แต่ประมาณครึ่ งหนึ่งของผูป่วยที่รอด้
       ชีวตจะยังมีความผิดปกติทางสมองเหลือ อยู่ เช่น เกร็ ง อัมพาต ชัก ปัญญาอ่อน หงุดหงิดง่าย พูดไม่ชด
           ิ                                                                                               ั
       เป็ นต้น
     การวินิจฉัย
                                          ่
             วินิจฉัยจากประวัติการอยูอาศัย หรื อเข้าไปในแหล่งระบาดของโรค อาการและการตรวจร่ างกาย
       ผูป่วย การวินิจฉัยที่แน่นอนทาได้โดยการเจาะเลือดและน้ าไขสันหลัง เพื่อตรวจหาเชื้อไวรัสและภูมิ
         ้
       ต้านทานต่อเชื้อไวรัสเจอี

>>           0        >>           1         >>           2         >>           3         >>           4       >>
Japanese encephalitis : JE
     การรักษา
           เนื่องจากปัจจุบนยังไม่มียารักษาโรคนี้โดยเฉพาะ ดังนั้นจึงมุ่งรักษาตามอาการ และป้ องกันโรค
                              ั
       แทรกซ้อนในระยะที่มีอาการทางสมอง
     การป้ องกัน
           หลังจากที่ประเทศญี่ปุ่น จีน เกาหลี ได้ใช้วคซีนป้ องกันโรคนี้ พบว่าผูป่วยในประเทศดังกล่าว
                                                         ั                     ้
       ลดลงอย่างมาก วัคซี นป้ องกันโรคที่มีใช้ในประเทศไทยในปัจจุบน เป็ นวัคซีนที่ผลิตจากไวรัสที่ทาให้
                                                                         ั
       ตาย แล้วใช้ฉีดเข้าใต้ผวหนัง
                                ิ
       รวม 3 ครั้ง โดย 2 ครั้งแรกฉีดห่ างกัน 1 สั ปดาห์ และครั้งที่ 3 ห่ างจากครั้งที่ 2 นาน 1 ปี
       ปัจจุบนองค์การเภสัชกรรมสามารถผลิตวัคซีนได้ และกระทรวงสาธารณะสุ ขมีโครงการที่จะฉี ดให้
                ั
       เด็กตั้แต่อายุ 1 ปี ขึ้นไปทุกคน
                สาหรับการป้ องกันอื่นๆ เช่น กาจัดยุง ป้ องกันไม่ให้ยงกัด และควบคุมการเลี้ยงหมูเป็ นไปได้
                                                                    ุ
       ยาก เนื่องจากประเทศไทยเป็ นประเทศกสิ กรรม มีการทานา และเลี้ยงหมูอยูทวไป    ่ ั่
           ผูที่จะเข้าไปในแหล่ง ระบาดของโรค และไม่เคยได้รับวัคซีน ควรได้รับวัคซีนอย่างน้อย 2 ครั้ง
              ้
       โดยครั้งหลังควรได้รับก่อนเข้าไปแหล่งระบาด 2 สัปดาห์
>>        0         >>          1         >>          2         >>          3         >>          4        >>
Reference
     • Robert M. Kliegman , Nelson textbook of pediatrics, 19th edition, 2007.
     • Children and Infants with Bacterial Meningitis - Acute Management. 2005.
     • ปั ญหาโรคเด็กที่พบบ่ อย ศรี ศุภลักษณ์ สิงคาลวนิช , ชัยสิทธิ์ แสงทวีศิลป.     ์
       สถาบันสุขภาพเด็กแห่ งชาติมหาราชินี, กรมการแพทย์ กระทรวง
       สาธารณสุข.
     • สาหรี จิตตินันทน์ . ตารากุมารเวชศาสตร์ เล่ ม 3. พิมพ์ ครังที่ 1. เรื อนแก้ วการ
                                                                ้
       พิมพ์ . กรุ งเทพฯ : ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
       มหาวิทยาลัย, 2542.
     • กุมารเวชศาสตร์ สาหรั บนักศึกษาแพทย์ เล่ ม 2. โรคติดเชือในระบบประสาท
                                                                  ้
       ส่ วนกลาง. 2553.

>>         0       >>        1       >>        2       >>       3        >>       4      >>

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Prachaya Sriswang
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injurySiwaporn Khureerung
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental testtaem
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กAiman Sadeeyamu
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)Utai Sukviwatsirikul
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 

Was ist angesagt? (20)

22
2222
22
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injury
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental test
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 

Andere mochten auch

ACUTE MENINGOENCEPHALITIS
ACUTE MENINGOENCEPHALITISACUTE MENINGOENCEPHALITIS
ACUTE MENINGOENCEPHALITISNikhil Chauhan
 
Meningoencephalitis in pediatric
Meningoencephalitis in pediatricMeningoencephalitis in pediatric
Meningoencephalitis in pediatricJohn Nyeho
 
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute MeningoencephalitisClinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute MeningoencephalitisUtai Sukviwatsirikul
 
Chronic bacterial & viral meningoencephalitis (2)
Chronic bacterial & viral meningoencephalitis (2)Chronic bacterial & viral meningoencephalitis (2)
Chronic bacterial & viral meningoencephalitis (2)Mohammad Manzoor
 
Do we-know-it-all!!!
Do we-know-it-all!!!Do we-know-it-all!!!
Do we-know-it-all!!!Rajul Vasa
 
Rehabilitation Aids & Hospital Furniture
Rehabilitation Aids & Hospital FurnitureRehabilitation Aids & Hospital Furniture
Rehabilitation Aids & Hospital FurnitureJindal Medi Surge
 
National guidelines on pediatric TB
National guidelines on pediatric TBNational guidelines on pediatric TB
National guidelines on pediatric TBAbhijeet Deshmukh
 
Young Scientist Expo & Family Carnival 2012
Young Scientist Expo & Family Carnival 2012 Young Scientist Expo & Family Carnival 2012
Young Scientist Expo & Family Carnival 2012 Arsal Shaikh
 
Cns infection2016
Cns infection2016Cns infection2016
Cns infection2016Walaa Manaa
 
Dengue virus – a flavivirus
Dengue virus – a flavivirusDengue virus – a flavivirus
Dengue virus – a flavivirusAmnafaiqa3
 

Andere mochten auch (20)

ACUTE MENINGOENCEPHALITIS
ACUTE MENINGOENCEPHALITISACUTE MENINGOENCEPHALITIS
ACUTE MENINGOENCEPHALITIS
 
Meningoencephalitis in pediatric
Meningoencephalitis in pediatricMeningoencephalitis in pediatric
Meningoencephalitis in pediatric
 
Meningitis
MeningitisMeningitis
Meningitis
 
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute MeningoencephalitisClinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
 
Floppy infant syndrome
Floppy infant syndromeFloppy infant syndrome
Floppy infant syndrome
 
Encephalitis ppt
Encephalitis pptEncephalitis ppt
Encephalitis ppt
 
Meningitis And Encephalitis
Meningitis And EncephalitisMeningitis And Encephalitis
Meningitis And Encephalitis
 
Chronic bacterial & viral meningoencephalitis (2)
Chronic bacterial & viral meningoencephalitis (2)Chronic bacterial & viral meningoencephalitis (2)
Chronic bacterial & viral meningoencephalitis (2)
 
Do we-know-it-all!!!
Do we-know-it-all!!!Do we-know-it-all!!!
Do we-know-it-all!!!
 
