SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 156
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
๑๔กรกฎาคม ๒๕๕๑
สารบัญ
หน้า
คานา
ทาไมต้องเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑
เรียนรู้อะไรในสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๒
คุณภาพผู้เรียน ๓
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ๖
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๖
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม ๔๓
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ ๕๘
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ ๗๒
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ ๙๐
อภิธานศัพท์ ๙๙
คณะผู้จัดทา ๑๒๗
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ทาไมต้องเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ดารงชีวิตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล
และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด
นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ
ทาให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง
และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ
และสังคมโลก
เรียนรู้อะไรในสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม
ที่ มี ค ว า ม เ ชื่ อ ม สั ม พั น ธ์ กัน แ ล ะ มี ค ว า ม แ ต ก ต่า ง กัน อ ย่าง ห ล า ก ห ล า ย
เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้
ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม โดยได้กาหนดสาระต่างๆไว้ ดังนี้
 ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรมจริยธรรม
ห ลั ก ธ ร ร ม ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ห รื อ ศ า ส น า ที่ ต น นั บ ถื อ
การนาหลักธรรมคาสอน ไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข
เ ป็ น ผู้ ก ร ะ ท า ค ว า ม ดี มี ค่ า นิ ย ม ที่ ดี ง า ม พั ฒ น า ต น เ อ ง อ ยู่ เ ส ม อ
รวมทั้งบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม
 ห น้ า ที่ พ ล เ มื อ ง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต
ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ท
ร ง เ ป็ น ป ร ะ มุ ข ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ค ว า ม ส า คั ญ ก า ร เ ป็ น พ ล เ มื อ ง ดี
ค ว า มแ ต ก ต่า ง แ ล ะ ค ว า มห ล าก ห ล าย ท า ง วัฒ น ธ ร ร ม ค่า นิ ย ม ค ว าม เชื่ อ
ปลูกฝั งค่านิ ยมด้าน ประ ชาธิปไตยอันมีพระ มห ากษัตริย์ ทรงเป็ น ประมุข สิ ทธิ ห น้าที่
เสรีภาพการดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก
 เศ รษ ฐศ าส ต ร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภ คสิ น ค้าและ บริ การ
การบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
และการนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน
 ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์
พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ
ผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต
ความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย แหล่งอารยธรรมที่สาคัญของโลก
 ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร
และภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั น ข อ ง สิ่ ง ต่ า ง ๆ ใ น ร ะ บ บ ธ ร ร ม ช า ติ
ความสัมพัน ธ์ของมนุ ษย์กับสภาพ แวดล้อ มทางธรรมช าติ และ สิ่ งที่มนุ ษย์สร้างขึ้ น
การนาเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ แ ล ะ เ ข้ า ใ จ ป ร ะ วั ติ ค ว า ม ส า คั ญ ศ า ส ด า
หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น
มี ศ รั ท ธ าที่ ถู ก ต้ อ ง ยึ ด มั่น แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ต าม ห ลั ก ธ ร ร ม
เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๑.๒ เ ข้ า ใ จ
ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนาหรื
อศาสนาที่ตนนับถือ
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ
ธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย
และ สังคมโลกอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา
และธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
และความจาเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์ เห ตุการณ์ต่าง ๆ
อย่างเป็นระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใ จพั ฒ น าก าร ข อ ง มนุ ษ ย ช าติ จ าก อ ดี ต จน ถึ ง ปั จ จุ บั น
ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง
ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจและธารงความเป็นไทย
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผล
ต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ในการค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด
การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
 ได้เรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเองและผู้ที่อยู่รอบข้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น
ที่อยู่อาศัย และเชื่องโยงประสบการณ์ไปสู่โลกกว้าง
 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะกระบวนการ และมีข้อมูลที่จาเป็นต่อการพัฒนาให้เป็น
ผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ประพฤติปฏิบัติตามหลักคาสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเป็นพลเมืองดี
มีความรับผิดชอบ การอยู่ร่วมกันและการทางานกับผู้อื่น มีส่วนร่วมในกิจกรรมของห้อง เรียน
และได้ฝึกหัดในการตัดสินใจ
 ได้ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัวโรงเรียน และชุมชนในลักษณะการบูรณาการ
ผู้ เ รี ย น ไ ด้ เ ข้ า ใ จ แ น ว คิ ด เ กี่ ย ว กั บ ปั จ จุ บั น แ ล ะ อ ดี ต
มีความรู้พื้นฐานทางเศรษฐกิจได้ข้อคิดเกี่ยวกับรายรับ-รายจ่ายของครอบครัว เข้าใจถึงการเป็นผู้ผลิต
ผู้บริโภค รู้จักการออมขั้นต้นและวิธีการเศรษฐกิจพอเพียง
 ได้รับการพัฒนาแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรมจริยธรรม หน้าที่พลเมือง
เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิปัญญา เพื่อเป็นพื้นฐานในการทาความเข้าใจในขั้นที่สูงต่อไป
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
 ได้เรียนรู้เรื่องของจังหวัด ภาค และประทศของตน เอง ทั้งเชิงประวัติศาสตร์
ลักษณะ ทาง กายภ าพ สังคม ประเพ ณี และวัฒ น ธรรม รวมทั้งการเมืองการปกครอง
สภาพเศรษฐกิจโดยเน้นความเป็นประเทศไทย
 ได้รับการพัฒนาความรู้และความเข้าใจ ในเรื่องศาสน า ศีลธรรม จริยธรรม
ปฏิ บัติตน ตามห ลักคาสอน ของ ศา สน าที่ ตน นั บถื อ รวมทั้ ง มีส่วน ร่วมศาส น พิ ธี
และพิธีกรรมทางศาสนามากยิ่งขึ้น
 ได้ศึกษาและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาทสิทธิหน้าที่ในฐานะพลเมืองดีของท้องถิ่น
จังหวัด ภาค และประเทศ รวมทั้งได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม
ของท้องถิ่นตนเองมากยิ่งขึ้น
 ได้ศึกษาเปรียบเทียบเรื่องราวของจังหวัดและภาคต่างๆของประเทศไทยกับประเทศเพื่อน
บ้าน ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรมจริยธรรมหน้าที่พลเมือง
เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์เพื่อขยายประสบการณ์ไปสู่การทาความเข้าใจ ในภูมิภาค
ซีกโลกตะวันออกและตะวันตกเกี่ยวกับศาสนา คุณธรรมจริยธรรมค่านิยมความเชื่อ ขนบธรรมเนียม
ป ร ะ เ พ ณี วัฒ น ธ ร ร ม ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต ก า ร จั ด ร ะ เ บี ย บ ท า ง สั ง ค ม
และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากอดีตสู่ปัจจุบัน
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
 ได้เรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบ
กับประเทศในภูมิภาคต่างๆในโลก เพื่อพัฒนาแนวคิด เรื่องการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
 ได้เรียนรู้และพัฒนาให้มีทักษะที่จาเป็นต่อการเป็นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒ
นาแนวคิด และขยายประสบการณ์ เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ
ในโลก ได้แก่เอเชีย โอเชียเนีย แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ในด้านศาสนา คุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒน ธรรม การเมืองการปกครอง
ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ และสังคมศาสตร์
 ได้รับการพัฒนาแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคตสามารถนามาใช้เป็นประโยชน์
ในการดาเนินชีวิตและวางแผนการดาเนินงานได้อย่างเหมาะสม
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
 ได้เรียนรู้และศึกษาความเป็นไปของโลกอย่างกว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น
 ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาตนเองเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม
ปฏิ บัติตามห ลัก ธรรมขอ ง ศาส น าที่ต น นั บ ถือ รวม ทั้ง มีค่านิ ยม อัน พึ ง ป ระ ส ง ค์
ส า ม า ร ถ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ ผู้ อื่ น แ ล ะ อ ยู่ ใ น สั ง ค ม ไ ด้ อ ย่ า ง มี ค ว า ม สุ ข
รวมทั้งมีศักยภาพเพื่อการศึกษาต่อในชั้นสูงตามความประสงค์ได้
 ได้เรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทย
ยึดมั่นในวิถีชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
 ได้รับการส่งเสริมให้มีนิสัยที่ดีในการบริโภคเลือกและตัดสินใจบริโภคได้อย่างเหมาะสม
มีจิตสานึ ก และ มีส่วน ร่วมใ น การอนุ รักษ์ ประ เพ ณีวัฒ น ธรรมไทย และ สิ่ งแวดล้อม
มีความรักท้องถิ่นและประเทศชาติ มุ่งทาประโยชน์ และสร้างสิ่งที่ดีงามให้กับสังคม
 เป็ น ผู้มีความรู้ความสามารถใน การจัดการเรียนรู้ของตน เอง ชี้น าตน เองได้
และสามารถแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆในสังคมได้ตลอดชีวิต
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ ๑ ศาสนาศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม
เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๑ ๑. บอกพุทธประวัติ
หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือโดยสัง
เขป
 พุทธประวัติ
 ประสูติ
 ตรัสรู้
 ปรินิพพาน
๒.
ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดาเนินชีวิต
และข้อคิดจากประวัติสาวก
ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตาม
ที่กาหนด
 สามเณรบัณฑิต
 วัณณุปถชาดก
 สุวัณณสามชาดก
 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว
ภูมิพลอดุลยเดช
 เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (หนูพร้อม)
๓. บอกความหมาย ความสาคัญ
และเคารพพระรัตนตรัย
ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท
 พระรัตนตรัย
 ศรัทธา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
 โอวาท ๓
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๓ในพระพุทธศาสนา
หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตา
มที่กาหนด
 ไม่ทาชั่ว
o เบญจศีล
 ทาความดี
° เบญจธรรม
° สังคหวัตถุ ๔
° กตัญญูกตเวทีต่อพ่อแม่
และครอบครัว
° มงคล ๓๘
- ทาตัวดี
- ว่าง่าย
- รับใช้พ่อแม่
 ทาจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญ
ปัญญา)
 พุทธศาสนสุภาษิต
 อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ
ตนแลเป็นที่พึ่งของตน
 มาตา มิตฺต สเก ฆเร
มารดาเป็นมิตรในเรือนของตน
๔. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา
มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ
ศาสนา
หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสน
าที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
 ฝึกสวดมนต์และแผ่เมตตา
 รู้ความหมายและประโยชน์ของสติ
 ฟังเพลงและร้องเพลงอย่างมีสติ
 เล่นและทางานอย่างมีสติ
 ฝึกให้มีสติในการฟัง การอ่าน การคิด
การถามและการเขียน
ป.๒ ๑. บอกความสาคัญของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ
 พระพุทธศาสนาเป็นเอกลักษณ์ของ
ชาติไทย
๒.
สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงการอ
อกผนวชหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือต
ามที่กาหนด
 สรุปพุทธประวัติ
 ประสูติ
o เหตุการณ์หลังประสูติ
o แรกนาขวัญ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
o การศึกษา
o การอภิเษกสมรส
o เทวทูต ๔
o การออกผนวช
๓.
ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดาเนินชีวิต
และข้อคิดจากประวัติสาวก
ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตาม
ที่กาหนด
 สามเณรราหุล
 วรุณชาดก
 วานรินทชาดก
 สมเด็จพระญาณสังวร (ศุข ไก่เถื่อน)
 สมเด็จพระญาณสังวร
สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)
๔. บอกความหมาย ความสาคัญ
และเคารพพระรัตนตรัย
ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓
ในพระพุทธศาสนา
หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตน
นับถือตามที่กาหนด
 พระรัตนตรัย
 ศรัทธา
 โอวาท ๓
 ไม่ทาชั่ว
° เบญจศีล
 ทาความดี
° เบญจธรรม
° หิริ-โอตตัปปะ
° สังคหวัตถุ ๔
° ฆราวาสธรรม ๔
° กตัญญูกตเวทีต่อครู อาจารย์
และโรงเรียน
° มงคล ๓๘
- กตัญญู
- สงเคราะห์ญาติพี่น้อง
 ทาจิตให้บริสุทธิ์
(บริหารจิตและเจริญปัญญา)
 พุทธศาสนสุภาษิต
 นิมิตฺต สาธุรูปาน กตญฺญ กตเวทิตา
ความกตัญญ กตเวทีเป็นเครื่องหมาย
ของคนดี
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 พฺรหฺมาติ มาตาปิตโร
มารดาบิดาเป็นพรหมของบุตร
๕. ชื่นชมการทาความดีของตนเอง
บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียน
ตามหลักศาสนา
 ตัวอย่างการกระทาความดีของตนเองแ
ละบุคคลในครอบครัว
และในโรงเรียน (ตามสาระในข้อ ๔)
๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา
มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ-
ศาสนา
หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสน
าที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด
 ฝึกสวดมนต์ไหว้พระและแผ่เมตตา

