SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
หนาที่ 1




แผนการเรียนรู เรื่อง สนในเมืองไทย

วิชา               ชีววิทยา                  ระดับชั้น
ระยะเวลาเรียน      4 คาบ                     บูรณาการวิชา สังคมศาสตร ศิลปะ คอมพิวเตอร


สาระการเรียนรู
        สน เปนพืชที่พบตามภูเขา หรือพื้นที่สูงของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเหนือ สนที่รูจักกันดีไดแก
สน 2 ใบ และสน 3 ใบ แตก็มีคนอีกจํานวนมากที่ไมทราบความแตกตางของสน 2 ใบและสน 3 ใบ รวมทั้ง
ประโยชนที่แทจริงของสน การศึกษาเรียนรูการเจริญเติบโต ลักษณะเฉพาะของตนสนจะชวยใหผูเรียน
สามารถจําแนกไดงาย จดจําไดนาน

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
         เพื่อใหผูเรียนสามารถ
         1. สืบคนขอมูลเกี่ยวกับตนสน 2 ใบ และสน 3 ใบจากอินเทอรเน็ตได
         2. ระบุและบอกความแตกตางระหวางสน 2 ใบ และสน 3 ใบได โดยอาศัยการวาดภาพจาก
            โปรแกรม Project DogWallfe
         3. ระบุและอธิบายการเจริญเติบโต ลักษณะ ประโยชน และขอควรระวังเกี่ยวกับตนสนได
         4. สรางสื่อนําเสนอขอมูลตางๆ ของสนได

กิจกรรมการสอนและการเรียนรู
         การเรียนรูเกี่ยวกับ “สนในเมืองไทย” แบงออกเปน 4 คาบ ดังนี้
           คาบที่ 1 เรียนรูขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับตนสนจากคูมือวิชาชีววิทยา ตัวอยางภาพ และศึกษาคนควา
ขอมูลเพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ต พรอมบันทึกขอมูลดวย OfficeTLE Impress
         คาบที่ 2 เรียนรูคําสั่งการสรางสรรคภาพดวยโปรแกรม Project DogWaffle
       คาบที่ 3 ฝกปฏิบัติวาดภาพกิ่งของตนสน 2 ใบ และกิ่งของตนสน 3 ใบ โดยการปรับแตงคาของ
โปรแกรม Project DogWaffle
       คาบที่ 4 สรางสื่อนําเสนอที่ประกอบดวยขอความ    และภาพที่วาดดวยโปรแกรม                    Project
DogWaffle แลวนําเสนอผลงาน อธิบายขั้นตอนการทํางาน พรอมทั้งชวยกันวิเคราะห สรุปผล

กิจกรรมตอเนื่อง
         ผูเรียนประยุกตใชกับการออกแบบตนไมอื่นๆ ที่มีถิ่นเฉพาะในแตละพื้นที่
หนาที่ 2



สื่อการเรียนการสอน
      1.   สื่ออินเทอรเน็ต
      2.   โปรแกรม OfficeTLE Impress
      3.   โปรแกรม Project DogWaffle
      4.   ตัวอยางภาพตนสน 2 ใบ และสน 3 ใบ

การประเมิน
      1. ผูเรียนสามารถบอกถึงความแตกตางของสน 2 ใบ และสน 3 ใบได
      2. ผูเรียนสามารถปรับแตงคาควบคุมของโปรแกรม Project DogWaffle ในการออกแบบกิ่งของ
         สน 2 ใบ และสน 3 ใบได
      3. ประเมินจากชิ้นงาน ตามเกณฑที่กําหนด (Scoring Rubric)
หนาที่ 3




เอกสารความรูเรื่อง สรางสรรคงานกราฟกสุดสวยดวย Project Dogs waffle

          Project Dogs Waffle (PD) โปรแกรมสรางสรรคงานกราฟกสุดสวย
(Paint Program) ดวยเครื่องมือวาดภาพทั้งแปรง ภูกัน กระดาษเคลือบลักษณะ
ตางๆ พรอมทั้ง Effect สรางสรรคภาพกราฟกที่พรอมจะเนรมิตงานกราฟกไดตาม
จินตนาการ เนนการสราง Texture สนับสนุนการนําเขา (Import) ไปใชกับสื่อทุก
รูปแบบ เชน 3D, CAD, Movie และงานผลิต VDO ทั้ง PAL และ NTSC

ดาวนโหลดและติดตั้งโปรแกรม
        สามารถดาวนโหลดโปรแกรมไดจากเว็บไซต http://www.squirreldome.com/cyberop.htm




       โปรแกรมที่ดาวนโหลดจะชื่อ Dogwaffle_Install_1_2_free.exe เมื่อติดตั้งแลวจะไดโปรแกรม
ปรากฏใน Start, Program, project dogwaffle และมีหนาตางโปรแกรม ดังนี้
หนาที่ 4



กําหนดฟอรแมตงานใหถูกตอง
           การสรางงานกราฟกตองเลือกรูปแบบของ Output และขนาดชิ้นงาน โดยเมื่อเรียกใชงานโปรแกรม
ดวยคําสั่ง Start, Program, project dogwaffle หรือสรางชิ้นงานใหม ดวยคําสั่ง File, New โปรแกรมจะ
สอบถามขอมูลชิ้นงานกราฟก ดังนี้