Rehabilitation Aids & Hospital Furniture
Rehabilitation Aids & Hospital FurnitureRehabilitation Aids & Hospital Furniture
Rehabilitation Aids & Hospital Furniture
 
meningtitis
meningtitismeningtitis
meningtitis
 
Dr Jill Kisler
Dr Jill KislerDr Jill Kisler
Dr Jill Kisler
 
National guidelines on pediatric TB
National guidelines on pediatric TBNational guidelines on pediatric TB
National guidelines on pediatric TB
 
Orientation 551495 : Primary Medical Care
Orientation 551495 : Primary Medical CareOrientation 551495 : Primary Medical Care
Orientation 551495 : Primary Medical Care
 
Young Scientist Expo & Family Carnival 2012
Young Scientist Expo & Family Carnival 2012 Young Scientist Expo & Family Carnival 2012
Young Scientist Expo & Family Carnival 2012
 
Cns infection2016
Cns infection2016Cns infection2016
Cns infection2016
 
Meningitis y encefalitis
Meningitis y encefalitis Meningitis y encefalitis
Meningitis y encefalitis
 
Dengue virus – a flavivirus
Dengue virus – a flavivirusDengue virus – a flavivirus
Dengue virus – a flavivirus
 
Acute meningoencephalitis
Acute meningoencephalitisAcute meningoencephalitis
Acute meningoencephalitis
 
Meningitis
MeningitisMeningitis
Meningitis
 

Ähnlich wie Topic meningoecephalitis

คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zosterAimmary
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-polyAimmary
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรtaem
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCCAPD AngThong
 
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาการให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาZiwapohn Peecharoensap
 

Ähnlich wie Topic meningoecephalitis (20)

คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
ระบาด
ระบาดระบาด
ระบาด
 
Example osce
Example osceExample osce
Example osce
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Case01
Case01Case01
Case01
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
Vis ipv
Vis ipvVis ipv
Vis ipv
 
Vis hpv
Vis hpvVis hpv
Vis hpv
 
Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34
 
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาการให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
 