รู้ความหมายและประโยชน์ของสติแล
ะสมาธิ
 ฝึกสมาธิเบื้องต้น

ฝึกสติเบื้องต้นด้วยกิจกรรมการเคลื่อนไ
หวอย่างมีสติ
 ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน
การคิด การถาม และการเขียน
๗. บอกชื่อศาสนา ศาสดา
และความสาคัญของคัมภีร์ของศาสนาที่ต
นนับถือและศาสนาอื่นๆ
 ชื่อศาสนา ศาสดา
และคัมภีร์ของศาสนาต่าง ๆ
 พระพุทธศาสนา
o ศาสดา : พระพุทธเจ้า
o คัมภีร์ : พระไตรปิฎก
 ศาสนาอิสลาม
o ศาสดา : มุฮัมมัด
o คัมภีร์ : อัลกุรอาน
 คริสต์ศาสนา
o ศาสดา : พระเยซู
o คัมภีร์ : ไบเบิล
 ศาสนาฮินดู
o ศาสดา : ไม่มีศาสดา
o คัมภีร์ : พระเวท พราหมณะ
อุปนิษัท อารัณยกะ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๓ ๑.อธิบายความสาคัญของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ
ในฐานะที่เป็นรากฐานสาคัญของวัฒนธร
รมไทย

ความสัมพันธ์ของพระพุทธศาสนากับก
ารดาเนินชีวิตประจาวัน เช่น
การสวดมนต์ การทาบุญ ใส่บาตร
การแสดงความเคารพ การใช้ภาษา

พระพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อการสร้าง
สรรค์ผลงานทางวัฒนธรรมไทยอันเกิ
ดจากความศรัทธา เช่นวัด ภาพวาด
พระพุทธรูป วรรณคดี
สถาปัตยกรรมไทย
๒.
สรุปพุทธประวัติตั้งแต่การบาเพ็ญเพียรจ
นถึงปรินิพพาน
หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือตามที่
กาหนด
 สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)
 การบาเพ็ญเพียร
 ผจญมาร
 ตรัสรู้
 ปฐมเทศนา
 ปรินิพพาน
๓.
ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดาเนินชีวิต
และข้อคิดจากประวัติสาวก
ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง
ตามที่กาหนด
 สามเณรสังกิจจะ
 อารามทูสกชาดก
 มหาวาณิชชาดก
 สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรสี)
 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
๔. บอกความหมาย
ความสาคัญของพระไตรปิฎก
หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ
 ความสาคัญของพระไตรปิฎก เช่น
เป็นแหล่งอ้างอิง ของหลักธรรมคาสอน
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๕. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย
และปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓
ในพระพุทธศาสนา
หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตา
มที่กาหนด
 พระรัตนตรัย
 ศรัทธา
 โอวาท ๓
 ไม่ทาชั่ว
° เบญจศีล
 ทาความดี
° เบญจธรรม
° สติ-สัมปชัญญะ
° สังคหวัตถุ ๔
° ฆราวาสธรรม ๔
° อัตถะ ๓ (อัตตัตถะ, ปรัตถะ,
อุภยัตถะ)
° กตัญญูกตเวทีต่อชุมชน,
สิ่งแวดล้อม
° มงคล ๓๘
- รู้จักให้
- พูดไพเราะ
- อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี
 ทาจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญ
ปัญญา)
 พุทธศาสนสุภาษิต
 ททมาโน ปิโย โหติ
ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก
 โมกฺโข กลฺยาณิยา สาธุ
เปล่งวาจาไพเราะให้สาเร็จประโยชน์
๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา
มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ
ศาสนา หรือการพัฒนาจิต
ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
 ฝึกสวดมนต์ ไหว้พระ
สรรเสริญคุณพระรัตนตรัยและแผ่เมต
ตา

รู้ความหมายและประโยชน์ของสติแล
ะสมาธิ
 รู้ประโยชน์ของการฝึกสติ
 ฝึกสมาธิเบื้องต้นด้วยการนับลมหายใจ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 ฝึกการยืน การเดิน การนั่ง และ
การนอน อย่างมีสติ
 ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน
การคิด การถาม และการเขียน
๗. บอกชื่อ ความสาคัญและปฏิบัติตน
ได้อย่างเหมาะสมต่อศาสนวัตถุ
ศาสนสถาน
และศาสนบุคคลของศาสนาอื่นๆ
 ชื่อและความสาคัญของศาสนวัตถุ
ศาสนสถานและ ศาสนบุคคล
ในพระพุทธศาสนา ศาสนาอิสลาม
คริสต์ศาสนา ศาสนาฮินดู
 การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อศาสนวัตถุ
ศาสนสถานและศาสนบุคคลในศาสนาอื่
น ๆ
ป.๔ ๑.อธิบายความสาคัญของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ
ในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของศาสนิกช
น
 พระพุทธศาสนา ในฐานะที่เป็น
เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ
 เป็นศูนย์รวมการทาความดี
และพัฒนาจิตใจ เช่น ฝึกสมาธิ
สวดมนต์
ศึกษาหลักธรรม
 เป็นที่ประกอบศาสนพิธี (การทอดกฐิน
การทอดผ้าป่า การเวียนเทียน
การทาบุญ)
 เป็นแหล่งทากิจกรรมทางสังคม เช่น
การจัดประเพณีท้องถิ่น
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารชุมชน และ
การส่งเสริมพัฒนาชุมชน
๒.
สรุปพุทธประวัติตั้งแต่บรรลุธรรมจนถึงป
ระกาศธรรม
หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาห
 สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)
 ตรัสรู้
 ประกาศธรรม ได้แก่
° โปรดชฎิล
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
นด ° โปรดพระเจ้าพิมพิสาร
° พระอัครสาวก
° แสดงโอวาทปาฏิโมกข์
๓. เห็นคุณค่า
และปฏิบัติตนตามแบบอย่างการดาเนินชี
วิตและข้อคิดจากประวัติสาวก
ชาดก/เรื่องเล่าและ
ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กาหนด
 พระอุรุเวลกัสสปะ
 กุฏิทูสกชาดก
 มหาอุกกุสชาดก
 สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
 สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
๔. แสดงความเคารพ พระรัตนตรัย
ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวา
ท ๓ ในพระพุทธศาสนา
หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตา
มที่กาหนด
 พระรัตนตรัย
o ศรัทธา ๔
 พระพุทธ
° พุทธคุณ ๓
 พระธรรม
° หลักกรรม
 พระสงฆ์
 ไตรสิกขา
 ศีล สมาธิ ปัญญา
 โอวาท ๓
 ไม่ทาชั่ว
o เบญจศีล
o ทุจริต ๓
 ทาความดี
o เบญจธรรม
o สุจริต ๓
o พรหมวิหาร ๔
o กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ
o มงคล ๓๘
- เคารพ
- ถ่อมคน
- ทาความดีให้พร้อมไว้ก่อน
 ทาจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปัญญา)
 พุทธศาสนสุภาษิต
 สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี
ความพร้อมเพรียงของหมู่ให้เกิดสุข
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 โลโกปตฺถมฺภิกา เมตฺตา
เมตตาธรรม ค้าจุนโลก
๕. ชื่นชมการทาความดีของตนเอง
บุคคลในครอบครัว
โรงเรียนและชุมชนตามหลักศาสนา
พร้อมทั้งบอกแนวปฏิบัติในการดาเนินชีวิ
ต

ตัวอย่างการกระทาความดีของตนเองและ
บุคคลในครอบครัว ในโรงเรียน
และในชุมชน
๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา
มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ
ศาสนา หรือการพัฒนาจิต
ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
 สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญ
คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา
 รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ
สมาธิและปัญญา
 รู้วิธีปฏิบัติของการบริหารจิตและเจริญปั
ญญา
 ฝึกการยืน การเดิน การนั่ง และการนอน
อย่างมีสติ
 ฝึกการกาหนดรู้ความรู้สึก เมื่อตาเห็นรูป
หูฟังเสียง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส
กายสัมผัสสิ่งที่มากระทบ
ใจรับรู้ธรรมารมณ์
 ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน การคิด
การถาม และการเขียน
๗.
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตน
นับถือ
เพื่อการอยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมาน
ฉันท์
 หลักธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสมาน
ฉันท์
o เบญจศีล – เบญจธรรม
o ทุจริต ๓ – สุจริต ๓
o พรหมวิหาร ๔
o มงคล ๓๘
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- เคารพ
- ถ่อมตน
- ทาความดีให้พร้อมไว้ก่อน
o พุทธศาสนสุภาษิต :
ความพร้อมเพรียงของหมู่ให้เกิดสุข
เมตตาธรรมค้าจุนโลก
 กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ
๘. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ
โดยสังเขป
 ประวัติศาสดา
o พระพุทธเจ้า
o มุฮัมมัด
o พระเยซู
ป.๕ ๑.
วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ
ในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมและห
ลักในการพัฒนาชาติไทย
 มรดกทางวัฒนธรรมที่ได้รับจากพระพุทธ
ศาสนา
o มรดกทางด้านรูปธรรม เช่น
ศาสนสถาน โบราณวัตถุ
สถาปัตยกรรม
o มรดกทางด้านจิตใจ เช่น
หลักธรรมคาสั่งสอน ความเชื่อ
และคุณธรรมต่าง ๆ