        เลือกขนาดของชิ้นงาน และฟอรแมตของ Output เชน ถาตองการสรางงานกราฟกสําหรับ
คอมพิวเตอร ก็เลือกฟอรแมตเปน VGA แตถาตองการใชกับการผลิต VDO ก็เลือก PAL หรือ NTSC

Panel
         Panel จะเปนหนาตางควบคุมเครื่องมือ หรือฟงกชันสรางสรรคงาน โดยมีลักษณะเปนกรอบเล็กๆ
เชน Zoom Panel จะมีลักษณะ ดังนี้


                                       ปุม Close เพื่อปด Panel




        การเรียกใชงาน Panel ใหเลือกจากเมนูคําสั่ง Window โดยมี Panel ดังนี้
             •   Alpha Panel                  ควบคุมความโปรงใส ความโปรงแสงของสี
             •   Brush Setting Panel          ควบคุมลักษณะของแปรง หรือภูกัน
             •   Brush Images Panel           ควบคุมลักษณะของหัวแปรงทาสี หรือภูกัน
             •   Fill/Gradient Panel          ควบคุมการเติมสี หรือไลเฉดสีใหกับชิ้นงาน
             •   Optipustics Panel            ควบคุมการสรางลักษณะพิเศษใหกับชิ้นงาน
             •   Paper Panel                  ควบคุมการสราง Background ดวยลวดลายตางๆ
             •   Plug-in Panel                ควบคุมการเรียกใชงาน Plug-ins
             •   Zoom Panel                   ควบคุมมุมมองภาพ การยอ/ขยายภาพ
หนาที่ 5



ศึกษาการใชงานจากแบบฝกปฏิบัติ
        การสรางสรรคงานกราฟกดวยการฝกปฏิบัติจริง         จะเห็นภาพการใชโปรแกรมไดชัดเจนกวา
การศึกษาเครื่องมือแตละชิ้น ดังนั้นเนื้อหาในสวนนี้จะแนะนําการใชงานโปรแกรม จากการฝกปฏิบัติ
สรางสรรคงานกราฟก เพื่อเปนแนวทางใหผูสนใจลองนําไปทดลอง และเพิ่มทักษะดวยตนเองตอไป
        กิ่งสน
        • สรางงานใหมดวยคําสั่ง File, New เลือกฟอรแมตที่เหมาะสม ตัวอยางคือ 800 x 600 Super
          VGA
        • เปด Optipustics Panel ดวยคําสั่ง Window, Optipustics panel




                                                        คลิกเลือก Enabled

                                                    คลิกปุม Settings… เลือกรายการ
                                                    Grass.opt โดยการดับเบิลคลิก




        • เลือกเครื่องมือ Paint       นําเมาสไป
          คลิกบนพื้นที่วาดภาพ        สังเกตผลที่
          ปรากฏ ทดลองทําซ้ําหลายๆ ครั้ง เพื่อ
          เปรียบเทียบจังหวะการคลิก และลาก
          เมาส ทดลองเปลี่ยนคา Settings ของ
          Optipustics เปนคาอื่นๆ แลวลองทําซ้ํา
          เพื่อเปรียบเทียบผล
หนาที่ 6




แผนการเรียนรู เรื่อง บัว

วิชา               เกษตรศาสตร                ระดับชั้น
ระยะเวลาเรียน      4 คาบ                      บูรณาการวิชา สังคมศาสตร ศิลปะ คอมพิวเตอร ภาษาไทย


สาระการเรียนรู
          ชาวพุทธทุกคน คงไมมีใครไมรูจัก “บัว” มีการกลาวถึง “บัว” มาตั้งแตพุทธกาล และปจจุบันก็มีการ
นํา “บัว” เปนเครื่องสักการบูชาทางศาสนา โดยเฉพาะคนไทยและประเทศไทยมีความใกลชิดกับ “บัว” เปน
อยางมาก มีการนําคําที่หมายถึง “บัว” ไปใชกันอยางหลากหลาย มีการประดิษฐงานศิลปตางๆ ที่เกี่ยวของกับ
“บัว”

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
         เพื่อใหผูเรียนสามารถ
         1.   ระบุความเปนมาของ “บัว” กับชีวิตของชาวไทยพุทธได
         2.   รวบรวมคําตางๆ ที่เกี่ยวกับ “บัว” ได
         3.   บอกไดวามีการนํา “บัว” ไปประยุกตใชงานกับศิลปลักษณะใด
         4.   ระบุและบอกความแตกตางของบัวพันธุตางๆ ได
         5.   ระบุและอธิบายการเจริญเติบโต ลักษณะ ประโยชน และขอควรระวังเกี่ยวกับการปลูกบัวได
         6.   สรางสื่อนําเสนอขอมูลตางๆ ของบัวได