Topic meningoecephalitis

  • 1. Meningoencephalitis อ.ที่ปรึกษา : อ.พญ.ญาศินี อภิรักษ์ นภานนท์ จัดทาโดย : นสพ.ณัฐพงษ์ พุทธวงค์ นิสิตแพทย์ชนปี ที่ 4 ศูนย์แพทยศาสตร์ ชนคลินิก รพ.แพร่ ั้ ั้ >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 2. Personal data  ซักประวัติตรวจร่ างกายผู้ป่วย และมารดาผู้ป่วย ซึ่งอาศัยอยู่บ้านเดียวัน เลียงดูผู้ป่วยตั้งแต่ เกิด ใบส่ งตัว แฟมเวชระเบียนผู้ป่วย เชื่อถือได้ มาก ้ ้  ผู้ป่วยเด็กชายไทย อายุ 2 ปี 5 เดือน  วันที่รับนอนในโรงพยาบาล : 10/5/55  วันทีจาหน่ ายออกโรงพยาบาล : 24/5/55 ่ >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 3. Chief complaint มีไข้ 4 วัน ก่ อนมาโรงพยาบาล >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 4. Present illness : 4 วัน ก่ อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีไข้ ไอมีเสมหะสีขาว มีนามูกใส กินได้ ลดลง บ่ นปวดศีรษะ ไปตรวจรักษาที่คลินิก ้ เอกชน ได้ ยาลดไข้ ยาลดนามูก และยาแก้ อักเสบแบบผงผสม ้ นา (ไม่ ได้ นายามาด้ วย)มารับประทาน อาการไม่ ดขึน ้ ี ้ : 2 วัน ก่ อนมาโรงพยาบาล ยังมีไข้ สูง นอนทังวัน ดูเพลีย ้ มาก กินอาหารกินนมไม่ ได้ เลย อาเจียน ไปตรวจรักษาที่ โรงพยาบาลสูงเม่ น ได้ ยา คือ >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 5. Present illness : paracetamol syrup 1 tsp o prn amoxicillin syrup 1 tsp o tid pc domperidone syrup 1 tsp o tid ac อาการไม่ ดขน มารดาดูผ้ ูป่วยซึมลง ไม่ พูด ไม่ เล่ น ไม่ กิน ี ึ้ อะไรเลย อ่ อนเพลียมาก (ปกติเป็ นเด็กร่ าเริง พูดเก่ ง) : 1 วัน ก่ อนมาโรงพยาบาล ไปตรวจรักษาที่โรงพยาบาล แพร่ คริสเตียน ผู้ป่วยเริ่มรู้สึกตัว เล่ นเองได้ บ้าง นั่งเองได้ แต่ ยง ั ยืน,เดินไม่ ได้ ไม่ พูด กินนมและอาหารได้ เล็กน้ อย >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 6. Present illness : วันนี ้ ก่ อนมาโรงพยาบาล ไข้ ลงดี แต่ ยังซึมอยู่ ตาเหม่ อลอย อ่ อนเพลีย ไม่ มีแรง นั่ง,ยืน,เดินไม่ ได้ มีแขนกระตุกเป็ นบางครัง้ จึงถูกส่ งตัวมารักษาต่ อที่โรงพยาบาลแพร่ >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 7. Present illness  ปฏิเสธลุยนา เข้ าป่ า เดินทางออกนอกพืนที่ ปฏิเสธโรคไข้ เลือดออก ้ ้ บริเวณใกล้ บ้าน  บ้ านเด็กคนนีมีเลียงสัตว์ เป็ นสุนัข ไม่ ได้ เลียงหมูและไม่ มีการเลียงหมูใน ้ ้ ้ ้ ละแวกบ้ าน  ไม่ มีประวัตต่ ุมนาใสขึนที่ใดในร่ างกายช่ วงก่ อนมีอาการ ไม่ เคยมีต่ ุมนาใส ิ ้ ้ ้ เป็ นๆหายๆ ไม่ มีประวัตไข้ ออกผื่นก่ อนหน้ าการป่ วยในครั งนี ้ ิ ้  ก่ อนหน้ าป่ วยครั งนีไม่ มีประวัตท้องเสียถ่ ายเหลวนามาก่ อน ้ ้ ิ  ไม่ มีประวัตไข้ หรื อไอเรื อรั งของคนในครอบครั ว ไม่ มีประวัตคนใน ิ ้ ิ ครอบครั วเป็ นวัณโรค  ผู้ป่วยอยู่ศูนย์ เด็กเล็ก ในศูนย์ ไม่ เคยมีใครป่ วยหรื อมีอาการแบบผู้ป่วย ไม่ มีเด็กในศูนย์ ป่วยเป็ นมือเท้ าปาก >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 8. Past history • ปฏิเสธโรคประจาตัวใดๆ • ปฏิเสธการใช้ ยาใดเป็ นประจา • ปฏิเสธประวัตผ่าตัด ิ • ปฏิเสธประวัตได้ รับอุบัตเหตุท่ ศีรษะ ิ ิ ี • เคยชัก 1 ครังจากไข้ สูงเมื่อ 2 เดือนที่ผ่านมา ้ >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 9. labor history มารดาตังครรภ์ ตอนอายุ 22 ปี ตังครรภ์ ครังแรก ไม่ เคยแท้ ง ก่ อน ้ ้ ้ หน้ านี ้ ฝากครรภ์ ท่ ี รพ.สิคว ก่ อนใกล้ คลอดมาฝากครรภ์ ต่อที่คลินิกหมอ ิ้ บุญโรจน์ ผลการตรวจเลือดปกติ ไม่ พบภาวะซีด ธาลัสซีเมีย ซิฟิลิส ตับ อักเสบบี เอชไอวี ระหว่ างตังครรภ์ ไม่ พบความผิดปกติใดๆ ้ คลอดเมื่ออายุครรภ์ 38 สัปดาห์ คลอดวิธีผ่าตัด เนื่องจากถุง นาคร่ าแตกก่ อนเจ็บครรภ์ แพทย์ บอกสายสะดือเสี่ยงพันคอเด็ก นาหนัก ้ ้ แรกคลอด 3,030 กรัม ความยาว 55 ซม. เส้ นรอบศรีษะ 33 ซม. Apgar score (1 นาที)9 (5 นาที)10 ไม่ มีความผิดปกติใดๆย้ ายมาอยู่กับมารดา หลังคลอด ไม่ มีตัวเหลือง ไม่ ได้ ส่องไฟ นอนโรงพยาบาล 3 คืน กลับบ้ าน พร้ อมมารดา >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 10. ประวัตเิ ลียงดูและอาหาร ้ หลังคลอดกินนมมารดา จนถึงอายุ 9 เดือน เปลี่ยนมากินนม ผงเนื่องจากมารดาต้ องไปทางาน ในช่ วงที่เปลี่ยนมาเป็ นนมผง ทานได้ ดีไม่ มีความผิดปกติใดๆ ไม่ มีอาเจียน หรือท้ องเสียถ่ ายเหลว ปั จจุบัน กินนมยี่ห้อ ดูโกร 1 พลัส มารดาเริ่มให้ ทานอาหารเสริมเป็ นข้ าบด ผสมผัก ไข่ แดง เนือสัตว์ บด ตอนอายุประมาณ 6 - 7 เดือน ผู้ป่วยกิน ้ ได้ ดี ผู้ป่วยได้ รับการเลียงดูโดยมารดา ถ้ ามารดาไม่ อยู่บ้านจะให้ ยาย ้ และอาสาวดูแล >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 11. ประวัติพฒนาการ ั ผู้ป่วยอายุ 2 ปี 5 เดือน พัฒนาการปกติสมวัย ประเมินตาม Denver II ประเมินเมื่อ 21 / 5 / 55 Language : พูดอ้ อแอ้ ตอนอายุ 5-6 เดือน พูดเป็ นคาๆเรี ยกแม่ พ่ อ ได้ ตอนอายุ 11 เดือน ปั จจุบันพูดประโยคสันๆ ได้ ดี สื่อสารรู้เรื่ อง บอกความต้ องการของตัวเองได้ ้ รู้ จักสีแดง สีเหลือง นับเลข 1 2 3 ได้ Personal-social : ใส่ เสือยืดได้ เอง ยังติดกระดุมไม่ ได้ บอกชื่อเพื่อนที่อยู่บริเวณใกล้ ้ บ้ านได้ แปรงฟั นได้ แต่ ต้องคอยช่ วย ล้ างมือเช็ดมือเองได้ ใส่ รองเท้ าสลับกันอยู่บ้าง Fine motor : ชูนิวโปงได้ ต่ อบล็อกได้ 3 ชิน ขีดเส้ นยุ่งๆได้ ้ ้ ้ Gross motor : เริ่มคว่าได้ ตอน อายุ 6 เดือน เกาะเดิน 9-10เดือน ปั จจุบันเดินได้ และ วิ่งได้ ขนลงบันไดเองได้ แต่ ต้องมีผ้ ูปกครองจับมือเพราะกลัวตกบันได โยนบอลได้ ึ้ >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 12. ประวัติรับวัคซีน ได้ รับครบตามกาหนดทุกครัง ไม่ ได้ รับวัคซีนเพิ่ม ไม่ มีปัญหาหลัง ้ การรับวัคซีน ไม่ มีไข้ ไม่ เคยไข้ ชัก แรกคลอด : BCG ,HBV1 2 เดือน : HBV2 ,DTP1 ,OPV1 4 เดือน : DTP2 ,OPV2 6 เดือน : HBV3 ,DTP3 ,OPV3 12 เดือน : MMR1 ,JE1 18 เดือน : DTP4 ,OPV4 ,JE2 นัดครั งต่ อไป 22 ก.