การนาพระพุทธศาสนาไปใช้เป็นแนวทา
งในการพัฒนาชาติไทย
o พัฒนาด้านกายภาพ และสิ่งแวดล้อม
เช่น ภาวนา ๔ (กาย ศีล จิต
ปัญญา) ไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา)
และอริยสัจสี่
o พัฒนาจิตใจ เช่น หลักโอวาท ๓
(ละความชั่ว ทาดี
ทาจิตใจให้บริสุทธิ์)
และการบริหารจิตและเจริญปัญญา
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่เสด็จ
กรุงกบิลพัสดุ์จนถึงพุทธกิจสาคัญ
หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาห
นด
 สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)
 โปรดพระพุทธบิดา
(เสด็จกรุงกบิลพัสดุ์)
 พุทธกิจสาคัญ ได้แก่โลกัตถจริยา
ญาตัตถจริยา และพุทธัตถจริยา
๓. เห็นคุณค่า
และประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนิน
ชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก
ชาดก/เรื่องเล่าและ
ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กาหนด
 พระโสณโกฬิวิสะ
 จูฬเสฏฐิชาดก
 วัณณาโรหชาดก
 สมเด็จพระสังฆราช (สา)
 อาจารย์เสถียร โพธินันทะ
๔. อธิบายองค์ประกอบ
และความสาคัญของพระไตรปิฎก
หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ
 องค์ประกอบของพระไตรปิฎก
 พระสุตตันตปิฎก
 พระวินัยปิฎก
 พระอภิธรรมปิฎก
 ความสาคัญของพระไตรปิฎก
๕. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย
และปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโ
อวาท ๓
ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของศา
สนาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
 พระรัตนตรัย
o ศรัทธา ๔
 พระพุทธ
o พุทธจริยา ๓
 พระธรรม
o อริยสัจ ๔
o หลักกรรม
 พระสงฆ์
 ไตรสิกขา
 ศีล สมาธิ ปัญญา
 โอวาท ๓
 ไม่ทาชั่ว
o เบญจศีล
o อบายมุข ๔
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 ทาความดี
o เบญจธรรม
o บุญกิริยาวัตถุ ๓
o อคติ ๔
o อิทธิบาท ๔
o กตัญญูกตเวทีต่อพระพุทธศาสนา
o มงคล ๓๘
- ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
- การงานไม่อากูล
- อดทน
 ทาจิตให้บริสุทธิ์
(บริหารจิตและเจริญปัญญา)
 พุทธศาสนสุภาษิต
 วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ
คนจะล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร
 ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต
ปัญญา คือ แสงสว่างในโลก
๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา
มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ
ศาสนา
หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสน
าที่ตนนับถือตามที่กาหนด
 สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญ
คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา
 รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ
สมาธิและปัญญา
 รู้วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของ
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 ฝึกการยืน การเดิน การนั่ง และ
การนอน อย่างมีสติ
 ฝึกการกาหนดรู้ความรู้สึก เมื่อตา
เห็นรูป หูฟังเสียง จมูกดมกลิ่น
ลิ้นลิ้มรส
กายสัมผัสสิ่งที่มากระทบใจรับรู้ธรรม
ารมณ์
 ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การคิด การถามและการเขียน
๗.
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตน
นับถือ
เพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม
 โอวาท ๓ (ตามสาระการเรียนรู้ข้อ ๕)
ป.๖ ๑. วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธ-
ศาสนาในฐานะเป็นศาสนาประจาชาติ
หรือความสาคัญของศาสนาที่ตนนับถือ
 พระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศาสนาป
ระจาชาติ เช่น
เป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย
เป็นรากฐานทางวัฒนธรรมไทย
เป็นศูนย์รวมจิตใจ
เป็นมรดกทางวัฒนธรรมไทย
และเป็นหลัก
ในการพัฒนาชาติไทย
๒.
สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ปลงอายุสังขารจน
ถึงสังเวชนียสถาน
หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาห
นด
 สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)
 ปลงอายุสังขาร
 ปัจฉิมสาวก
 ปรินิพพาน
 การถวายพระเพลิง
 แจกพระบรมสารีริกธาตุ
 สังเวชนียสถาน ๔
๓.
เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่าง
การดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาว
ก ชาดก/เรื่องเล่า และ
ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด
 พระราธะ
 ทีฆีติโกสลชาดก
 สัพพทาฐิชาดก
 พ่อขุนรามคาแหงมหาราช
 สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรม-
พระปรมานุชิตชิโนรส
๔. วิเคราะห์ความสาคัญและเคารพ
พระรัตนตรัย
ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท
๓ ในพระพุทธศาสนา
หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตน
นับถือตามที่กาหนด
 พระรัตนตรัย
o ศรัทธา ๔
 พระพุทธ
o พุทธกิจ ๕
 พระธรรม
o อริยสัจ ๔
o หลักกรรม
 พระสงฆ์
 ไตรสิกขา
 ศีล สมาธิ ปัญญา
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 โอวาท ๓
 ไม่ทาชั่ว
o เบญจศีล
o อบายมุข ๖
o อกุศลมูล ๓
 ทาความดี
o เบญจธรรม
o กุศลมูล ๓
o พละ ๔
o คารวะ ๖
o กตัญญูกตเวทีต่อพระมหากษัตริย์
o มงคล ๓๘
- มีวินัย
- การงานไม่มีโทษ
- ไม่ประมาทในธรรม
 ทาจิตให้บริสุทธิ์
(บริหารจิตและเจริญปัญญา)
 พุทธศาสนสุภาษิต
 สจฺเจน กิตฺตึ ปปฺโปติ
คนจะได้เกียรติด้วยสัจจะ
 ยถาวาที ตถาการี
พูดเช่นไร ทาเช่นนั้น
๕.
ชื่นชมการทาความดีของบุคคลในประเท
ศตามหลักศาสนา
พร้อมทั้งบอกแนวปฏิบัติในการดาเนินชีวิต

ตัวอย่างการกระทาความดีของบุคคลใ
นประเทศ
๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา
และบริหารจิตเจริญปัญญา
มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ
ศาสนา
หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสน
า ที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด
 สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญ
คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา
 รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ
สมาธิและปัญญา
 รู้วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของ
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 ฝึกการยืน การเดิน การนั่ง และ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การนอนอย่างมีสติ

ฝึกการกาหนดรู้ความรู้สึกเมื่อตาเห็นรู
ป หูฟังเสียง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส
กายสัมผัสสิ่งที่มากระทบ
ใจรับรู้ธรรมารมณ์
 ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน
การคิด การถาม และการเขียน
๗. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา
ที่ตนนับถือ เพื่อแก้ปัญหาอบายมุขและ
สิ่งเสพติด
 หลักธรรม :อริยสัจ ๔ หลักกรรม
 โอวาท ๓ : เบญจศีล – เบญจธรรม
อบายมุข ๖ อกุศลมูล ๓ กุศลมูล ๓
๘.
อธิบายหลักธรรมสาคัญของศาสนาอื่นๆ
โดยสังเขป
 หลักธรรมสาคัญของศาสนาต่าง ๆ
 พระพุทธศาสนา : อริยสัจ ๔ โอวาท
๓ ฯลฯ
 ศาสนาอิสลาม : หลักศรัทธา
หลักปฏิบัติ หลักจริยธรรม
 คริสต์ศาสนา : บัญญัติ ๑๐ ประการ
๙.
อธิบายลักษณะสาคัญของศาสนพิธีพิธีกร
รมของศาสนาอื่นๆ
และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมเมื่อต้องเ
ข้าร่วมพิธี
 ศาสนพิธีของศาสนาต่าง ๆ
 พระพุทธศาสนา
o ศาสนพิธีที่เป็นพุทธบัญญัติ เช่น
บรรพชา อุปสมบท
o ศาสนพิธีที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาส
นาเช่น
ทาบุญพิธีเนื่องในวันสาคัญทางศาสนา
o ศาสนาอิสลาม เช่น การละหมาด
การถือศีลอด การบาเพ็ญฮัจญ์ ฯลฯ
o คริสต์ศาสนา เช่น ศีลล้างบาป
ศีลอภัยบาป ศีลกาลัง ศีลมหาสนิท
ฯลฯ
o ศาสนาฮินดู เช่น พิธีศราทธ์
พิธีบูชาเทวดา
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๑ ๑. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศไทย
 การสังคายนา
 การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่
ประเทศไทย
๒.
วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ
ที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย
รวมทั้งการพัฒนาตนและครอบครัว
 ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไ
ทยในฐานะเป็น
 ศาสนาประจาชาติ
 สถาบันหลักของสังคมไทย
 สภาพแวดล้อมที่กว้างขวาง
และครอบคลุมสังคมไทย
 การพัฒนาตนและครอบครัว
๓.
วิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึง
บาเพ็ญทุกรกิริยา
หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาห
นด
 สรุปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ
 ประสูติ
 เทวทูต ๔
 การแสวงหาความรู้
 การบาเพ็ญทุกรกิริยา
๔.
วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างก
ารดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก
ชาดก/เรื่องเล่า
และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด
 พุทธสาวก พุทธสาวิกา
 พระมหากัสสปะ
 พระอุบาลี
 อนาถบิณฑิกะ
 นางวิสาขา
 ชาดก
 อัมพชาดก
 ติตติรชาดก
๕. อธิบายพุทธคุณ
และข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ ๔
หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
เห็นคุณค่าและนาไปพัฒนาแก้ปัญหาของ
 พระรัตนตรัย
 พุทธคุณ ๙
 อริยสัจ ๔
 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
o ขันธ์ ๕
- ธาตุ ๔
 สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตนเองและครอบครัว o หลักกรรม
- ความหมายและคุณค่า
o อบายมุข ๖
 นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
o สุข ๒ (กายิก, เจตสิก)
o คิหิสุข
 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
o ไตรสิกขา
o กรรมฐาน ๒
o ปธาน ๔
o โกศล ๓
o มงคล ๓๘
-ไม่คบคนพาล
- คบบัณฑิต
- บูชาผู้ควรบูชา
 พุทธศาสนสุภาษิต
 ย เวเสวติ ตาทิโส
คบคนเช่นใดเป็นคนเช่นนั้น
 อตฺตนา โจทยตฺตาน
จงเตือนตน ด้วยตน
 นิสมฺม กรณ เสยฺโย
ใคร่ครวญก่อนทาจึงดี
 ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา
เรือนที่ครองไม่ดีนาทุกข์มาให้
๖. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิต
เพื่อการเรียนรู้และการดาเนินชีวิต
ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือวิธีคิดแ
บบคุณค่าแท้ –คุณค่าเทียม
และวิธีคิดแบบคุณ – โทษ และทางออก
หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสน
 โยนิโสมนสิการ
 วิธีคิดแบบคุณค่าแท้ – คุณค่าเทียม
 วิธีคิดแบบคุณ - โทษและทางออก
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
าที่ตนนับถือ
๗. สวดมนต์ แผ่เมตตา
บริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปาน
สติ
หรือตามแนวทางของศาสนาที่ตนับถือตา
มที่กาหนด
 สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา

วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหารจิต
และเจริญปัญญา
การฝึกบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลัก
สติปัฎฐานเน้น อานาปานสติ

นาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไปใช้
ในชีวิตประจาวัน
๘.
วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรมทา
งศาสนาที่ตนนับถือ
ในการดารงชีวิตแบบพอเพียง
และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อการอยู่ร่วม
กันได้อย่างสันติสุข
 หลักธรรม (ตามสาระการเรียนรู้ข้อ ๕)
๙.
วิเคราะห์เหตุผลความจาเป็นที่ทุกคนต้อง
ศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ
 ศาสนิกชนของศาสนาต่าง ๆ
มีการประพฤติปฏิบัติตนและวิถีการดาเนิ
นชีวิต
แตกต่างกันตามหลักความเชื่อและคาสอน
ของศาสนาที่ตนนับถือ
๑๐.
ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการ
ณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
 การปฏิบัติอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่
นในสถานการณ์ต่างๆ
๑๑.
วิเคราะห์การกระทาของบุคคลที่เป็นแบบ
อย่างด้านศาสนสัมพันธ์
และนาเสนอแนวทางการปฏิบัติของตนเอ
ง
 ตัวอย่างบุคคลในท้องถิ่นหรือประเทศที่ป
ฏิบัติตนเป็นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์
หรือมีผลงานด้านศาสนสัมพันธ์
ม.๒ ๑. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศ

การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เพื่อนบ้าน อนบ้านและการนับถือพระพุทธ -
ศาสนาของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน
๒. วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธ-
ศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือที่ช่วยเสริมสร้างค
วามเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน

ความสาคัญของพระพุทธศาสนาที่ช่วยเสริ
มสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้
าน
๓.
วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็นราก
ฐานของวัฒนธรรม
เอกลักษณ์ของชาติและมรดกของชาติ
 ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคม
ไทยในฐานะเป็น
 รากฐานของวัฒนธรรม
 เอกลักษณ์และ มรดกของชาติ
๔. อภิปรายความสาคัญของพระพุทธ -
ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือกับ
การพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังค
ม
 ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับ
การพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม
๕.
วิเคราะห์พุทธประวัติหรือประวัติศาสดาข
องศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด
 สรุปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ
 การผจญมาร
 การตรัสรู้
 การสั่งสอน
๖.
วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างก
ารดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก
ชาดก/เรื่องเล่าและ
ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด
 พระสารีบุตร
 พระโมคคัลลานะ
 นางขุชชุตตรา
 พระเจ้าพิมพิสาร
 มิตตวินทุกชาดก
 ราโชวาทชาดก
๗. อธิบายโครงสร้าง
และสาระสังเขปของพระไตรปิฎก
หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ
 โครงสร้าง และสาระสังเขปของ
พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก
และพระอภิธรรมปิฎก
๘. อธิบายธรรมคุณ
และข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ ๔
 พระรัตนตรัย
 ธรรมคุณ ๖
 อริยสัจ ๔
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
เห็นคุณค่าและนาไปพัฒนา
แก้ปัญหาของชุมชนและสังคม
 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
o ขันธ์ ๕
- อายตนะ
 สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
o หลักกรรม
- สมบัติ ๔
- วิบัติ ๔
o อกุศลกรรมบถ ๑๐
o อบายมุข ๖
 นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
o สุข ๒ (สามิส, นิรามิส)
 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
o บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา
o ดรุณธรรม ๖
o กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔
o กุศลกรรมบถ ๑๐
o สติปัฏฐาน ๔
o มงคล ๓๘
- ประพฤติธรรม
- เว้นจากความชั่ว
- เว้นจากการดื่มน้าเมา
 พุทธศาสนสุภาษิต
 กมฺมุนา วตฺตตี โลโก
สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม
 กลฺยาณการี กลฺยาณ ปาปการี จปาปก
ทาดีได้ดี ทาชั่ว ได้ชั่ว
 สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย
การสั่งสมบุญนาสุขมาให้
 ปูชโก ลภเต ปูช วนฺทโก ปฏิวนฺทน
ผู้บูชาเขา ย่อมได้รับการบูชาตอบ
ผู้ไหว้เขาย่อมได้รับการไหว้ตอบ
๙.
เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียน
 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโส-
มนสิการ ๒วิธี คือ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
รู้และดาเนินชีวิต
ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือ
วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม
และวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์
หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสน
าที่ตนนับถือ
วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม
และวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์
๑๐. สวดมนต์ แผ่เมตตา
บริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปาน
สติ
หรือตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ
 สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา

รู้และเข้าใจวิธีปฏิบัติและประโยชน์ของกา
รบริหารจิตและเจริญปัญญา

ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลัก
สติปัฎฐาน เน้นอานาปานสติ
 นาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญา
ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
๑๑.วิเคราะห์การปฏิบัติตนตามหลักธรรมท
างศาสนาที่ตนนับถือ
เพื่อการดารงตนอย่างเหมาะสมในกระแสค
วามเปลี่ยนแปลงของโลก
และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
 การปฏิบัติตนตามหลักธรรม (ตามสาระ
การเรียนรู้ ข้อ ๘.)
ม. ๓ ๑. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศต่างๆ
ทั่วโลก

การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศต่า
ง ๆ ทั่วโลก
และการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศ
เหล่านั้น ในปัจจุบัน
๒.
วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วยสร้า
งสรรค์อารยธรรม
และความสงบสุขแก่โลก

ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ
ที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรมและความสงบ
สุขให้แก่โลก
๓.
อภิปรายความสาคัญของพระพุทธศาสนา

สัมมนาพระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
หรือศาสนาที่ตนนับถือ
กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
การพัฒนาอย่างยั่งยืน
รษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
(ที่สอดคล้องกับหลักธรรมในสาระการเรีย
นรู้ ข้อ ๖ )
๔.
วิเคราะห์พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปาง
ต่างๆ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
 ศึกษาพุทธประวัติจากพระพุทธรูปปาง
ต่าง ๆ เช่น
o ปางมารวิชัย
o ปางปฐมเทศนา
o ปางลีลา
o ปางประจาวันเกิด
 สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติ
 ปฐมเทศนา
 โอวาทปาฏิโมกข์
๕.
วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างก
ารดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก
ชาดก/เรื่องเล่าและ
ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กาหนด
 พระอัญญาโกณฑัญญะ
 พระมหาปชาบดีเถรี
 พระเขมาเถรี
 พระเจ้าปเสนทิโกศล
 นันทิวิสาลชาดก
 สุวัณณหังสชาดก
๖. อธิบายสังฆคุณ
และข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ ๔
หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตา
มที่กาหนด
 พระรัตนตรัย
 สังฆคุณ ๙
 อริยสัจ ๔
 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
o ขันธ์ ๕
-ไตรลักษณ์
 สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
o หลักกรรม
-วัฏฏะ ๓
-ปปัญจธรรม ๓ (ตัณหา มานะ
ทิฎฐิ)
 นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
o อัตถะ ๓
 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
o มรรคมีองค์ ๘
o ปัญญา ๓
o สัปปุริสธรรม ๗
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
o บุญกิริยาวัตถุ ๑๐
o อุบาสกธรรม ๗
o มงคล ๓๘
- มีศิลปวิทยา
- พบสมณะ
- ฟังธรรมตามกาล
- สนทนาธรรมตามกาล
 พุทธศาสนสุภาษิต
 อตฺตา หเว ชิตเสยฺโย
ชนะตนนั่นแลดีกว่า
 ธมฺมจารี สุข เสติ
ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข
 ปมาโท มจฺจุโน ปท
ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย
 สุสฺสูส ลภเต ปญฺญ
ผู้ฟังด้วยดีย่อมได้ปัญญา
 เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก :
พุทธปณิธาน ๔
ในมหาปรินิพพานสูตร
๗. เห็นคุณค่า
และวิเคราะห์การปฏิบัติตนตามหลักธรร
มในการพัฒนาตน
เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการทางาน
และการมีครอบครัว
 การปฏิบัติตนตามหลักธรรม (ตามสาระ
การเรียนรู้ ข้อ ๖.)
๘.
เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียน
รู้และดาเนินชีวิต
ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือ
วิธีคิดแบบอริยสัจ
และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย หรือ
การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ต
 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบ
โยนิโสมนสิการ ๒ วิธี คือ
วิธีคิดแบบอริยสัจ
และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
นนับถือ
๙. สวดมนต์ แผ่เมตตา
บริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปาน
สติ
หรือตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ
 สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา
 รู้และเข้าใจวิธีปฏิบัติและประโยชน์ของกา
รบริหารจิตและเจริญปัญญา
 ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลั
กสติปัฎฐานเน้นอานาปานสติ
 นาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญา
ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
๑๐.
วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถีการ
ดาเนินชีวิตของศาสนิกชนในศาสนาอื่นๆ
 วิถีการดาเนินชีวิตของศาสนิกชนศาสนาอื่
นๆ
ม.๔-ม.๖ ๑.วิเคราะห์สังคมชมพูทวีป
และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระ
พุทธเจ้า
หรือสังคมสมัยของศาสดาที่ตนนับถือ
 ลักษณะของสังคมชมพูทวีป
และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระ
พุทธเจ้า
๒.วิเคราะห์
พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์ผู้ฝึกตนไ
ด้อย่างสูงสุดในการตรัสรู้ การก่อตั้ง
วิธีการสอนและการเผยแผ่พระพุทธศาสน
า หรือวิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
 พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์
ผู้ฝึกตนได้อย่างสูงสุด (การตรัสรู้)
 การก่อตั้งพระพุทธศาสนา วิธีการสอน
และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุ
ทธจริยา
๓.วิเคราะห์พุทธประวัติด้านการบริหาร
และการธารงรักษาศาสนา หรือ
วิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
 พุทธประวัติด้านการบริหารและการธารงรั
กษาพระพุทธศาสนา
๔.
วิเคราะห์ข้อปฏิบัติทางสายกลางในพระพุ
 พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็น
สากลและมีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ทธศาสนา
หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
๕. วิเคราะห์การพัฒนาศรัทธา
และปัญญาที่ถูกต้องในพระพุทธศาสนา
หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
 พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาแล
ะปัญญาที่ถูกต้อง
๖.
วิเคราะห์ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุ
ทธศาสนา
หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่
กาหนด
 ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธ-
ศาสนา
๗.
วิเคราะห์หลักการของพระพุทธศาสนากับ
หลักวิทยาศาสตร์
หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
 หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทย
าศาสตร์
 การคิดตามนัยแห่งพระพุทธศาสนาและกา
รคิดแบบวิทยาศาสตร์
๘. วิเคราะห์การฝึกฝนและพัฒนาตนเอง
การพึ่งตนเอง
และการมุ่งอิสรภาพในพระพุทธศาสนา
หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่
กาหนด
 พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน
การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ
๙. วิเคราะห์พระพุทธศาสนาว่า
เป็นศาสตร์แห่งการศึกษาซึ่งเน้นความสัม
พันธ์ของเหตุปัจจัยกับ
วิธีการแก้ปัญหา
หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่
กาหนด
 พระพุทธศาสนาเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา
 พระพุทธศาสนาเน้นความสัมพันธ์
ของเหตุปัจจัยและวิธีการแก้ปัญหา
๑๐.
วิเคราะห์พระพุทธศาสนาในการฝึกตนไม่
ให้ประมาท
มุ่งประโยชน์และสันติภาพบุคคล
 พระพุทธศาสนาฝึกตนไม่ให้ประมาท
 พระพุทธศาสนามุ่งประโยชน์สุขและสันติ
ภาพแก่บุคคล สังคมและโลก
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สังคมและโลก
หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่
กาหนด
๑๑.
วิเคราะห์พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเ
ศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศแ
บบยั่งยืน
หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่
กาหนด
 พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและการพัฒนาแบบยั่งยืน
๑๒.
วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนา
เกี่ยวกับการศึกษา
ที่สมบูรณ์ การเมืองและสันติภาพ
 ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับการศึ
กษาที่สมบูรณ์
 ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับการเมื
อง
หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด
 ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับสันติ
ภาพ
๑๓. วิเคราะห์หลักธรรมในกรอบ
อริยสัจ ๔ หรือหลักคาสอนของศาสนา
ที่ตนนับถือ
 พระรัตนตรัย

วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพุ
ทธะ ธรรมะ สังฆะ
 อริยสัจ ๔
 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
o ขันธ์ ๕
- นามรูป
- โลกธรรม ๘
- จิต, เจตสิก
 สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
o หลักกรรม
- นิยาม ๕
- กรรมนิยาม ( กรรม ๑๒)
- ธรรมนิยาม(ปฏิจจสมุปบาท)
o วิตก ๓
o มิจฉาวณิชชา ๕
o นิวรณ์ ๕
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
o อุปาทาน ๔
 นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
o ภาวนา ๔
o วิมุตติ ๕
o นิพพาน
 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
o พระสัทธรรม ๓
o ปัญญาวุฒิธรรม ๔
o พละ ๕
o อุบาสกธรรม ๕
o อปริหานิยธรรม ๗
o ปาปณิกธรรม ๓
o ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม ๔
o โภคอาทิยะ ๕
o อริยวัฑฒิ ๕
o อธิปไตย ๓
o สาราณียธรรม ๖
o ทศพิธราชธรรม ๑๐
o วิปัสสนาญาณ ๙
o มงคล ๓๘
- สงเคราะห์บุตร
- สงเคราะห์ภรรยา
- สันโดษ
- ถูกโลกธรรมจิตไม่หวั่นไหว
- จิตไม่เศร้าโศก
- จิตไม่มัวหมอง
- จิตเกษม
- ความเพียรเผากิเลส
- ประพฤติพรหมจรรย์
- เห็นอริยสัจ
- บรรลุนิพพาน
 พุทธศาสนสุภาษิต
 จิตฺต ทนฺต สุขาวห
จิตที่ฝึกดีแล้วนาสุขมาให้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 นอุจฺจาวจ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ
บัณฑิตย่อมไม่แสดงอาการขึ้น ๆลง ๆ
 นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต
คนที่ไม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก
 โกธ ฆตฺวา สุข เสติ
ฆ่าความโกรธได้ย่อมอยู่เป็นสุข
 ปฏิรูปการี ธุรวา อุฎฺฐาตา วินฺทเต ธน
คนขยันเอาการเอางาน
กระทาเหมาะสม ย่อมหาทรัพย์ได้
 วายเมถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา
เกิดเป็นคนควรจะพยายามจนกว่าจะป
ระสบความสาเร็จ
 สนฺตฎฺฐี ปรม ธน
ความสันโดษเป็นทรัพย์อย่างยิ่ง
 อิณาทาน ทุกฺข โลเก
การเป็นหนี้เป็นทุกข์ในโลก
 ราชา มุข มนุสฺสาน
พระราชาเป็นประมุขของประชาชน
 สติ โลกสฺมิ ชาคโร
สติเป็นเครื่องตื่นในโลก
 นตฺถิ สนฺติปร สุข
สุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี
 นิพฺพาน ปรม สุข
นิพพานเป็นสุข อย่างยิ่ง
๑๔. วิเคราะห์ข้อคิดและแบบอย่าง
การดาเนินชีวิตจากประวัติสาวก ชาดก
เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง
ตามที่กาหนด
 พุทธสาวก พุทธสาวิก
 พระอัสสชิ
 พระกีสาโคตมีเถรี
 พระนางมัลลิกา
 หมอชีวก โกมารภัจ
 พระอนุรุทธะ
 พระองคุลิมาล
 พระธัมมทินนาเถรี
 จิตตคหบดี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กAriaty KiKi Sang
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาenksodsoon
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงพัน พัน
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณKornnicha Wonglai
 

Was ist angesagt? (20)

โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณ
 

Ähnlich wie มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษาครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้างSumontira Niyama
 
Good governance 3
Good governance 3Good governance 3
Good governance 3gimzui
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 

Ähnlich wie มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม (20)

มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 
Good governance 3
Good governance 3Good governance 3
Good governance 3
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
สังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้นสังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้น
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
อังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้นอังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้น
 