กิจกรรมการสอนและการเรียนรู
         การเรียนรูเกี่ยวกับ “บัว” แบงออกเปน 4 คาบ ดังนี้
        คาบที่ 1 – 3 แบงกลุมนักเรียน และชวยกันคนควาขอมูลตางๆ เกี่ยวกับบัว พรอมบันทึกขอมูลดวย
OfficeTLE Writer
                   o พันธุบัว การเพาะปลูก
                   o บัวกับพุทธศาสนา
                   o บัวกับวัฒนธรรมไทย
                   o วรรณคดีไทยที่เกี่ยวกับบัว
                   o สุภาบิตคําพังเพยที่เกี่ยวกับบัว
                   o ชื่อตางๆ ที่แปลวาบัว
หนาที่ 7


                 o ชื่ออําเภอ จังหวัดที่มีชื่อเกี่ยวของกับคําวาบัว
                 o อาชีพเกี่ยวกับบัวของคนไทย
         คาบที่ 4 สรางสื่อนําเสนอที่ประกอบดวยขอความ และภาพดวยโปรแกรม OfficeTLE Impress
แลวนําเสนอผลงาน อธิบายขั้นตอนการทํางาน พรอมทั้งชวยกันวิเคราะห สรุปผล

กิจกรรมตอเนื่อง
        ผูเรียนประยุกตใชกับการออกแบบพันธุไมอื่นที่มีถิ่นเฉพาะในแตละพื้นที่

สื่อการเรียนการสอน
        1. สื่ออินเทอรเน็ต
        2. โปรแกรม OfficeTLE Writer
        3. โปรแกรม OfficeTLE Impress

การประเมิน
        1.   ผูเรียนสามารถอภิปรายไดวา บัวมีความสําคัญกับคนไทย และชาวพุทธอยางไร
        2.   ผูเรียนสามารถจําแนกบัวพันธุตางๆ ได
        3.   ผูเรียนสามารถสืบคนเนื้อหาตามหัวขอที่ระบุได
        4.   ผูเรียนสามารถสรางสื่อนําเสนอไดนาสนใจ
หนาที่ 8




แผนการเรียนรู เรื่อง เครื่องดนตรีไทย

วิชา               สังคมศาสตร               ระดับชั้น
ระยะเวลาเรียน      4 คาบ                     บูรณาการวิชา คอมพิวเตอร ภาษาไทย


สาระการเรียนรู
           ดนตรีไทยเปนมรดกทางวัฒนธรรม ซึ่งบรรพบุรุษของเรา ไดสรางสมไว และเปนเครื่องหมายอยาง
หนึ่ง ที่แสดงลักษณะเฉพาะ ของชาติไทย เชนเดียวกับภาษา และ ศิลปวัฒนธรรม ดานอื่นๆ สมควรที่เราจะ
ภาคภูมิใจ และชวยกันทะนุบํารุง สงเสริม และรักษาไวใหดํารงคงอยูสืบไป ในเบื้องตนนี้ เราควรจะตองมี
ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ ดนตรีไทย อันอาจจะกอใหเกิดความรักและ ความสนใจ ดนตรีไทยขึ้นมาได

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
         เพื่อใหผูเรียนสามารถ
         1. ระบุความหมายและความเปนมาของ “เครื่องดนตรีไทย” ได
         2. รวบรวมความรูตางๆ เกี่ยวกับ “เครื่องดนตรีไทย” ได
         3. สรางสื่อนําเสนอขอมูลตางๆ ของเครื่องดนตรีไทยได

กิจกรรมการสอนและการเรียนรู
         การเรียนรูเกี่ยวกับ “เครื่องดนตรีไทย” แบงออกเปน 4 คาบ ดังนี้
         คาบที่ 1 – 2 แบงกลุมนักเรียน และชวยกันคนควาขอมูลตางๆ เกี่ยวกับเครื่องดนตรีไทย พรอม
บันทึกขอมูลดวย OfficeTLE Impress
                  o ความเปนมาของเครื่องดนตรีไทย
                  o ประเภทเครื่องดนตรีไทย
                  o ภูมิปญญาทองถิ่นที่เกี่ยวกับเครื่องดนตรีไทย
         คาบที่ 3 แบงกลุมรวบรวมเทปเสียงเกี่ยวกับ “เสียง” ของเครื่องดนตรีไทยแตละชิ้น หรือบันทึก
“เสียง” ของเครื่องดนตรีไทยแตละชิ้น แลวนํามาแปลงเปนไฟลเสียงดิจิทัลตามชิ้นของเครื่องดนตรีไทย ดวย
โปรแกรม Audacity
       คาบที่ 4 สรางสื่อนําเสนอที่ประกอบดวยขอความ ภาพ และเสียงเครื่องดนตรีไทยรายชิ้น ดวย
โปรแกรม OfficeTLE Impress แลวนําเสนอผลงาน อธิบายขั้นตอนการทํางาน พรอมทั้งชวยกันวิเคราะห
สรุปผล
หนาที่ 9



กิจกรรมตอเนื่อง
           ผูเรียนประยุกตใชกับการจัดทําสื่อนําเสนอดานภูมิปญญาทองถิ่นในตามแตละพื้นที่ เชน อาหาร
ทองถิ่น, ขนมหวาน, ของเลนจากไม, เพลงบอก, ลําตัด เปนตน

สื่อการเรียนการสอน
         1.   สื่ออินเทอรเน็ต
         2.   เครื่องดนตรีไทย หรือเทปเสียงเครื่องดนตรีไทย
         3.   โปรแกรมแปลง/บันทึกเสียง Audacity
         4.   โปรแกรม OfficeTLE Impress