ค.55 DTP5, OPV5, JE3 , MMR2 ้ >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 13. ประวัติครอบครัว บิดา มารดา ปฏิเสธโรคประจาตัวๆ ผู้ป่วยเป็ นบุตรคนเดียว ไม่ มีบุคคลในครอบครัวป่ วยเป็ นธาลัสซีเมีย หรือป่ วยเป็ นไข้ หวัด หรือ ป่ วยในลักษณะเดียวกับผู้ป่วย ไม่ มีสัตว์ เลียงในบ้ าน ้ ประวัตการใช้ ยา การแพ้ยา โรคภูมแพ้ ิ ิ ปฏิเสธการแพ้ ยา แพ้ อาหาร โรคภูมแพ้ ไม่ มียาใดที่ใช้ ประจา ิ ยาที่ได้ จากคลินิก : ยาลดไข้ ยาลดนามูก และยาแก้ อักเสบแบบผง ้ ผสมนา (ไม่ ได้ นายามาด้ วย) ้ >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 14. ประวัตการใช้ ยา การแพ้ยา โรคภูมแพ้ (ต่ อ) ิ ิ ยาที่ได้ จากโรงพยาบาลสูงเม่ น paracetamol syrup 1 tsp o prn amoxycilline syrup 1 tsp o tid pc domperridone syrup 1 tsp o tid ac ยาที่ได้ จากโรงพยาบาลแพร่ คริสเตียน paracetamol syrup 1 tsp o prn ibuprofen syrup 1 tsp o tid pc benadyl syrup 1 tsp o tid pc Cef-3 (50MKD) IV OD >>(ถ้ า dose meningitis ต้ อง 100 MKD) 5%D/N/3 IV drip >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 15. Review of system อาการทั่วไป : นอนเป็ นส่ วนมาก ตื่นมาร้ องไห้ งอแง กินนมน้ อยลงกิน ข้ าวน้ อยลง ไม่ มีนาหนักลดหรือเพิ่มผิดปกติ ้ ผิวหนังและผม : ไม่ มีผ่ ืน ไม่ มีผ่ ืนคัน ไม่ มีจุดเลือดออก ไม่ มีแผล อักเสบ ผิวไม่ แห้ งไม่ แตก ศีรษะ : ไม่ เคยรับอุบัตเหตุท่ ศีรษะ ไม่ มีร่องรอยที่ผิดปกติของศีรษะ ิ ี หู : ลืมตาได้ ตามเสียงเรียก ไม่ มีหนอง หรือเลือดไหลจากหู ตา : ไม่ มีตาแดง ไม่ มีขีตา เวลาร้ องไห้ นาตาไหลตามปกติไม่ มีตาแห้ ง ้ ้ ไม่ มีตาบวม จมูก : มีนามูกใส ไม่ มีเลือดกาเดา ไม่ เป็ นไซนัสอักเสบเรือรัง ้ ้ >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 16. Review of system ปากและคอหอย : มีแผลในปาก ปากไม่ แห้ ง ปากไม่ เขียว มุมปากไม่ มี แผล ไม่ มีนาลายไหลยืดตลอดเวลา ไม่ มีประวัตสาลักอาหาร ้ ิ คอ : ไม่ ก้อนที่คอโต คอแข็ง ระบบหัวใจและหลอดเลือด : ไม่ บวม ไม่ มีมือเท้ าเขียว ไม่ มีหายใจ หอบเหนื่อยเวลานอนราบ ระบบทางเดินอาหาร : กินนมกินอาหารได้ น้อยลงกว่ าเดิม ไม่ มี ท้ องเสียถ่ ายเหลว ไม่ มีถ่ายเป็ นมูกเลือด ไม่ มีท้องผูก ปกติถ่ายวัน ละ 1 ครัง มีอาเจียนบางครังเป็ นนมและกากอาหารไม่ มีสีดาหรือ ้ ้ เลือดปน ไม่ มีตัวเหลืองตาเหลือง >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 17. Review of system ระบบทางเดินปั สสาวะ : ปั สสาวะออกดี พุ่งเป็ นลา สีเหลืองใส ระบบประสาท : ไม่ เคยได้ รับอุบัตเหตุท่ ศีรษะ ไม่ เคยผ่ าตัดเสมอ แขน ิ ี กระตุก 2 ข้ าง เคยชักจากไข้ สูง 1 ครัง เมื่อ 2 เดือนก่ อน ้ ระบบกล้ ามเนือและกระดูก : ไม่ มีข้อบวมหรือผิดรูป ไม่ มีแผล ไม่ มี ้ กล้ ามเนือลีบ อ่ อนเพลีย แขนขาไม่ มีแรง นั่ง ยืน เดินเองไม่ ได้ ้ (ก่ อนป่ วยนั่ง ยืน เดินได้ ด) ี >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 18. Physical examination V/S : Body temp : 36.5 °c, PR: 82/mins, RR: 28/min, BP 160/60 mmHg ,O2sat 100% room air Weight : 12 kg(P 25 ), Height : 89 cm(P25-P50) GA : A thai boy, looked ill, drowsiness, crying no dyspnea, no pallor, no jaundice, no cyanosis Skin,hair.nail : no rash, no petechiae, no purpura, good skin turgor, no abnormal pigmentation, normal hair distribution, no koilonychia >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 19. Physical examination HEENT : Head : normocephalic without evidence of head trauma, no tenderness, no hydrocephalus Eyes : no pale conjunctiva, not injected, no ictericsclera, no eye retraction, no sunken eye ball, eye ground cannot test Ears : pinna no deformity pharynx, no tenderness, no discharge tympanic membrane intact >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 20. Physical examination HEENT : nose : no deformity, no tenderness, mucus clear discharge, no bleeding mouth and throat : normal lips, gum and tongue, oral ulcer, pharynx no injected, tonsil no enlargement or exudate neck : limitation range of motion, trachea in midline, no neck mass, no thyroid enlargement >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 21. Physical examination Cardiovascular system : PMI at 5st ICS Lt MCL, normal S1, S2 , regular rhythms, no murmur, peripheral pulse full grade 2+ all extremities Respiratory system : normal chest movement and expansion, no chest wall retraction, no adventitious sounds Abdomen : no surgical scar, no visible peristalsis, soft, no guarding, no tenderness, no mass, liver and spleen are not palpable >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 22. Physical examination Genitourinary system : kidney no palpable Nervous system : drowsiness, crying, E4V2M5 Cranial nerve I,VIII : not test II : pupil 3 mm. react to light both eyes III, IV, VI : no limitation of eye movement V : normal tone of temporalis and masetter muscle >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 23. Physical examination Cranial nerve VII : no facial muscle weakness IX, X : no deviation of uvula XI : no weakness of sternocleidomatoid and trapizius muscle XII : no tonnge deviation Sensory : can not test Motor : normal muscle tone, no muscular atrophy, motor power at least grade II all >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 24. Physical examination Meninges : Stiff neck - positive, Brudsinski - positive Kernig - can't evaluate Lymphatic system : no pitting edema, no lymphadenopathy >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 25. Positive finding จากประวัติ จากการตรวจร่ างกาย • Acute fever 4 day PTA • Alteration of conscious, E4V2M5 • ซึม ไม่ พูด • Neck : limit range of movement • ปวดศีรษะ • Neuro sign : stiff neck positive • คลื่นไส้ อาเจียน Brudsinski positive • ไปรั กษาที่คลินิกได้ ยามา รั บประทาน อาการไม่ ดีขน ึ้ Kernig can't evaluate • generalize tonic seizure • Productive cough • rhinorrhea >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 26. Negative finding • no rash • ปฏิเสธประวัตแพ้ ยา