Mehr von Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

  • 1. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ๑๔กรกฎาคม ๒๕๕๑
  • 2. สารบัญ หน้า คานา ทาไมต้องเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑ เรียนรู้อะไรในสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๒ คุณภาพผู้เรียน ๓ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ๖ สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๖ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม ๔๓ สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ ๕๘ สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ ๗๒ สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ ๙๐ อภิธานศัพท์ ๙๙ คณะผู้จัดทา ๑๒๗
  • 3. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทาไมต้องเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ดารงชีวิตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทาให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก เรียนรู้อะไรในสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่ มี ค ว า ม เ ชื่ อ ม สั ม พั น ธ์ กัน แ ล ะ มี ค ว า ม แ ต ก ต่า ง กัน อ ย่าง ห ล า ก ห ล า ย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม โดยได้กาหนดสาระต่างๆไว้ ดังนี้  ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรมจริยธรรม ห ลั ก ธ ร ร ม ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ห รื อ ศ า ส น า ที่ ต น นั บ ถื อ การนาหลักธรรมคาสอน ไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข เ ป็ น ผู้ ก ร ะ ท า ค ว า ม ดี มี ค่ า นิ ย ม ที่ ดี ง า ม พั ฒ น า ต น เ อ ง อ ยู่ เ ส ม อ รวมทั้งบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม  ห น้ า ที่ พ ล เ มื อ ง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ท ร ง เ ป็ น ป ร ะ มุ ข ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ค ว า ม ส า คั ญ ก า ร เ ป็ น พ ล เ มื อ ง ดี ค ว า มแ ต ก ต่า ง แ ล ะ ค ว า มห ล าก ห ล าย ท า ง วัฒ น ธ ร ร ม ค่า นิ ย ม ค ว าม เชื่ อ ปลูกฝั งค่านิ ยมด้าน ประ ชาธิปไตยอันมีพระ มห ากษัตริย์ ทรงเป็ น ประมุข สิ ทธิ ห น้าที่ เสรีภาพการดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก  เศ รษ ฐศ าส ต ร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภ คสิ น ค้าและ บริ การ การบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน
  • 4.  ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย แหล่งอารยธรรมที่สาคัญของโลก  ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั น ข อ ง สิ่ ง ต่ า ง ๆ ใ น ร ะ บ บ ธ ร ร ม ช า ติ ความสัมพัน ธ์ของมนุ ษย์กับสภาพ แวดล้อ มทางธรรมช าติ และ สิ่ งที่มนุ ษย์สร้างขึ้ น การนาเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ แ ล ะ เ ข้ า ใ จ ป ร ะ วั ติ ค ว า ม ส า คั ญ ศ า ส ด า หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มี ศ รั ท ธ าที่ ถู ก ต้ อ ง ยึ ด มั่น แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ต าม ห ลั ก ธ ร ร ม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส ๑.๒ เ ข้ า ใ จ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ ธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลกอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้
  • 5. ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจาเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์ เห ตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใ จพั ฒ น าก าร ข อ ง มนุ ษ ย ช าติ จ าก อ ดี ต จน ถึ ง ปั จ จุ บั น ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธารงความเป็นไทย สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผล ต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คุณภาพผู้เรียน จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓  ได้เรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเองและผู้ที่อยู่รอบข้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น ที่อยู่อาศัย และเชื่องโยงประสบการณ์ไปสู่โลกกว้าง  ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะกระบวนการ และมีข้อมูลที่จาเป็นต่อการพัฒนาให้เป็น ผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ประพฤติปฏิบัติตามหลักคาสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเป็นพลเมืองดี
  • 6. มีความรับผิดชอบ การอยู่ร่วมกันและการทางานกับผู้อื่น มีส่วนร่วมในกิจกรรมของห้อง เรียน และได้ฝึกหัดในการตัดสินใจ  ได้ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัวโรงเรียน และชุมชนในลักษณะการบูรณาการ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ เ ข้ า ใ จ แ น ว คิ ด เ กี่ ย ว กั บ ปั จ จุ บั น แ ล ะ อ ดี ต มีความรู้พื้นฐานทางเศรษฐกิจได้ข้อคิดเกี่ยวกับรายรับ-รายจ่ายของครอบครัว เข้าใจถึงการเป็นผู้ผลิต ผู้บริโภค รู้จักการออมขั้นต้นและวิธีการเศรษฐกิจพอเพียง  ได้รับการพัฒนาแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรมจริยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิปัญญา เพื่อเป็นพื้นฐานในการทาความเข้าใจในขั้นที่สูงต่อไป จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖  ได้เรียนรู้เรื่องของจังหวัด ภาค และประทศของตน เอง ทั้งเชิงประวัติศาสตร์ ลักษณะ ทาง กายภ าพ สังคม ประเพ ณี และวัฒ น ธรรม รวมทั้งการเมืองการปกครอง สภาพเศรษฐกิจโดยเน้นความเป็นประเทศไทย  ได้รับการพัฒนาความรู้และความเข้าใจ ในเรื่องศาสน า ศีลธรรม จริยธรรม ปฏิ บัติตน ตามห ลักคาสอน ของ ศา สน าที่ ตน นั บถื อ รวมทั้ ง มีส่วน ร่วมศาส น พิ ธี และพิธีกรรมทางศาสนามากยิ่งขึ้น  ได้ศึกษาและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาทสิทธิหน้าที่ในฐานะพลเมืองดีของท้องถิ่น จังหวัด ภาค และประเทศ รวมทั้งได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ของท้องถิ่นตนเองมากยิ่งขึ้น  ได้ศึกษาเปรียบเทียบเรื่องราวของจังหวัดและภาคต่างๆของประเทศไทยกับประเทศเพื่อน บ้าน ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรมจริยธรรมหน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์เพื่อขยายประสบการณ์ไปสู่การทาความเข้าใจ ในภูมิภาค ซีกโลกตะวันออกและตะวันตกเกี่ยวกับศาสนา คุณธรรมจริยธรรมค่านิยมความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ป ร ะ เ พ ณี วัฒ น ธ ร ร ม ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต ก า ร จั ด ร ะ เ บี ย บ ท า ง สั ง ค ม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากอดีตสู่ปัจจุบัน จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓  ได้เรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบ กับประเทศในภูมิภาคต่างๆในโลก เพื่อพัฒนาแนวคิด เรื่องการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข  ได้เรียนรู้และพัฒนาให้มีทักษะที่จาเป็นต่อการเป็นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒ นาแนวคิด และขยายประสบการณ์ เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ
  • 7. ในโลก ได้แก่เอเชีย โอเชียเนีย แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ในด้านศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒน ธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ และสังคมศาสตร์  ได้รับการพัฒนาแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคตสามารถนามาใช้เป็นประโยชน์ ในการดาเนินชีวิตและวางแผนการดาเนินงานได้อย่างเหมาะสม จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖  ได้เรียนรู้และศึกษาความเป็นไปของโลกอย่างกว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น  ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาตนเองเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิ บัติตามห ลัก ธรรมขอ ง ศาส น าที่ต น นั บ ถือ รวม ทั้ง มีค่านิ ยม อัน พึ ง ป ระ ส ง ค์ ส า ม า ร ถ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ ผู้ อื่ น แ ล ะ อ ยู่ ใ น สั ง ค ม ไ ด้ อ ย่ า ง มี ค ว า ม สุ ข รวมทั้งมีศักยภาพเพื่อการศึกษาต่อในชั้นสูงตามความประสงค์ได้  ได้เรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทย ยึดมั่นในวิถีชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข  ได้รับการส่งเสริมให้มีนิสัยที่ดีในการบริโภคเลือกและตัดสินใจบริโภคได้อย่างเหมาะสม มีจิตสานึ ก และ มีส่วน ร่วมใ น การอนุ รักษ์ ประ เพ ณีวัฒ น ธรรมไทย และ สิ่ งแวดล้อม มีความรักท้องถิ่นและประเทศชาติ มุ่งทาประโยชน์ และสร้างสิ่งที่ดีงามให้กับสังคม  เป็ น ผู้มีความรู้ความสามารถใน การจัดการเรียนรู้ของตน เอง ชี้น าตน เองได้ และสามารถแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆในสังคมได้ตลอดชีวิต
  • 8. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ ๑ ศาสนาศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑ ๑. บอกพุทธประวัติ หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือโดยสัง เขป  พุทธประวัติ  ประสูติ  ตรัสรู้  ปรินิพพาน ๒. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดาเนินชีวิต และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตาม ที่กาหนด  สามเณรบัณฑิต  วัณณุปถชาดก  สุวัณณสามชาดก  พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช  เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (หนูพร้อม) ๓. บอกความหมาย ความสาคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท  พระรัตนตรัย  ศรัทธา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์  โอวาท ๓
  • 9. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๓ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตา มที่กาหนด  ไม่ทาชั่ว o เบญจศีล  ทาความดี ° เบญจธรรม ° สังคหวัตถุ ๔ ° กตัญญูกตเวทีต่อพ่อแม่ และครอบครัว ° มงคล ๓๘ - ทาตัวดี - ว่าง่าย - รับใช้พ่อแม่  ทาจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญ ปัญญา)  พุทธศาสนสุภาษิต  อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ ตนแลเป็นที่พึ่งของตน  มาตา มิตฺต สเก ฆเร มารดาเป็นมิตรในเรือนของตน ๔. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ ศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสน าที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  ฝึกสวดมนต์และแผ่เมตตา  รู้ความหมายและประโยชน์ของสติ  ฟังเพลงและร้องเพลงอย่างมีสติ  เล่นและทางานอย่างมีสติ  ฝึกให้มีสติในการฟัง การอ่าน การคิด การถามและการเขียน ป.๒ ๑. บอกความสาคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ  พระพุทธศาสนาเป็นเอกลักษณ์ของ ชาติไทย ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงการอ อกผนวชหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือต ามที่กาหนด  สรุปพุทธประวัติ  ประสูติ o เหตุการณ์หลังประสูติ o แรกนาขวัญ
  • 10. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง o การศึกษา o การอภิเษกสมรส o เทวทูต ๔ o การออกผนวช ๓. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดาเนินชีวิต และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตาม ที่กาหนด  สามเณรราหุล  วรุณชาดก  วานรินทชาดก  สมเด็จพระญาณสังวร (ศุข ไก่เถื่อน)  สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) ๔. บอกความหมาย ความสาคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตน นับถือตามที่กาหนด  พระรัตนตรัย  ศรัทธา  โอวาท ๓  ไม่ทาชั่ว ° เบญจศีล  ทาความดี ° เบญจธรรม ° หิริ-โอตตัปปะ ° สังคหวัตถุ ๔ ° ฆราวาสธรรม ๔ ° กตัญญูกตเวทีต่อครู อาจารย์ และโรงเรียน ° มงคล ๓๘ - กตัญญู - สงเคราะห์ญาติพี่น้อง  ทาจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปัญญา)  พุทธศาสนสุภาษิต  นิมิตฺต สาธุรูปาน กตญฺญ กตเวทิตา ความกตัญญ กตเวทีเป็นเครื่องหมาย ของคนดี
  • 11. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง  พฺรหฺมาติ มาตาปิตโร มารดาบิดาเป็นพรหมของบุตร ๕. ชื่นชมการทาความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียน ตามหลักศาสนา  ตัวอย่างการกระทาความดีของตนเองแ ละบุคคลในครอบครัว และในโรงเรียน (ตามสาระในข้อ ๔) ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ- ศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสน าที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  ฝึกสวดมนต์ไหว้พระและแผ่เมตตา  รู้ความหมายและประโยชน์ของสติแล ะสมาธิ  ฝึกสมาธิเบื้องต้น  ฝึกสติเบื้องต้นด้วยกิจกรรมการเคลื่อนไ หวอย่างมีสติ  ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน การคิด การถาม และการเขียน ๗. บอกชื่อศาสนา ศาสดา และความสาคัญของคัมภีร์ของศาสนาที่ต นนับถือและศาสนาอื่นๆ  ชื่อศาสนา ศาสดา และคัมภีร์ของศาสนาต่าง ๆ  พระพุทธศาสนา o ศาสดา : พระพุทธเจ้า o คัมภีร์ : พระไตรปิฎก  ศาสนาอิสลาม o ศาสดา : มุฮัมมัด o คัมภีร์ : อัลกุรอาน  คริสต์ศาสนา o ศาสดา : พระเยซู o คัมภีร์ : ไบเบิล  ศาสนาฮินดู o ศาสดา : ไม่มีศาสดา o คัมภีร์ : พระเวท พราหมณะ อุปนิษัท อารัณยกะ
  • 12. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๓ ๑.อธิบายความสาคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่เป็นรากฐานสาคัญของวัฒนธร รมไทย  ความสัมพันธ์ของพระพุทธศาสนากับก ารดาเนินชีวิตประจาวัน เช่น การสวดมนต์ การทาบุญ ใส่บาตร การแสดงความเคารพ การใช้ภาษา  พระพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อการสร้าง สรรค์ผลงานทางวัฒนธรรมไทยอันเกิ ดจากความศรัทธา เช่นวัด ภาพวาด พระพุทธรูป วรรณคดี สถาปัตยกรรมไทย ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่การบาเพ็ญเพียรจ นถึงปรินิพพาน หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือตามที่ กาหนด  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)  การบาเพ็ญเพียร  ผจญมาร  ตรัสรู้  ปฐมเทศนา  ปรินิพพาน ๓. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดาเนินชีวิต และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กาหนด  สามเณรสังกิจจะ  อารามทูสกชาดก  มหาวาณิชชาดก  สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรสี)  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ๔. บอกความหมาย ความสาคัญของพระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ  ความสาคัญของพระไตรปิฎก เช่น เป็นแหล่งอ้างอิง ของหลักธรรมคาสอน
  • 13. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๕. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตา มที่กาหนด  พระรัตนตรัย  ศรัทธา  โอวาท ๓  ไม่ทาชั่ว ° เบญจศีล  ทาความดี ° เบญจธรรม ° สติ-สัมปชัญญะ ° สังคหวัตถุ ๔ ° ฆราวาสธรรม ๔ ° อัตถะ ๓ (อัตตัตถะ, ปรัตถะ, อุภยัตถะ) ° กตัญญูกตเวทีต่อชุมชน, สิ่งแวดล้อม ° มงคล ๓๘ - รู้จักให้ - พูดไพเราะ - อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี  ทาจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญ ปัญญา)  พุทธศาสนสุภาษิต  ททมาโน ปิโย โหติ ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก  โมกฺโข กลฺยาณิยา สาธุ เปล่งวาจาไพเราะให้สาเร็จประโยชน์ ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ ศาสนา หรือการพัฒนาจิต ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  ฝึกสวดมนต์ ไหว้พระ สรรเสริญคุณพระรัตนตรัยและแผ่เมต ตา  รู้ความหมายและประโยชน์ของสติแล ะสมาธิ  รู้ประโยชน์ของการฝึกสติ  ฝึกสมาธิเบื้องต้นด้วยการนับลมหายใจ