การประเมิน
         1.   ผูเรียนสามารถอภิปรายไดวาเครื่องดนตรีไทยเกี่ยวของกับภูมิปญญาทองถิ่นไทยอยางไร
         2.   ผูเรียนสามารถจําแนกเครื่องดนตรีไทยแตละชิ้นได
         3.   ผูเรียนสามารถสืบคนเนื้อหาตามหัวขอที่ระบุได
         4.   ผูเรียนสามารถแปลงเสียงเพลงจากเทปเสียงเปนไฟลเสียงดิจิทัลได
         5.   ผูเรียนสามารถสรางสื่อนําเสนอไดนาสนใจ
หนาที่ 10




แผนการเรียนรู เรื่อง บัญชีของฉัน

วิชา               บัญชี                     ระดับชั้น
ระยะเวลาเรียน      3 คาบ                     บูรณาการวิชา คอมพิวเตอร คณิตศาสตร


สาระการเรียนรู
         การประหยัด และรูจักออม ควรเปนลักษณะนิสัยที่ติดตัวนักเรียนทุกคน อันจะชวยใหเกิดการบม
เพาะนิสัยที่ดีในอนาคต จุดเริ่มตนของการประหยัดและรูจักออมมาไดจากการรูจักบันทึกรายได และรายจาย
ประจําวัน ทั้งที่อยูในโรงเรียน และที่บาน เพื่อจะไดเห็นพฤติกรรมการใชจาย การเก็บออมของตนเอง

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
         เพื่อใหผูเรียนสามารถ
         1. บอกไดวารายการประเภทใดเปนรายได หรือรายจาย
         2. สามารถบันทึกขอมูลรายได และรายจายประจําวันได
         3. สรางคํานวณผลรายได และรายไดประจําสัปดาห และประจําเดือนไดดวยโปรแกรม
            OfficeTLE Calc

กิจกรรมการสอนและการเรียนรู
         การเรียนรูเกี่ยวกับ “บัญชีของฉัน” แบงออกเปน 3 คาบ ดังนี้
         คาบที่ 1 เรียนรูเกี่ยวกับระบบการทําบัญชีอยางงาย และความรูเกี่ยวกับ “รายได” และ “รายจาย”
จากครู และศึกษาจากตัวอยาง พรอมทั้งเริ่มจดบันทึกรายได และรายจายของนักเรียนเองในแตละวัน
         คาบที่ 2 ศึกษาการสรางบัญชีรายได และรายจายดวยโปรแกรม OfficeTLE Calc
       คาบที่ 4 ศึกษาการสรุปผลบัญชีรายได และรายจายประจําสัปดาห และประจําเดือน ดวยฟงกชัน
SUM และการสรางสูตรคํานวณดวย OfficeTLE Calc

กิจกรรมตอเนื่อง
         ผูเรียนสามารถแนะนําการจัดทําบัญชีครัวเรือนใหกับผูปกครอง

สื่อการเรียนการสอน
         1. ตัวอยางบัญชีของฉัน
         2. โปรแกรม OfficeTLE Calc
หนาที่ 11



การประเมิน
      1. ผูเรียนสามารถอภิปรายไดวา “บัญชี” ของฉันมีประโยชนอยางไร
      2. ผูเรียนสามารถบอกไดวารายการใดเปนรายได รายการใดเปนรายจาย
      3. ผูเรียนสามารถสรางสูตรคํานวณที่เกี่ยวของได

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

TAEM10:New Aspects Of EMS in Thailand
TAEM10:New Aspects Of EMS in ThailandTAEM10:New Aspects Of EMS in Thailand
TAEM10:New Aspects Of EMS in Thailandtaem
 
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismRevolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismSarinee Achavanuntakul
 
TAEM10: Pediatric Emergency
TAEM10: Pediatric EmergencyTAEM10: Pediatric Emergency
TAEM10: Pediatric Emergencytaem
 
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช(กลุ่ม9/341)
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช(กลุ่ม9/341)การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช(กลุ่ม9/341)
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช(กลุ่ม9/341)ArmNatthanon
 
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawThoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawSarinee Achavanuntakul
 
Self-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSelf-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSarinee Achavanuntakul
 
TAEM10:Nurse-Neurologic emergency
TAEM10:Nurse-Neurologic emergencyTAEM10:Nurse-Neurologic emergency
TAEM10:Nurse-Neurologic emergencytaem
 
Posterการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช_9_341
Posterการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช_9_341Posterการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช_9_341
Posterการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช_9_341ArmNatthanon
 
TAEM10: Massive Vaginal Bleeding
TAEM10: Massive Vaginal BleedingTAEM10: Massive Vaginal Bleeding
TAEM10: Massive Vaginal Bleedingtaem
 
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551taem
 

Was ist angesagt? (19)

Digital Lib4camp
Digital Lib4campDigital Lib4camp
Digital Lib4camp
 
How to read article
How to read articleHow to read article
How to read article
 
TAEM10:New Aspects Of EMS in Thailand
TAEM10:New Aspects Of EMS in ThailandTAEM10:New Aspects Of EMS in Thailand
TAEM10:New Aspects Of EMS in Thailand
 