ิ • • ปฏิเสธประวัตใช้ ยาใดเป็ นประจา ิ • no diarrhea ,no dysuria • ปฏิเสธประวัตได้ รับอุบัตเหตุท่ ี ิ ิ • ได้ รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ไม่เคย ศีรษะ ได้ รับวัคซีนเสริมอื่นๆ • ปฏิเสธประวัตลุยนา เข้ าป่ า ิ ้ • ไม่ มีประวัติ head injuries, • ปฏิเสธโรคไข้ เลือดออกบริเวณ congenital heart disease , sinusitis, ใกล้ บ้าน otitis media , vascular malformation >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 27. Problem list Acute febrile illness with alteration of conscious with meningeal irritation sign with headache with generalize tonic seizure >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 28. Differential diagnosis Level of conscious Coma Stupor Obtundation Delirium Confusion >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 29. Differential diagnosis Alteration of conscious • Infection of central nervous system : Encephalitis, Meningitis • Cerebovascular disease : hemorrhage, infarction • Chemical : toxin, drug • Abnormal metabolism : electrolyte imbalance >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 30. Differential diagnosis  Meningoencephalitis • Brain abscess • Drug • Subarachnoid ( BZD, barbiturates ) hemorrhage • Seizure • Neck injury • Electrolyte imbalance • SLE >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 31. Differential diagnosis  Meningoencephalitis • bacteria • virus • parasite • fungus • TB >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 32. Differential diagnosis Meningoencephalitis Meningitis Encephalitis o fever meningeal irritation sign o fever o Headache o Headache o Nuchal rigidity o Alteration of conscious (neck stiffness) o Seizure o Photophobia o focal neurologic sign (intolerance of bright light) >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 33. Lab investigation for meningitis • CBC • BUN, Cr, LFT • PBS • UA,UC • CT brain • ESR, CPR • CSF • Stool exam • Blood sugar • Scrapings of skin lesions • Hemoculture • Anti-HIV >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 34. Plan for investigation CBC • เพื่อช่ วยในการวินิจฉัยโรค หาสาเหตุของไข้ , การติดเชือ โดยดู ้ จากจานวนของ WBC , ชนิดของ WBC • นอกจากนียังช่ วยประเมินภาวะ anemia, thrombocytopenia ้ ผล : WBC 11,790 /cu.mm. N 32 %, L 49.9%, M 8.7 %,E 9.1%, B 0.3% RBC Hb 13.2 g/dl, Hct 40.1 %, MCV 83.4 fl. Platelet 430,000 /cu.mm >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 35. Plan for investigation PBS เพื่อลักษณะรูปร่ าง ของส่ วนประกอบในเลือด เช่ น เม็ดเลือดแดง , เม็ดเลือดขาว และเกร็ดเลือด หากมีภาวะ bacterial infection จากการพบ band form , toxic granule, vacuolization หรือ virial infection บางชนิดจะพบ atypical lymphocyte ได้ ผล : WBC 12,000 /cu.mm. N 30 %, L 50 %, M 10 %,E 10%, B 0% RBC normochromic normocytic red cell Platelet adquate , no giant platelet >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 36. Plan for investigation BUN, Cr, electrolyte ,DTx เพื่อดูการทางานของไต และดูสมดุลเกลือแร่ ระดับนาตาล ใน ้ เลือด ซึ่งอาจเป็ นสาเหตุท่ทาให้ ภาวะความรู้สึกตัวที่ผิดปกติได้ ี ผล : BUN 10.5 mg/dl, Cr 0.6 mg/dl. Na 139.2 mmol/L, K 4.39 mmol/L, Cl 108 mmol/L, HCO3- 25 mmol/L, Ca 9.8 mmol/L, phosphorus 5.3 mmol/L, >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 37. Plan for investigation CT brain : เพื่อดูความผิดปกติบริเวณสมอง ช่ วยในการวินิจฉัยแยกโรคทา เช่ น Brain abscess, Subarachnoid hemorrhage, cerebovascular infaction * กรณีที่มีความดันในสมองสูง หรื อผู้ป่วยที่มี focal neurological signs or symptoms หรื อมี IICP, papilledema หรื อ coma ควรทา brain imagine ก่อนทา Lumbar puncture >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 38. Plan for investigation CT brain : ผล : Imp. meningoencephalitis with small vasculitis or infarction in right thalamus is first considered no well forming abscess or hydrocephalus >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 39. Plan for investigation Lumbar puncture : ข้ อบ่ งชี ้ 1. เพื่อการวินิจฉัย ได้ แก่ การติดเชื ้อในระบบประสาทส่วนกลาง subarachnoid hemorrhage การใส่สารทึบรังสีในการทา spinal cord imaging 2. เพื่อการรักษา ได้ แก่ การให้ ยาเข้ าน ้าไขสันหลัง การระบายน ้าไขสันหลัง เพื่อลดความดันในช่องกะโหลกศีรษะ >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 40. Plan for investigation Lumbar puncture : CSF profile หากลุ่มเชือ ้ โดยตรวจดูระดับ OP - CP, WBC, RBC, protein, lactate, sugar ซึ่งมีลักษณะต่ างกัน ตามการติดเชือแต่ ละชนิด ้ >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 41. Plan for investigation >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 42. Gram stain results of common bacteria causing bacterial meningitis >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 43. Plan for investigation Lumbar puncture : CSF 3 bottle - ถ้ าเลือดสีจางลงเรื่อยๆ >> Traumatic tap - ถ้ าเลือดสีสม่าเสมอ >> subarachnoid hemorrhage * ควรทา LP ทุกรายในผู้ป่วยที่สงสัยการติดเชือของเยื่อหุ้มสมอง ้ ถ้ าไม่ มีข้อห้ าม * repeat LP at 24–48 hours when clinical indicators of meningitis are present but CSF examination is normal. >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 44. Plan for investigation ข้ อควรระวัง / ข้ อห้ าม Lumbar puncture : 1. ห้ ามทาการเจาะตรวจน ้าไขสันหลัง ในกรณี - สงสัยไขสันหลังได้ รับภยันตรายหรื อถูกกด - มีการติดเชื ้อของผิวหนังในตาแหน่งที่จะเจาะตรวจ 2. กรณีที่มีความดันในสมองสูง หรื อผู้ป่วยที่มี focal neurological signs or