  • 14. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง  ฝึกการยืน การเดิน การนั่ง และ การนอน อย่างมีสติ  ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน การคิด การถาม และการเขียน ๗. บอกชื่อ ความสาคัญและปฏิบัติตน ได้อย่างเหมาะสมต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนบุคคลของศาสนาอื่นๆ  ชื่อและความสาคัญของศาสนวัตถุ ศาสนสถานและ ศาสนบุคคล ในพระพุทธศาสนา ศาสนาอิสลาม คริสต์ศาสนา ศาสนาฮินดู  การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถานและศาสนบุคคลในศาสนาอื่ น ๆ ป.๔ ๑.อธิบายความสาคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของศาสนิกช น  พระพุทธศาสนา ในฐานะที่เป็น เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ  เป็นศูนย์รวมการทาความดี และพัฒนาจิตใจ เช่น ฝึกสมาธิ สวดมนต์ ศึกษาหลักธรรม  เป็นที่ประกอบศาสนพิธี (การทอดกฐิน การทอดผ้าป่า การเวียนเทียน การทาบุญ)  เป็นแหล่งทากิจกรรมทางสังคม เช่น การจัดประเพณีท้องถิ่น การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารชุมชน และ การส่งเสริมพัฒนาชุมชน ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่บรรลุธรรมจนถึงป ระกาศธรรม หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาห  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)  ตรัสรู้  ประกาศธรรม ได้แก่ ° โปรดชฎิล
  • 15. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง นด ° โปรดพระเจ้าพิมพิสาร ° พระอัครสาวก ° แสดงโอวาทปาฏิโมกข์ ๓. เห็นคุณค่า และปฏิบัติตนตามแบบอย่างการดาเนินชี วิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและ ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กาหนด  พระอุรุเวลกัสสปะ  กุฏิทูสกชาดก  มหาอุกกุสชาดก  สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ๔. แสดงความเคารพ พระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวา ท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตา มที่กาหนด  พระรัตนตรัย o ศรัทธา ๔  พระพุทธ ° พุทธคุณ ๓  พระธรรม ° หลักกรรม  พระสงฆ์  ไตรสิกขา  ศีล สมาธิ ปัญญา  โอวาท ๓  ไม่ทาชั่ว o เบญจศีล o ทุจริต ๓  ทาความดี o เบญจธรรม o สุจริต ๓ o พรหมวิหาร ๔ o กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ o มงคล ๓๘ - เคารพ - ถ่อมคน - ทาความดีให้พร้อมไว้ก่อน  ทาจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปัญญา)  พุทธศาสนสุภาษิต  สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี ความพร้อมเพรียงของหมู่ให้เกิดสุข
  • 16. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง  โลโกปตฺถมฺภิกา เมตฺตา เมตตาธรรม ค้าจุนโลก ๕. ชื่นชมการทาความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียนและชุมชนตามหลักศาสนา พร้อมทั้งบอกแนวปฏิบัติในการดาเนินชีวิ ต  ตัวอย่างการกระทาความดีของตนเองและ บุคคลในครอบครัว ในโรงเรียน และในชุมชน ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ ศาสนา หรือการพัฒนาจิต ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญ คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา  รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ สมาธิและปัญญา  รู้วิธีปฏิบัติของการบริหารจิตและเจริญปั ญญา  ฝึกการยืน การเดิน การนั่ง และการนอน อย่างมีสติ  ฝึกการกาหนดรู้ความรู้สึก เมื่อตาเห็นรูป หูฟังเสียง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส กายสัมผัสสิ่งที่มากระทบ ใจรับรู้ธรรมารมณ์  ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน การคิด การถาม และการเขียน ๗. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตน นับถือ เพื่อการอยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมาน ฉันท์  หลักธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสมาน ฉันท์ o เบญจศีล – เบญจธรรม o ทุจริต ๓ – สุจริต ๓ o พรหมวิหาร ๔ o มงคล ๓๘
  • 17. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - เคารพ - ถ่อมตน - ทาความดีให้พร้อมไว้ก่อน o พุทธศาสนสุภาษิต : ความพร้อมเพรียงของหมู่ให้เกิดสุข เมตตาธรรมค้าจุนโลก  กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ ๘. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป  ประวัติศาสดา o พระพุทธเจ้า o มุฮัมมัด o พระเยซู ป.๕ ๑. วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมและห ลักในการพัฒนาชาติไทย  มรดกทางวัฒนธรรมที่ได้รับจากพระพุทธ ศาสนา o มรดกทางด้านรูปธรรม เช่น ศาสนสถาน โบราณวัตถุ สถาปัตยกรรม o มรดกทางด้านจิตใจ เช่น หลักธรรมคาสั่งสอน ความเชื่อ และคุณธรรมต่าง ๆ  การนาพระพุทธศาสนาไปใช้เป็นแนวทา งในการพัฒนาชาติไทย o พัฒนาด้านกายภาพ และสิ่งแวดล้อม เช่น ภาวนา ๔ (กาย ศีล จิต ปัญญา) ไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) และอริยสัจสี่ o พัฒนาจิตใจ เช่น หลักโอวาท ๓ (ละความชั่ว ทาดี ทาจิตใจให้บริสุทธิ์) และการบริหารจิตและเจริญปัญญา
  • 18. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่เสด็จ กรุงกบิลพัสดุ์จนถึงพุทธกิจสาคัญ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาห นด  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)  โปรดพระพุทธบิดา (เสด็จกรุงกบิลพัสดุ์)  พุทธกิจสาคัญ ได้แก่โลกัตถจริยา ญาตัตถจริยา และพุทธัตถจริยา ๓. เห็นคุณค่า และประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนิน ชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและ ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กาหนด  พระโสณโกฬิวิสะ  จูฬเสฏฐิชาดก  วัณณาโรหชาดก  สมเด็จพระสังฆราช (สา)  อาจารย์เสถียร โพธินันทะ ๔. อธิบายองค์ประกอบ และความสาคัญของพระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ  องค์ประกอบของพระไตรปิฎก  พระสุตตันตปิฎก  พระวินัยปิฎก  พระอภิธรรมปิฎก  ความสาคัญของพระไตรปิฎก ๕. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโ อวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของศา สนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  พระรัตนตรัย o ศรัทธา ๔  พระพุทธ o พุทธจริยา ๓  พระธรรม o อริยสัจ ๔ o หลักกรรม  พระสงฆ์  ไตรสิกขา  ศีล สมาธิ ปัญญา  โอวาท ๓  ไม่ทาชั่ว o เบญจศีล o อบายมุข ๔
  • 19. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง  ทาความดี o เบญจธรรม o บุญกิริยาวัตถุ ๓ o อคติ ๔ o อิทธิบาท ๔ o กตัญญูกตเวทีต่อพระพุทธศาสนา o มงคล ๓๘ - ใฝ่รู้ใฝ่เรียน - การงานไม่อากูล - อดทน  ทาจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปัญญา)  พุทธศาสนสุภาษิต  วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ คนจะล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร  ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต ปัญญา คือ แสงสว่างในโลก ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ ศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสน าที่ตนนับถือตามที่กาหนด  สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญ คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา  รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ สมาธิและปัญญา  รู้วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของ การบริหารจิตและเจริญปัญญา  ฝึกการยืน การเดิน การนั่ง และ การนอน อย่างมีสติ  ฝึกการกาหนดรู้ความรู้สึก เมื่อตา เห็นรูป หูฟังเสียง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส กายสัมผัสสิ่งที่มากระทบใจรับรู้ธรรม ารมณ์  ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน
  • 20. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง การคิด การถามและการเขียน ๗. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตน นับถือ เพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม  โอวาท ๓ (ตามสาระการเรียนรู้ข้อ ๕) ป.๖ ๑. วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธ- ศาสนาในฐานะเป็นศาสนาประจาชาติ หรือความสาคัญของศาสนาที่ตนนับถือ  พระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศาสนาป ระจาชาติ เช่น เป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย เป็นรากฐานทางวัฒนธรรมไทย เป็นศูนย์รวมจิตใจ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมไทย และเป็นหลัก ในการพัฒนาชาติไทย ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ปลงอายุสังขารจน ถึงสังเวชนียสถาน หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาห นด  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)  ปลงอายุสังขาร  ปัจฉิมสาวก  ปรินิพพาน  การถวายพระเพลิง  แจกพระบรมสารีริกธาตุ  สังเวชนียสถาน ๔ ๓. เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่าง การดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาว ก ชาดก/เรื่องเล่า และ ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด  พระราธะ  ทีฆีติโกสลชาดก  สัพพทาฐิชาดก  พ่อขุนรามคาแหงมหาราช  สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรม- พระปรมานุชิตชิโนรส ๔. วิเคราะห์ความสาคัญและเคารพ พระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตน นับถือตามที่กาหนด  พระรัตนตรัย o ศรัทธา ๔  พระพุทธ o พุทธกิจ ๕  พระธรรม o อริยสัจ ๔ o หลักกรรม  พระสงฆ์  ไตรสิกขา  ศีล สมาธิ ปัญญา
  • 21. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง  โอวาท ๓  ไม่ทาชั่ว o เบญจศีล o อบายมุข ๖ o อกุศลมูล ๓  ทาความดี o เบญจธรรม o กุศลมูล ๓ o พละ ๔ o คารวะ ๖ o กตัญญูกตเวทีต่อพระมหากษัตริย์ o มงคล ๓๘ - มีวินัย - การงานไม่มีโทษ - ไม่ประมาทในธรรม  ทาจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปัญญา)  พุทธศาสนสุภาษิต  สจฺเจน กิตฺตึ ปปฺโปติ คนจะได้เกียรติด้วยสัจจะ  ยถาวาที ตถาการี พูดเช่นไร ทาเช่นนั้น ๕. ชื่นชมการทาความดีของบุคคลในประเท ศตามหลักศาสนา พร้อมทั้งบอกแนวปฏิบัติในการดาเนินชีวิต  ตัวอย่างการกระทาความดีของบุคคลใ นประเทศ ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา และบริหารจิตเจริญปัญญา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ ศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสน า ที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญ คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา  รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ สมาธิและปัญญา  รู้วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของ การบริหารจิตและเจริญปัญญา  ฝึกการยืน การเดิน การนั่ง และ
  • 22. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง การนอนอย่างมีสติ  ฝึกการกาหนดรู้ความรู้สึกเมื่อตาเห็นรู ป หูฟังเสียง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส กายสัมผัสสิ่งที่มากระทบ ใจรับรู้ธรรมารมณ์  ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน การคิด การถาม และการเขียน ๗. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา ที่ตนนับถือ เพื่อแก้ปัญหาอบายมุขและ สิ่งเสพติด  หลักธรรม :อริยสัจ ๔ หลักกรรม  โอวาท ๓ : เบญจศีล – เบญจธรรม อบายมุข ๖ อกุศลมูล ๓ กุศลมูล ๓ ๘. อธิบายหลักธรรมสาคัญของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป  หลักธรรมสาคัญของศาสนาต่าง ๆ  พระพุทธศาสนา : อริยสัจ ๔ โอวาท ๓ ฯลฯ  ศาสนาอิสลาม : หลักศรัทธา หลักปฏิบัติ หลักจริยธรรม  คริสต์ศาสนา : บัญญัติ ๑๐ ประการ ๙. อธิบายลักษณะสาคัญของศาสนพิธีพิธีกร รมของศาสนาอื่นๆ และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมเมื่อต้องเ ข้าร่วมพิธี  ศาสนพิธีของศาสนาต่าง ๆ  พระพุทธศาสนา o ศาสนพิธีที่เป็นพุทธบัญญัติ เช่น บรรพชา อุปสมบท o ศาสนพิธีที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาส นาเช่น ทาบุญพิธีเนื่องในวันสาคัญทางศาสนา o ศาสนาอิสลาม เช่น การละหมาด การถือศีลอด การบาเพ็ญฮัจญ์ ฯลฯ o คริสต์ศาสนา เช่น ศีลล้างบาป ศีลอภัยบาป ศีลกาลัง ศีลมหาสนิท ฯลฯ o ศาสนาฮินดู เช่น พิธีศราทธ์ พิธีบูชาเทวดา
  • 23. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๑ ๑. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศไทย  การสังคายนา  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศไทย ๒. วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย รวมทั้งการพัฒนาตนและครอบครัว  ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไ ทยในฐานะเป็น  ศาสนาประจาชาติ  สถาบันหลักของสังคมไทย  สภาพแวดล้อมที่กว้างขวาง และครอบคลุมสังคมไทย  การพัฒนาตนและครอบครัว ๓. วิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึง บาเพ็ญทุกรกิริยา หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาห นด  สรุปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ  ประสูติ  เทวทูต ๔  การแสวงหาความรู้  การบาเพ็ญทุกรกิริยา ๔. วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างก ารดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด  พุทธสาวก พุทธสาวิกา  พระมหากัสสปะ  พระอุบาลี  อนาถบิณฑิกะ  นางวิสาขา  ชาดก  อัมพชาดก  ติตติรชาดก ๕. อธิบายพุทธคุณ และข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด เห็นคุณค่าและนาไปพัฒนาแก้ปัญหาของ  พระรัตนตรัย  พุทธคุณ ๙  อริยสัจ ๔  ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) o ขันธ์ ๕ - ธาตุ ๔  สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
  • 24. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตนเองและครอบครัว o หลักกรรม - ความหมายและคุณค่า o อบายมุข ๖  นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) o สุข ๒ (กายิก, เจตสิก) o คิหิสุข  มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) o ไตรสิกขา o กรรมฐาน ๒ o ปธาน ๔ o โกศล ๓ o มงคล ๓๘ -ไม่คบคนพาล - คบบัณฑิต - บูชาผู้ควรบูชา  พุทธศาสนสุภาษิต  ย เวเสวติ ตาทิโส คบคนเช่นใดเป็นคนเช่นนั้น  อตฺตนา โจทยตฺตาน จงเตือนตน ด้วยตน  นิสมฺม กรณ เสยฺโย ใคร่ครวญก่อนทาจึงดี  ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา เรือนที่ครองไม่ดีนาทุกข์มาให้ ๖. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิต เพื่อการเรียนรู้และการดาเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือวิธีคิดแ บบคุณค่าแท้ –คุณค่าเทียม และวิธีคิดแบบคุณ – โทษ และทางออก หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสน  โยนิโสมนสิการ  วิธีคิดแบบคุณค่าแท้ – คุณค่าเทียม  วิธีคิดแบบคุณ - โทษและทางออก
  • 25. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง าที่ตนนับถือ ๗. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปาน สติ หรือตามแนวทางของศาสนาที่ตนับถือตา มที่กาหนด  สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา  วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหารจิต และเจริญปัญญา การฝึกบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลัก สติปัฎฐานเน้น อานาปานสติ  นาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไปใช้ ในชีวิตประจาวัน ๘. วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรมทา งศาสนาที่ตนนับถือ ในการดารงชีวิตแบบพอเพียง และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อการอยู่ร่วม กันได้อย่างสันติสุข  หลักธรรม (ตามสาระการเรียนรู้ข้อ ๕) ๙. วิเคราะห์เหตุผลความจาเป็นที่ทุกคนต้อง ศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ  ศาสนิกชนของศาสนาต่าง ๆ มีการประพฤติปฏิบัติตนและวิถีการดาเนิ นชีวิต แตกต่างกันตามหลักความเชื่อและคาสอน ของศาสนาที่ตนนับถือ ๑๐. ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการ ณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม  การปฏิบัติอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่ นในสถานการณ์ต่างๆ ๑๑. วิเคราะห์การกระทาของบุคคลที่เป็นแบบ อย่างด้านศาสนสัมพันธ์ และนาเสนอแนวทางการปฏิบัติของตนเอ ง  ตัวอย่างบุคคลในท้องถิ่นหรือประเทศที่ป ฏิบัติตนเป็นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์ หรือมีผลงานด้านศาสนสัมพันธ์ ม.๒ ๑. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศ  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่