Dia
DiaDia
Dia
 
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismRevolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
 
TAEM10: Pediatric Emergency
TAEM10: Pediatric EmergencyTAEM10: Pediatric Emergency
TAEM10: Pediatric Emergency
 
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช(กลุ่ม9/341)
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช(กลุ่ม9/341)การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช(กลุ่ม9/341)
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช(กลุ่ม9/341)
 
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawThoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
 
Self-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and NetiquetteSelf-regulation on Internet and Netiquette
Self-regulation on Internet and Netiquette
 
TAEM10:Nurse-Neurologic emergency
TAEM10:Nurse-Neurologic emergencyTAEM10:Nurse-Neurologic emergency
TAEM10:Nurse-Neurologic emergency
 
P F1
P F1P F1
P F1
 
Posterการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช_9_341
Posterการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช_9_341Posterการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช_9_341
Posterการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช_9_341
 
Microsoft Word
Microsoft WordMicrosoft Word
Microsoft Word
 
TAEM10: Massive Vaginal Bleeding
TAEM10: Massive Vaginal BleedingTAEM10: Massive Vaginal Bleeding
TAEM10: Massive Vaginal Bleeding
 
Flipalbum6
Flipalbum6Flipalbum6
Flipalbum6
 
Kai Zen
Kai ZenKai Zen
Kai Zen
 
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551
 
Radio Documentary
Radio DocumentaryRadio Documentary
Radio Documentary
 
Macromedia Captivate
Macromedia CaptivateMacromedia Captivate
Macromedia Captivate
 

Andere mochten auch (8)

e-Business
e-Businesse-Business
e-Business
 
Educational Tech at Australia
Educational Tech at AustraliaEducational Tech at Australia
Educational Tech at Australia
 
1 More Minishow
1 More Minishow1 More Minishow
1 More Minishow
 
Web 2.0 & Social Networking
Web 2.0 & Social NetworkingWeb 2.0 & Social Networking
Web 2.0 & Social Networking
 
OSS & Freeware for Education
OSS & Freeware for EducationOSS & Freeware for Education
OSS & Freeware for Education
 
Blog with Wordpress
Blog with WordpressBlog with Wordpress
Blog with Wordpress
 
Information Technology for Knowledge society
Information Technology for Knowledge societyInformation Technology for Knowledge society
Information Technology for Knowledge society
 
Digital Library Concept
Digital Library ConceptDigital Library Concept
Digital Library Concept
 