symptoms หรื อมี papilledema ควรทา brain imagine ก่อน และ ถ้ าพบว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิด cerebral herniation ให้ งดเจาะตรวจ และถ้ าสงสัยการติดเชื ้อ ควรให้ ยาปฏิชีวนะไปก่อน >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 45. Plan for investigation ข้ อควรระวัง / ข้ อห้ าม Lumbar puncture : 3. กรณีที่มีภาวะหัวใจหรื อการหายใจล้ มเหลว การจัดท่าเพื่อทาการเจาะ น ้าไขสันหลังอาจทาให้ ผ้ ป่วยทารกและเด็กเล็ก มีปัญหาการหายใจได้ ู จึงต้ องทาอย่างระมัดระวังหรื อพิจารณาเลื่อนการเจาะน ้าไขสันหลัง ออกไปทาหลังจากที่อาการผู้ป่วยดีขึ ้น 4. การแข็งตัวของเลือดผิดปกติอย่างมาก ถ้ าจาเป็ นต้ องเจาะควรทาการ แก้ ไขก่อน ถ้ าปริมาณเกล็ดเลือดสูงกว่า100,000/mm3 สามารถเจาะ ตรวจน ้าไขสันหลังได้ >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 46. Plan for investigation Lumbar puncture : ผล : clear , Xanthochromia, no traumatic tap Cell dif. : RBC - /cu.mm. WBC 23 /cu.mm. all lymphocyte sugar 53 mg/dl (DTx 97 %) protein 33 mg/dl (albumin 3.6 mg/dl) gram’ s stain : not found organism , WBC rare CSF culture : no growth after 2 days >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 47. Plan for investigation 23 L all 33 53 - >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 48. Plan for investigation Hemoculture ควรทาทุกรายโดยเฉพาะในเด็กเล็ก เนื่องจากมีโอกาสพบเชือที่ ้ เป็ นสาเหตุ ร้ อยละ 50 ( CSF via lumbar puncture (LP) and hemocultures should be taken prior to antibiotic therapy) ผล : pending ยา antibiotic ที่ได้ จากโรงพยาบาลสูงเม่ น amoxicillin syrup 1 tsp o tid pc ยา antibiotic ที่ได้ จากโรงพยาบาลแพร่ คริสเตียน Cef-3 (50MKD) IV OD ?? dose meningitis >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 49. Plan for investigation U/A : ดูความผิดปกติของไต ภาวะติดเชือในทางเดินปั สสาวะ ้ ผล : yellow clear, protein negative, sugar negative pH 6.0 , Spgr. 1.020 RBC 0-1 /hpf, WBC 0-1 /hpf, epithelial cell 0-1 /hpf . U/C : เพื่อดูภาวะติดเชือในทางเดินปั สสาวะ และหา sensitivity ้ ของยาต่ อเชือนันๆ ้ ้ ผล : no growth after 2 days >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 50. Positive finding of investigation • CBC : WBC 11,790 /cu.mm. N 32 %, L 49.9%, M 8.7 %,E 9.1%, B 0.3% • PBS : Leukocytosis lymphocyte predominant • CT brain : Imp. meningoencephalitis with small vasculitis or infraction in right thalamus is first considered no well forming abscess or hydrocepalus • Lumbar puncture : CSF profile = viral meningitis >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 51. Definitive diagnosis viral meningoencephalitis >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 52. Meningitis เกิดจากการแพร่ กระจายของเชือ ้ จากส่ วนอื่นมายัง subarachnoid space โดยมาได้ หลายทาง ดังนี ้ - Hematogenous spread - Adjacent organ spread - Direct penetrating - Latrogenic >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 53. Pathophysiology • inflammatory response increased vascular permeability, alterations of the blood-brain barrier, increase ICP and vascular thrombosis, cerebral cortical necrosis Cerebral infarction. • Inflammation of spinal nerves and roots produces meningeal signs • inflammation of the cranial nerves produces cranial neuropathies of optic, oculomotor, facial, and auditory nerves. >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 54. Pathophysiology  Raised CSF protein levels loss of albumin-rich fluid from the capillaries and veins traversing the subdural space.  Hypoglycorrhachia (reduced CSF glucose levels) decreased glucose transport by the cerebral tissue.  If damage to the cerebral cortex • impaired consciousness, • motor and sensory deficits, • seizures, • later psychomotor retardation. • cranial nerve deficits, >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 55. Clinical Manifestations • Nonspecific findings include fever, anorexia and poor feeding, symptoms of upper respiratory tract infection, myalgias, arthralgias, tachycardia, hypotension, Seizures (focal or generalized), irritability, lethargy, stupor, photophobia (older children) • various cutaneous signs, such as • petechiae, purpura in H. influenzae type b, N meningitis • erythematous maculopapular rash in N meningitis, S. pneumoniae sepsis • Meningeal irritation is manifested as nuchal rigidity, back pain, Kernig sign and Brudzinski sign >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 56. • Fever may have cold hand and feet • unusual crying • very sleepy with a reluctance to wake up • vomiting • loss of appetite, refusing feeds • pale and blotchy skin >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 57. >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 58. meningeal irritation sign Meningism is the triad of 1. Nuchal rigidity (neck stiffness) 2. Photophobia (intolerance of bright light) 3. Headache PE Stiff neck - positive, Brudsinski - positive Kernig - can't evaluate >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 59. คอแข็ง ??? >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 60. In some children, younger than 12-18 mo, Kernig and Brudzinski signs are not consistently present. >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 61. Clinical Manifestations • Increased ICP is suggested by headache, emesis, bulging fontanel or diastasis (widening) of the sutures, oculomotor or abducens nerve paralysis, and