  • 26. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง เพื่อนบ้าน อนบ้านและการนับถือพระพุทธ - ศาสนาของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน ๒. วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธ- ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือที่ช่วยเสริมสร้างค วามเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน  ความสาคัญของพระพุทธศาสนาที่ช่วยเสริ มสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้ าน ๓. วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็นราก ฐานของวัฒนธรรม เอกลักษณ์ของชาติและมรดกของชาติ  ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคม ไทยในฐานะเป็น  รากฐานของวัฒนธรรม  เอกลักษณ์และ มรดกของชาติ ๔. อภิปรายความสาคัญของพระพุทธ - ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือกับ การพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังค ม  ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับ การพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม ๕. วิเคราะห์พุทธประวัติหรือประวัติศาสดาข องศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด  สรุปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ  การผจญมาร  การตรัสรู้  การสั่งสอน ๖. วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างก ารดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและ ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด  พระสารีบุตร  พระโมคคัลลานะ  นางขุชชุตตรา  พระเจ้าพิมพิสาร  มิตตวินทุกชาดก  ราโชวาทชาดก ๗. อธิบายโครงสร้าง และสาระสังเขปของพระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ  โครงสร้าง และสาระสังเขปของ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก ๘. อธิบายธรรมคุณ และข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ ๔  พระรัตนตรัย  ธรรมคุณ ๖  อริยสัจ ๔
  • 27. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด เห็นคุณค่าและนาไปพัฒนา แก้ปัญหาของชุมชนและสังคม  ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) o ขันธ์ ๕ - อายตนะ  สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) o หลักกรรม - สมบัติ ๔ - วิบัติ ๔ o อกุศลกรรมบถ ๑๐ o อบายมุข ๖  นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) o สุข ๒ (สามิส, นิรามิส)  มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) o บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา o ดรุณธรรม ๖ o กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ o กุศลกรรมบถ ๑๐ o สติปัฏฐาน ๔ o มงคล ๓๘ - ประพฤติธรรม - เว้นจากความชั่ว - เว้นจากการดื่มน้าเมา  พุทธศาสนสุภาษิต  กมฺมุนา วตฺตตี โลโก สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม  กลฺยาณการี กลฺยาณ ปาปการี จปาปก ทาดีได้ดี ทาชั่ว ได้ชั่ว  สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย การสั่งสมบุญนาสุขมาให้  ปูชโก ลภเต ปูช วนฺทโก ปฏิวนฺทน ผู้บูชาเขา ย่อมได้รับการบูชาตอบ ผู้ไหว้เขาย่อมได้รับการไหว้ตอบ ๙. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียน  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโส- มนสิการ ๒วิธี คือ
  • 28. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง รู้และดาเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือ วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสน าที่ตนนับถือ วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ ๑๐. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปาน สติ หรือตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ  สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา  รู้และเข้าใจวิธีปฏิบัติและประโยชน์ของกา รบริหารจิตและเจริญปัญญา  ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลัก สติปัฎฐาน เน้นอานาปานสติ  นาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญา ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ๑๑.วิเคราะห์การปฏิบัติตนตามหลักธรรมท างศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการดารงตนอย่างเหมาะสมในกระแสค วามเปลี่ยนแปลงของโลก และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข  การปฏิบัติตนตามหลักธรรม (ตามสาระ การเรียนรู้ ข้อ ๘.) ม. ๓ ๑. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศต่างๆ ทั่วโลก  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศต่า ง ๆ ทั่วโลก และการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศ เหล่านั้น ในปัจจุบัน ๒. วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วยสร้า งสรรค์อารยธรรม และความสงบสุขแก่โลก  ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรมและความสงบ สุขให้แก่โลก ๓. อภิปรายความสาคัญของพระพุทธศาสนา  สัมมนาพระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศ
  • 29. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง หรือศาสนาที่ตนนับถือ กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ การพัฒนาอย่างยั่งยืน รษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน (ที่สอดคล้องกับหลักธรรมในสาระการเรีย นรู้ ข้อ ๖ ) ๔. วิเคราะห์พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปาง ต่างๆ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  ศึกษาพุทธประวัติจากพระพุทธรูปปาง ต่าง ๆ เช่น o ปางมารวิชัย o ปางปฐมเทศนา o ปางลีลา o ปางประจาวันเกิด  สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติ  ปฐมเทศนา  โอวาทปาฏิโมกข์ ๕. วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างก ารดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและ ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กาหนด  พระอัญญาโกณฑัญญะ  พระมหาปชาบดีเถรี  พระเขมาเถรี  พระเจ้าปเสนทิโกศล  นันทิวิสาลชาดก  สุวัณณหังสชาดก ๖. อธิบายสังฆคุณ และข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตา มที่กาหนด  พระรัตนตรัย  สังฆคุณ ๙  อริยสัจ ๔  ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) o ขันธ์ ๕ -ไตรลักษณ์  สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) o หลักกรรม -วัฏฏะ ๓ -ปปัญจธรรม ๓ (ตัณหา มานะ ทิฎฐิ)  นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) o อัตถะ ๓  มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) o มรรคมีองค์ ๘ o ปัญญา ๓ o สัปปุริสธรรม ๗
  • 30. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง o บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ o อุบาสกธรรม ๗ o มงคล ๓๘ - มีศิลปวิทยา - พบสมณะ - ฟังธรรมตามกาล - สนทนาธรรมตามกาล  พุทธศาสนสุภาษิต  อตฺตา หเว ชิตเสยฺโย ชนะตนนั่นแลดีกว่า  ธมฺมจารี สุข เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข  ปมาโท มจฺจุโน ปท ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย  สุสฺสูส ลภเต ปญฺญ ผู้ฟังด้วยดีย่อมได้ปัญญา  เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก : พุทธปณิธาน ๔ ในมหาปรินิพพานสูตร ๗. เห็นคุณค่า และวิเคราะห์การปฏิบัติตนตามหลักธรร มในการพัฒนาตน เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการทางาน และการมีครอบครัว  การปฏิบัติตนตามหลักธรรม (ตามสาระ การเรียนรู้ ข้อ ๖.) ๘. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียน รู้และดาเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือ วิธีคิดแบบอริยสัจ และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย หรือ การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ต  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบ โยนิโสมนสิการ ๒ วิธี คือ วิธีคิดแบบอริยสัจ และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย
  • 31. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง นนับถือ ๙. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญปัญญาด้วยอานาปาน สติ หรือตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ  สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา  รู้และเข้าใจวิธีปฏิบัติและประโยชน์ของกา รบริหารจิตและเจริญปัญญา  ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลั กสติปัฎฐานเน้นอานาปานสติ  นาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญา ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ๑๐. วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถีการ ดาเนินชีวิตของศาสนิกชนในศาสนาอื่นๆ  วิถีการดาเนินชีวิตของศาสนิกชนศาสนาอื่ นๆ ม.๔-ม.๖ ๑.วิเคราะห์สังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระ พุทธเจ้า หรือสังคมสมัยของศาสดาที่ตนนับถือ  ลักษณะของสังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระ พุทธเจ้า ๒.วิเคราะห์ พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์ผู้ฝึกตนไ ด้อย่างสูงสุดในการตรัสรู้ การก่อตั้ง วิธีการสอนและการเผยแผ่พระพุทธศาสน า หรือวิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์ ผู้ฝึกตนได้อย่างสูงสุด (การตรัสรู้)  การก่อตั้งพระพุทธศาสนา วิธีการสอน และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุ ทธจริยา ๓.วิเคราะห์พุทธประวัติด้านการบริหาร และการธารงรักษาศาสนา หรือ วิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  พุทธประวัติด้านการบริหารและการธารงรั กษาพระพุทธศาสนา ๔. วิเคราะห์ข้อปฏิบัติทางสายกลางในพระพุ  พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็น สากลและมีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง
  • 32. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด ๕. วิเคราะห์การพัฒนาศรัทธา และปัญญาที่ถูกต้องในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาแล ะปัญญาที่ถูกต้อง ๖. วิเคราะห์ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุ ทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ กาหนด  ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธ- ศาสนา ๗. วิเคราะห์หลักการของพระพุทธศาสนากับ หลักวิทยาศาสตร์ หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทย าศาสตร์  การคิดตามนัยแห่งพระพุทธศาสนาและกา รคิดแบบวิทยาศาสตร์ ๘. วิเคราะห์การฝึกฝนและพัฒนาตนเอง การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ กาหนด  พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตน การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพ ๙. วิเคราะห์พระพุทธศาสนาว่า เป็นศาสตร์แห่งการศึกษาซึ่งเน้นความสัม พันธ์ของเหตุปัจจัยกับ วิธีการแก้ปัญหา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ กาหนด  พระพุทธศาสนาเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา  พระพุทธศาสนาเน้นความสัมพันธ์ ของเหตุปัจจัยและวิธีการแก้ปัญหา ๑๐. วิเคราะห์พระพุทธศาสนาในการฝึกตนไม่ ให้ประมาท มุ่งประโยชน์และสันติภาพบุคคล  พระพุทธศาสนาฝึกตนไม่ให้ประมาท  พระพุทธศาสนามุ่งประโยชน์สุขและสันติ ภาพแก่บุคคล สังคมและโลก
  • 33. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สังคมและโลก หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ กาหนด ๑๑. วิเคราะห์พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเ ศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศแ บบยั่งยืน หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ กาหนด  พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและการพัฒนาแบบยั่งยืน ๑๒. วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนา เกี่ยวกับการศึกษา ที่สมบูรณ์ การเมืองและสันติภาพ  ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับการศึ กษาที่สมบูรณ์  ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับการเมื อง หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด  ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับสันติ ภาพ ๑๓. วิเคราะห์หลักธรรมในกรอบ อริยสัจ ๔ หรือหลักคาสอนของศาสนา ที่ตนนับถือ  พระรัตนตรัย  วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพุ ทธะ ธรรมะ สังฆะ  อริยสัจ ๔  ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) o ขันธ์ ๕ - นามรูป - โลกธรรม ๘ - จิต, เจตสิก  สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) o หลักกรรม - นิยาม ๕ - กรรมนิยาม ( กรรม ๑๒) - ธรรมนิยาม(ปฏิจจสมุปบาท) o วิตก ๓ o มิจฉาวณิชชา ๕ o นิวรณ์ ๕
  • 34. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง o อุปาทาน ๔  นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) o ภาวนา ๔ o วิมุตติ ๕ o นิพพาน  มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) o พระสัทธรรม ๓ o ปัญญาวุฒิธรรม ๔ o พละ ๕ o อุบาสกธรรม ๕ o อปริหานิยธรรม ๗ o ปาปณิกธรรม ๓ o ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม ๔ o โภคอาทิยะ ๕ o อริยวัฑฒิ ๕ o อธิปไตย ๓ o สาราณียธรรม ๖ o ทศพิธราชธรรม ๑๐ o วิปัสสนาญาณ ๙ o มงคล ๓๘ - สงเคราะห์บุตร - สงเคราะห์ภรรยา - สันโดษ - ถูกโลกธรรมจิตไม่หวั่นไหว - จิตไม่เศร้าโศก - จิตไม่มัวหมอง - จิตเกษม - ความเพียรเผากิเลส - ประพฤติพรหมจรรย์ - เห็นอริยสัจ - บรรลุนิพพาน  พุทธศาสนสุภาษิต  จิตฺต ทนฺต สุขาวห จิตที่ฝึกดีแล้วนาสุขมาให้
  • 35. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง  นอุจฺจาวจ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ บัณฑิตย่อมไม่แสดงอาการขึ้น ๆลง ๆ  นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต คนที่ไม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก  โกธ ฆตฺวา สุข เสติ ฆ่าความโกรธได้ย่อมอยู่เป็นสุข  ปฏิรูปการี ธุรวา อุฎฺฐาตา วินฺทเต ธน คนขยันเอาการเอางาน กระทาเหมาะสม ย่อมหาทรัพย์ได้  วายเมถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา เกิดเป็นคนควรจะพยายามจนกว่าจะป ระสบความสาเร็จ  สนฺตฎฺฐี ปรม ธน ความสันโดษเป็นทรัพย์อย่างยิ่ง  อิณาทาน ทุกฺข โลเก การเป็นหนี้เป็นทุกข์ในโลก  ราชา มุข มนุสฺสาน พระราชาเป็นประมุขของประชาชน  สติ โลกสฺมิ ชาคโร สติเป็นเครื่องตื่นในโลก  นตฺถิ สนฺติปร สุข สุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี  นิพฺพาน ปรม สุข นิพพานเป็นสุข อย่างยิ่ง ๑๔. วิเคราะห์ข้อคิดและแบบอย่าง การดาเนินชีวิตจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กาหนด  พุทธสาวก พุทธสาวิก  พระอัสสชิ  พระกีสาโคตมีเถรี  พระนางมัลลิกา  หมอชีวก โกมารภัจ  พระอนุรุทธะ  พระองคุลิมาล  พระธัมมทินนาเถรี  จิตตคหบดี