Mehr von Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

Project DogWaffle

  • 1. หนาที่ 1 แผนการเรียนรู เรื่อง สนในเมืองไทย วิชา ชีววิทยา ระดับชั้น ระยะเวลาเรียน 4 คาบ บูรณาการวิชา สังคมศาสตร ศิลปะ คอมพิวเตอร สาระการเรียนรู สน เปนพืชที่พบตามภูเขา หรือพื้นที่สูงของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเหนือ สนที่รูจักกันดีไดแก สน 2 ใบ และสน 3 ใบ แตก็มีคนอีกจํานวนมากที่ไมทราบความแตกตางของสน 2 ใบและสน 3 ใบ รวมทั้ง ประโยชนที่แทจริงของสน การศึกษาเรียนรูการเจริญเติบโต ลักษณะเฉพาะของตนสนจะชวยใหผูเรียน สามารถจําแนกไดงาย จดจําไดนาน วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เพื่อใหผูเรียนสามารถ 1. สืบคนขอมูลเกี่ยวกับตนสน 2 ใบ และสน 3 ใบจากอินเทอรเน็ตได 2. ระบุและบอกความแตกตางระหวางสน 2 ใบ และสน 3 ใบได โดยอาศัยการวาดภาพจาก โปรแกรม Project DogWallfe 3. ระบุและอธิบายการเจริญเติบโต ลักษณะ ประโยชน และขอควรระวังเกี่ยวกับตนสนได 4. สรางสื่อนําเสนอขอมูลตางๆ ของสนได กิจกรรมการสอนและการเรียนรู การเรียนรูเกี่ยวกับ “สนในเมืองไทย” แบงออกเปน 4 คาบ ดังนี้ คาบที่ 1 เรียนรูขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับตนสนจากคูมือวิชาชีววิทยา ตัวอยางภาพ และศึกษาคนควา ขอมูลเพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ต พรอมบันทึกขอมูลดวย OfficeTLE Impress คาบที่ 2 เรียนรูคําสั่งการสรางสรรคภาพดวยโปรแกรม Project DogWaffle คาบที่ 3 ฝกปฏิบัติวาดภาพกิ่งของตนสน 2 ใบ และกิ่งของตนสน 3 ใบ โดยการปรับแตงคาของ โปรแกรม Project DogWaffle คาบที่ 4 สรางสื่อนําเสนอที่ประกอบดวยขอความ และภาพที่วาดดวยโปรแกรม Project DogWaffle แลวนําเสนอผลงาน อธิบายขั้นตอนการทํางาน พรอมทั้งชวยกันวิเคราะห สรุปผล กิจกรรมตอเนื่อง ผูเรียนประยุกตใชกับการออกแบบตนไมอื่นๆ ที่มีถิ่นเฉพาะในแตละพื้นที่
  • 2. หนาที่ 2 สื่อการเรียนการสอน 1. สื่ออินเทอรเน็ต 2. โปรแกรม OfficeTLE Impress 3. โปรแกรม Project DogWaffle 4. ตัวอยางภาพตนสน 2 ใบ และสน 3 ใบ การประเมิน 1. ผูเรียนสามารถบอกถึงความแตกตางของสน 2 ใบ และสน 3 ใบได 2. ผูเรียนสามารถปรับแตงคาควบคุมของโปรแกรม Project DogWaffle ในการออกแบบกิ่งของ สน 2 ใบ และสน 3 ใบได 3. ประเมินจากชิ้นงาน ตามเกณฑที่กําหนด (Scoring Rubric)
  • 3. หนาที่ 3 เอกสารความรูเรื่อง สรางสรรคงานกราฟกสุดสวยดวย Project Dogs waffle Project Dogs Waffle (PD) โปรแกรมสรางสรรคงานกราฟกสุดสวย (Paint Program) ดวยเครื่องมือวาดภาพทั้งแปรง ภูกัน กระดาษเคลือบลักษณะ ตางๆ พรอมทั้ง Effect สรางสรรคภาพกราฟกที่พรอมจะเนรมิตงานกราฟกไดตาม จินตนาการ เนนการสราง Texture สนับสนุนการนําเขา (Import) ไปใชกับสื่อทุก รูปแบบ เชน 3D, CAD, Movie และงานผลิต VDO ทั้ง PAL และ NTSC ดาวนโหลดและติดตั้งโปรแกรม สามารถดาวนโหลดโปรแกรมไดจากเว็บไซต http://www.squirreldome.com/cyberop.htm โปรแกรมที่ดาวนโหลดจะชื่อ Dogwaffle_Install_1_2_free.exe เมื่อติดตั้งแลวจะไดโปรแกรม ปรากฏใน Start, Program, project dogwaffle และมีหนาตางโปรแกรม ดังนี้
  • 4. หนาที่ 4 กําหนดฟอรแมตงานใหถูกตอง การสรางงานกราฟกตองเลือกรูปแบบของ Output และขนาดชิ้นงาน โดยเมื่อเรียกใชงานโปรแกรม ดวยคําสั่ง Start, Program, project dogwaffle หรือสรางชิ้นงานใหม ดวยคําสั่ง File, New โปรแกรมจะ สอบถามขอมูลชิ้นงานกราฟก ดังนี้ เลือกขนาดของชิ้นงาน และฟอรแมตของ Output เชน ถาตองการสรางงานกราฟกสําหรับ คอมพิวเตอร ก็เลือกฟอรแมตเปน VGA แตถาตองการใชกับการผลิต VDO ก็เลือก PAL หรือ NTSC Panel Panel จะเปนหนาตางควบคุมเครื่องมือ หรือฟงกชันสรางสรรคงาน โดยมีลักษณะเปนกรอบเล็กๆ เชน Zoom Panel จะมีลักษณะ ดังนี้ ปุม Close เพื่อปด Panel การเรียกใชงาน Panel ใหเลือกจากเมนูคําสั่ง Window โดยมี Panel ดังนี้ • Alpha Panel ควบคุมความโปรงใส ความโปรงแสงของสี • Brush Setting Panel ควบคุมลักษณะของแปรง หรือภูกัน • Brush Images Panel ควบคุมลักษณะของหัวแปรงทาสี หรือภูกัน • Fill/Gradient Panel ควบคุมการเติมสี หรือไลเฉดสีใหกับชิ้นงาน • Optipustics Panel ควบคุมการสรางลักษณะพิเศษใหกับชิ้นงาน • Paper Panel ควบคุมการสราง Background ดวยลวดลายตางๆ • Plug-in Panel ควบคุมการเรียกใชงาน Plug-ins • Zoom Panel ควบคุมมุมมองภาพ การยอ/ขยายภาพ