papilledema. >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 62. Meningitis 1. Bacterial meningitis 2. Viral meningitis 3. TB meningitis 4. Fungal meningitis >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 63. Normal healthy neonates may have as many as 30 leukocytes/mm3 >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 64. >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 65. Bacterial meningitis สาเหตุและชนิดของเชือแบคทีเรี ยแบ่ งตามกลุ่มอายุ ้ the first 2 mo of life Gram positive : Group B streptococcus, Group D streptococcus Gram negative : Listeria monocytogenes , E. coli, Enterobacter spp. children 2 mo-12 yr of age S. pneumoniae, N. meningitidis, or H. influenzae type b (Hib) Salmonella (<6 mo.) H. influenzae type b vaccines and conjugated pneumococcal vaccine, beginning at about 2 mo. of age >> The incidence of H. influenzae type b meningitis dropped precipitously. >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 66. Bacterial meningitis • Otitis media infection ,cochlear transplantation >> S. pneumoniae • Splenic dysfunction (sickle cell anemia) or asplenia is associated with an increased risk of S. pneumoniae, H. influenzae type b • Lumbosacral dermal sinus and meningomyelocele >> staphylococcal and gram-negative enteric • Meningocele, head injury, ผ่ าตัดศีรษะ >> H. influenzae type b >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 67. Bacterial meningitis Treatment : initial(empirical) antibiotic >> sensitivity o Specific treatment should receive antibiotics immediately after an LP is performed. If there are signs of increased ICP or focal neurologic findings antibiotics should be given without performing an LP and before obtaining a CT scan. o Supportive and symptomatic treatment : Fever ,control vital sign, fluid imbalance , electrolyte imbalance, cardiovascular instability,etc. o Preventive complication Seizures, increased ICP, cranial nerve palsies, stroke, Depressed level of consciousness, SIADH >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 68. Bacterial meningitis Treatment . กลุ่มอายุ เชือที่พบบ่ อย ้ ยาปฏิชีวนะเบืองต้ น ้ ทารกแรกเกิด Gram negative, Group B Cefotaxime + ampicillin streptococcus, Group D streptococcus ทารกและเด็กเล็ก H. influenzae, S. Cefotaxime or ceftriaxone pneumoniae, N. ± vancomycin * meningitidis, Salmonella ± ciprofloxacin** เด็กโต > 5 ปี และผู้ใหญ่ S. pneumoniae, N. Cefotaxime or ceftriaxone meningitidis *เมื่ อสงสัย drug resistant S. pneumoniae ** เมื่อสงสัย drug resistant Salmonella >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 69. Bacterial meningitis ยาปฏิชีวนะที่ใช้ สาหรับเชือต่ างๆ และระยะเวลาที่ให้ ้ >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 70. viral meningitis • Enteroviruses cause more than 80% of all cases of meningitis (Enterovirus 71, Poliovirus, Coxackie viruses) • Mumps • Herpes simplex virus • Other virus (Rabies, CMV, HIV-1, EBV) Treatment o No specific treatment (Except.Herpes simplex virus >> Acyclovir) o supportive and symptomatic relief. • Analgesic with rest • Acetaminophen : fever • reduction in room light, noise, and visitors. • Intravenous fluids : poor oral intake. >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 71. Tuberculous meningitis • เกิดจากเชือ Mycobacterium tuberculosis ้ Pathophysiology เริ่มจาก primary TB ในอวัยวะอื่นๆของร่ างกาย เช่ น Pulmonary TB, TB lymph node เชือผ่ านทางหลอดเลือดดา ้ กระจายเข้ าสู่ CNS และไปยังเยื่อหุ้มสมอง Investication • ตรวจพบการติดเชือ TB ที่อ่ นของร่ างกาย, ้ ื CXR ผิดปกติ 60-90 % มักพบ hilar node โต • Tuberculin skin test - 70% positive • PCR --> sensitivity & specificity สูง >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 72. Tuberculous meningitis Treatment • Specific treatment : 2HRZE or 2HRZS then HR 7 – 10 month • Supportive treatment - Corticosteroid (Dexamethasone (0.5 mg/kg/day) แบ่ งทุก 6 ชั่วโมง ) - ลด IICP, Brain edema - ลด Basal arachnoiditis --> ลด hydrocephalus - IV fluid & electrolyte - Rehabilitation & Physical therapy >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 73. Fungal meningitis • Cryptococcal meningitis • Candidiasis Immunocompromised host • Cerebral aspergillosis • Nocardiasis Investication CSF : indian ink  encapsulated yeast  Cryptococcal meningitis : gram stain  budding yeast  Candidiasis : modified acid fast  branching filamentous bacteria  Nocardiasis : GMS stain  septate hyphae with acute-angle  Cerebral branching aspergillosis >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 74. Fungal meningitis >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 75. Fungal meningitis Treatment Cryptococcal meningitis amphotericin B 1 mg/kg/day IV for 6 wks. Candidiasis amphotericin B 1 mg/kg/day IV for 10-14 day + 5- fluorocytosine 200 mg/kg/day oral for 6-9 wks. Cerebral aspergillosis voriconazole 6 mg/kg twice at 12-h intervals (loading doses) followed by 4 mg/kg q12h. Nocardiasis cotrimoxazole (trimethoprim 10-12 mg/day) 4-6 wks. >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 76. Prevention Primary prevention Chemoprophylaxis H. INFLUENZAE Hib conjugate vaccine beginning at rifampin 20 mg/kg/day TYPE B 2 mo of age (adult 600 mg/day) 4 days S. pneumoniae • Pneumococcal conjugated vaccine (PCV7) ในเด็กอายุต่ากว่ า 2 ปี • PPV23 ในเด็กอายุ 2 ขึนไป ้ N. menigitis