  • 5. หนาที่ 5 ศึกษาการใชงานจากแบบฝกปฏิบัติ การสรางสรรคงานกราฟกดวยการฝกปฏิบัติจริง จะเห็นภาพการใชโปรแกรมไดชัดเจนกวา การศึกษาเครื่องมือแตละชิ้น ดังนั้นเนื้อหาในสวนนี้จะแนะนําการใชงานโปรแกรม จากการฝกปฏิบัติ สรางสรรคงานกราฟก เพื่อเปนแนวทางใหผูสนใจลองนําไปทดลอง และเพิ่มทักษะดวยตนเองตอไป กิ่งสน • สรางงานใหมดวยคําสั่ง File, New เลือกฟอรแมตที่เหมาะสม ตัวอยางคือ 800 x 600 Super VGA • เปด Optipustics Panel ดวยคําสั่ง Window, Optipustics panel คลิกเลือก Enabled คลิกปุม Settings… เลือกรายการ Grass.opt โดยการดับเบิลคลิก • เลือกเครื่องมือ Paint นําเมาสไป คลิกบนพื้นที่วาดภาพ สังเกตผลที่ ปรากฏ ทดลองทําซ้ําหลายๆ ครั้ง เพื่อ เปรียบเทียบจังหวะการคลิก และลาก เมาส ทดลองเปลี่ยนคา Settings ของ Optipustics เปนคาอื่นๆ แลวลองทําซ้ํา เพื่อเปรียบเทียบผล
  • 6. หนาที่ 6 แผนการเรียนรู เรื่อง บัว วิชา เกษตรศาสตร ระดับชั้น ระยะเวลาเรียน 4 คาบ บูรณาการวิชา สังคมศาสตร ศิลปะ คอมพิวเตอร ภาษาไทย สาระการเรียนรู ชาวพุทธทุกคน คงไมมีใครไมรูจัก “บัว” มีการกลาวถึง “บัว” มาตั้งแตพุทธกาล และปจจุบันก็มีการ นํา “บัว” เปนเครื่องสักการบูชาทางศาสนา โดยเฉพาะคนไทยและประเทศไทยมีความใกลชิดกับ “บัว” เปน อยางมาก มีการนําคําที่หมายถึง “บัว” ไปใชกันอยางหลากหลาย มีการประดิษฐงานศิลปตางๆ ที่เกี่ยวของกับ “บัว” วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เพื่อใหผูเรียนสามารถ 1. ระบุความเปนมาของ “บัว” กับชีวิตของชาวไทยพุทธได 2. รวบรวมคําตางๆ ที่เกี่ยวกับ “บัว” ได 3. บอกไดวามีการนํา “บัว” ไปประยุกตใชงานกับศิลปลักษณะใด 4. ระบุและบอกความแตกตางของบัวพันธุตางๆ ได 5. ระบุและอธิบายการเจริญเติบโต ลักษณะ ประโยชน และขอควรระวังเกี่ยวกับการปลูกบัวได 6. สรางสื่อนําเสนอขอมูลตางๆ ของบัวได กิจกรรมการสอนและการเรียนรู การเรียนรูเกี่ยวกับ “บัว” แบงออกเปน 4 คาบ ดังนี้ คาบที่ 1 – 3 แบงกลุมนักเรียน และชวยกันคนควาขอมูลตางๆ เกี่ยวกับบัว พรอมบันทึกขอมูลดวย OfficeTLE Writer o พันธุบัว การเพาะปลูก o บัวกับพุทธศาสนา o บัวกับวัฒนธรรมไทย o วรรณคดีไทยที่เกี่ยวกับบัว o สุภาบิตคําพังเพยที่เกี่ยวกับบัว o ชื่อตางๆ ที่แปลวาบัว
  • 7. หนาที่ 7 o ชื่ออําเภอ จังหวัดที่มีชื่อเกี่ยวของกับคําวาบัว o อาชีพเกี่ยวกับบัวของคนไทย คาบที่ 4 สรางสื่อนําเสนอที่ประกอบดวยขอความ และภาพดวยโปรแกรม OfficeTLE Impress แลวนําเสนอผลงาน อธิบายขั้นตอนการทํางาน พรอมทั้งชวยกันวิเคราะห สรุปผล กิจกรรมตอเนื่อง ผูเรียนประยุกตใชกับการออกแบบพันธุไมอื่นที่มีถิ่นเฉพาะในแตละพื้นที่ สื่อการเรียนการสอน 1. สื่ออินเทอรเน็ต 2. โปรแกรม OfficeTLE Writer 3. โปรแกรม OfficeTLE Impress การประเมิน 1. ผูเรียนสามารถอภิปรายไดวา บัวมีความสําคัญกับคนไทย และชาวพุทธอยางไร 2. ผูเรียนสามารถจําแนกบัวพันธุตางๆ ได 3. ผูเรียนสามารถสืบคนเนื้อหาตามหัวขอที่ระบุได 4. ผูเรียนสามารถสรางสื่อนําเสนอไดนาสนใจ