Meningococal polysaccharide vaccine rifampin 10 mg/kg/dose ใช้ ในเด็กที่มีอายุ > 2 ปี ขึนไป ้ bid 2 days TB meningitis BCG Isoniazid 5 -10 mg/kg/day 6 months Viral meningitis MMR, varicella-zoster vaccine >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 77. Encephalitis An inflammation of the brain parenchyma, presents as diffuse and/or focal neuropsychological dysfunction. Although it primarily involves the brain, the meninges are frequently involved “ meningoencephalitis ” 1. Direct viral invasion Extraneural phase : viral >> lymphatic system <-> Blood circulation organ >> Neural phase = encephalitis • Enterovirus • Arbovirus • Herpes virus type I – II >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 78. Encephalitis 2. ADEM (Acute disseminated encephalomyelitis) postinfectious encephalitis - เกิดร่ วมกับการติดไวรัสเฉพาะบางชนิด เช่ น measles , chickenpox เป็ นต้ น - post vaccination เช่ น rabies , measles >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 79. encephalitis >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 80. encephalitis Clinical Manifestations The classic presentation is encephalopathy with diffuse or focal neurologic symptoms, including the following: • Behavioral and personality changes, with decreased level of consciousness • Neck pain, stiffness • Photophobia • Lethargy • Generalized or focal seizures (60% of children with CE) • Acute confusion or amnestic states • Flaccid paralysis (10% of patients with WNE) >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 81. encephalitis Investigation 1. Lumbar puncture : CSF profile >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 82. encephalitis Investigation 2. การวินิจฉัยจาเพาะของแต่ ละเชือ เช่ น PCR หรือ CSF culture ้ 3. serology หาปฏิกริยาภูมิต้านทานในเลือด ิ 4. stool culture : enterovirus Treatment o No specific treatment (Except.Herpes simplex virus >> Acyclovir 10-15mg,/kg. q 8 hrs. x 21 days ) ผู้ป่วยรายนี ้ นน.13 kg. ได้ 120 mg iv. q 8 hrs. o Prevent or relief brain edema o supportive and symptomatic relief >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 83. Japanese encephalitis : JE ไข้ สมองอักเสบ เป็ นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเจอีที่สมอง โดยมีพาหะสาคัญ คือ ยุงราคาญ ชนิด Culex tritaeniorrhynchus ซึ่งมักแพร่ พนธุ์ในนา ั ข้าว โรคนี้เป็ นโรคสมองอักเสบ ชนิดที่พบบ่อยที่สุดในประเทศไทย การติดต่ อ : โรคนี้มีหมูเป็ นรังโรค เชื้อไวรัสจะ เพิ่มจานวนในหมูอย่างรวดเร็ วโดยไม่มีอาการป่ วย เมื่อยุงราคาญชนิดที่เป็ นพาหะ มากัดและดูดเลือด ไวรัสจะเข้าไปฟักตัวเพิ่มจานวนในยุง ซึ่งจะแพร่ โรคไปให้คนหรื อสัตว์ท่ีถกกัดได้ เช่น ม้า วัว ควาย แพะ แกะ และนก เป็ นต้น ู >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 84. Japanese encephalitis : JE อาการ ผูที่ได้รับเชื้ออาจมี หรื อไม่มีอาการป่ วยก็ได้ ประมาณว่าผูติดเชื้อ 300 คน อาจป่ วยเป็ นโรคนี้ ้ ้ ได้ 1 คน ผูป่วยมักแสดงอาการหลังได้รับเชื้อ 5-15 วัน ในระยะแรกจะมีไข้สูง อาเจียน ปวด ้ ศีรษะ อ่อนเพลีย ซึ่งจะกินเวลา 1-7 วัน (ส่ วนใหญ่ 2-3 วัน) หลังจากนั้น จะมีอาการทางสมอง เช่น คอแข็ง สติสมปชัญญะเลวลง ซึม เพ้อคลัง ชักหมดสติ หรื อมือสัน อัมพาต ระยะนี้กินเวลา 3-6 ั ่ ่ วัน ผูที่มีอาการรุ นแรงอาจถึงตายได้ในระยะนี้ (อัตราการตายร้อยละ 15-30 ของผูป่วย) หลังจาก ้ ้ นั้นไข้จะค่อยๆลดลงสู่ปกติ และอาการทางสมองจะค่อยๆดีข้ ึน แต่ประมาณครึ่ งหนึ่งของผูป่วยที่รอด้ ชีวตจะยังมีความผิดปกติทางสมองเหลือ อยู่ เช่น เกร็ ง อัมพาต ชัก ปัญญาอ่อน หงุดหงิดง่าย พูดไม่ชด ิ ั เป็ นต้น การวินิจฉัย ่ วินิจฉัยจากประวัติการอยูอาศัย หรื อเข้าไปในแหล่งระบาดของโรค อาการและการตรวจร่ างกาย ผูป่วย การวินิจฉัยที่แน่นอนทาได้โดยการเจาะเลือดและน้ าไขสันหลัง เพื่อตรวจหาเชื้อไวรัสและภูมิ ้ ต้านทานต่อเชื้อไวรัสเจอี >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 85. Japanese encephalitis : JE การรักษา เนื่องจากปัจจุบนยังไม่มียารักษาโรคนี้โดยเฉพาะ ดังนั้นจึงมุ่งรักษาตามอาการ และป้ องกันโรค ั แทรกซ้อนในระยะที่มีอาการทางสมอง การป้ องกัน หลังจากที่ประเทศญี่ปุ่น จีน เกาหลี ได้ใช้วคซีนป้ องกันโรคนี้ พบว่าผูป่วยในประเทศดังกล่าว ั ้ ลดลงอย่างมาก วัคซี นป้ องกันโรคที่มีใช้ในประเทศไทยในปัจจุบน เป็ นวัคซีนที่ผลิตจากไวรัสที่ทาให้ ั ตาย แล้วใช้ฉีดเข้าใต้ผวหนัง ิ รวม 3 ครั้ง โดย 2 ครั้งแรกฉีดห่ างกัน 1 สั ปดาห์ และครั้งที่ 3 ห่ างจากครั้งที่ 2 นาน 1 ปี ปัจจุบนองค์การเภสัชกรรมสามารถผลิตวัคซีนได้ และกระทรวงสาธารณะสุ ขมีโครงการที่จะฉี ดให้ ั เด็กตั้แต่อายุ 1 ปี ขึ้นไปทุกคน สาหรับการป้ องกันอื่นๆ เช่น กาจัดยุง ป้ องกันไม่ให้ยงกัด และควบคุมการเลี้ยงหมูเป็ นไปได้ ุ ยาก เนื่องจากประเทศไทยเป็ นประเทศกสิ กรรม มีการทานา และเลี้ยงหมูอยูทวไป ่ ั่ ผูที่จะเข้าไปในแหล่ง ระบาดของโรค และไม่เคยได้รับวัคซีน ควรได้รับวัคซีนอย่างน้อย 2 ครั้ง ้ โดยครั้งหลังควรได้รับก่อนเข้าไปแหล่งระบาด 2 สัปดาห์ >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>
  • 86. Reference • Robert M. Kliegman , Nelson textbook of pediatrics, 19th edition, 2007. • Children and Infants with Bacterial Meningitis - Acute Management. 2005. • ปั ญหาโรคเด็กที่พบบ่ อย ศรี ศุภลักษณ์ สิงคาลวนิช , ชัยสิทธิ์ แสงทวีศิลป. ์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่ งชาติมหาราชินี, กรมการแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข. • สาหรี จิตตินันทน์ . ตารากุมารเวชศาสตร์ เล่ ม 3. พิมพ์ ครังที่ 1. เรื อนแก้ วการ ้ พิมพ์ . กรุ งเทพฯ : ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2542. • กุมารเวชศาสตร์ สาหรั บนักศึกษาแพทย์ เล่ ม 2. โรคติดเชือในระบบประสาท ้ ส่ วนกลาง. 2553. >> 0 >> 1 >> 2 >> 3 >> 4 >>