  • 8. หนาที่ 8 แผนการเรียนรู เรื่อง เครื่องดนตรีไทย วิชา สังคมศาสตร ระดับชั้น ระยะเวลาเรียน 4 คาบ บูรณาการวิชา คอมพิวเตอร ภาษาไทย สาระการเรียนรู ดนตรีไทยเปนมรดกทางวัฒนธรรม ซึ่งบรรพบุรุษของเรา ไดสรางสมไว และเปนเครื่องหมายอยาง หนึ่ง ที่แสดงลักษณะเฉพาะ ของชาติไทย เชนเดียวกับภาษา และ ศิลปวัฒนธรรม ดานอื่นๆ สมควรที่เราจะ ภาคภูมิใจ และชวยกันทะนุบํารุง สงเสริม และรักษาไวใหดํารงคงอยูสืบไป ในเบื้องตนนี้ เราควรจะตองมี ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ ดนตรีไทย อันอาจจะกอใหเกิดความรักและ ความสนใจ ดนตรีไทยขึ้นมาได วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เพื่อใหผูเรียนสามารถ 1. ระบุความหมายและความเปนมาของ “เครื่องดนตรีไทย” ได 2. รวบรวมความรูตางๆ เกี่ยวกับ “เครื่องดนตรีไทย” ได 3. สรางสื่อนําเสนอขอมูลตางๆ ของเครื่องดนตรีไทยได กิจกรรมการสอนและการเรียนรู การเรียนรูเกี่ยวกับ “เครื่องดนตรีไทย” แบงออกเปน 4 คาบ ดังนี้ คาบที่ 1 – 2 แบงกลุมนักเรียน และชวยกันคนควาขอมูลตางๆ เกี่ยวกับเครื่องดนตรีไทย พรอม บันทึกขอมูลดวย OfficeTLE Impress o ความเปนมาของเครื่องดนตรีไทย o ประเภทเครื่องดนตรีไทย o ภูมิปญญาทองถิ่นที่เกี่ยวกับเครื่องดนตรีไทย คาบที่ 3 แบงกลุมรวบรวมเทปเสียงเกี่ยวกับ “เสียง” ของเครื่องดนตรีไทยแตละชิ้น หรือบันทึก “เสียง” ของเครื่องดนตรีไทยแตละชิ้น แลวนํามาแปลงเปนไฟลเสียงดิจิทัลตามชิ้นของเครื่องดนตรีไทย ดวย โปรแกรม Audacity คาบที่ 4 สรางสื่อนําเสนอที่ประกอบดวยขอความ ภาพ และเสียงเครื่องดนตรีไทยรายชิ้น ดวย โปรแกรม OfficeTLE Impress แลวนําเสนอผลงาน อธิบายขั้นตอนการทํางาน พรอมทั้งชวยกันวิเคราะห สรุปผล
  • 9. หนาที่ 9 กิจกรรมตอเนื่อง ผูเรียนประยุกตใชกับการจัดทําสื่อนําเสนอดานภูมิปญญาทองถิ่นในตามแตละพื้นที่ เชน อาหาร ทองถิ่น, ขนมหวาน, ของเลนจากไม, เพลงบอก, ลําตัด เปนตน สื่อการเรียนการสอน 1. สื่ออินเทอรเน็ต 2. เครื่องดนตรีไทย หรือเทปเสียงเครื่องดนตรีไทย 3. โปรแกรมแปลง/บันทึกเสียง Audacity 4. โปรแกรม OfficeTLE Impress การประเมิน 1. ผูเรียนสามารถอภิปรายไดวาเครื่องดนตรีไทยเกี่ยวของกับภูมิปญญาทองถิ่นไทยอยางไร 2. ผูเรียนสามารถจําแนกเครื่องดนตรีไทยแตละชิ้นได 3. ผูเรียนสามารถสืบคนเนื้อหาตามหัวขอที่ระบุได 4. ผูเรียนสามารถแปลงเสียงเพลงจากเทปเสียงเปนไฟลเสียงดิจิทัลได 5. ผูเรียนสามารถสรางสื่อนําเสนอไดนาสนใจ
  • 10. หนาที่ 10 แผนการเรียนรู เรื่อง บัญชีของฉัน วิชา บัญชี ระดับชั้น ระยะเวลาเรียน 3 คาบ บูรณาการวิชา คอมพิวเตอร คณิตศาสตร สาระการเรียนรู การประหยัด และรูจักออม ควรเปนลักษณะนิสัยที่ติดตัวนักเรียนทุกคน อันจะชวยใหเกิดการบม เพาะนิสัยที่ดีในอนาคต จุดเริ่มตนของการประหยัดและรูจักออมมาไดจากการรูจักบันทึกรายได และรายจาย ประจําวัน ทั้งที่อยูในโรงเรียน และที่บาน เพื่อจะไดเห็นพฤติกรรมการใชจาย การเก็บออมของตนเอง วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เพื่อใหผูเรียนสามารถ 1. บอกไดวารายการประเภทใดเปนรายได หรือรายจาย 2. สามารถบันทึกขอมูลรายได และรายจายประจําวันได 3. สรางคํานวณผลรายได และรายไดประจําสัปดาห และประจําเดือนไดดวยโปรแกรม OfficeTLE Calc กิจกรรมการสอนและการเรียนรู การเรียนรูเกี่ยวกับ “บัญชีของฉัน” แบงออกเปน 3 คาบ ดังนี้ คาบที่ 1 เรียนรูเกี่ยวกับระบบการทําบัญชีอยางงาย และความรูเกี่ยวกับ “รายได” และ “รายจาย” จากครู และศึกษาจากตัวอยาง พรอมทั้งเริ่มจดบันทึกรายได และรายจายของนักเรียนเองในแตละวัน คาบที่ 2 ศึกษาการสรางบัญชีรายได และรายจายดวยโปรแกรม OfficeTLE Calc คาบที่ 4 ศึกษาการสรุปผลบัญชีรายได และรายจายประจําสัปดาห และประจําเดือน ดวยฟงกชัน SUM และการสรางสูตรคํานวณดวย OfficeTLE Calc กิจกรรมตอเนื่อง ผูเรียนสามารถแนะนําการจัดทําบัญชีครัวเรือนใหกับผูปกครอง สื่อการเรียนการสอน 1. ตัวอยางบัญชีของฉัน 2. โปรแกรม OfficeTLE Calc
  • 11. หนาที่ 11 การประเมิน 1. ผูเรียนสามารถอภิปรายไดวา “บัญชี” ของฉันมีประโยชนอยางไร 2. ผูเรียนสามารถบอกไดวารายการใดเปนรายได รายการใดเปนรายจาย 3. ผูเรียนสามารถสรางสูตรคํานวณที่เกี่ยวของได