SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 34
Downloaden Sie, um offline zu lesen
นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ
๑. ความเป็นมา
             รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๗๘ ได้กําหนดให้รัฐดําเนินการบริหาร
ราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศอย่างยั่งยืน รวมถึง
การจัดทําและการให้บริการสาธารณะ ระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ รวมทั้งโครงสร้างพื้นฐาน
สารสนเทศในท้องถิ่นให้ทั่วถึง เท่าเทียมกันทั่วประเทศ และรัฐบาลได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ ๒๙
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ว่าจะพัฒนาโครงข่ายโทรคมนาคมขั้นพื้นฐานให้ครอบคลุมทั่วประเทศและสร้างโอกาสใน
การเข้าถึงบริการของประชาชนอย่างเท่าเทียมกัน รวมทั้งได้จัดทํากรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารของประเทศไทย (พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๖๓) หรือ ICT 2020 เพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนา
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งกําหนดเป้าหมายการให้บริการด้านโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ
และการสื่อสาร ให้เป็นสาธารณูปโภคพื้นฐานที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ มีคุณภาพและความมั่นคง
ปลอดภัยเทียบเท่ามาตรฐานสากล ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๓
              รัฐบาลได้ตระหนักถึงบทบาทและความสําคัญของการพัฒนาบริการบรอดแบนด์ ภายใต้กรอบ
นโยบาย ICT 2020 ในการพัฒนาประเทศ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การบริการของรัฐ การรักษาสิ่งแวดล้อม
รวมถึงความมั่นคงและปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ตลอดจนช่วยส่งผลต่อการขยายตัวของ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งยังเป็นองค์ประกอบที่สําคัญของกิจการโทรคมนาคม
กิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ อย่างไรก็ตาม การพัฒนาบริการบรอดแบนด์ของประเทศ ปัจจุบันยัง
อยู่ในระดับต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับต่างประเทศ โดยมีประชากรที่ใช้บริการบรอดแบนด์เพียงร้อยละ ๓.๕ ส่วน
ใหญ่กระจุ กตัวอยู่ ในเขตนครหลวงและเมืองใหญ่ ซึ่งนําไปสู่ปัญหาความเหลื่อมล้ํ าและช่องว่างทางดิจิทัล
ระหว่างประชาชนในเขตเมืองและชนบท รวมทั้งเป็นปัจจัยที่กระทบต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ในระยะยาว
            ในการนี้ รัฐบาลจึงได้กําหนดนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ เพื่อให้เกิดความชัดเจนและใช้เป็น
กรอบการดําเนินการและขับเคลื่อนการพัฒนาบริการบรอดแบนด์ ที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีที่หลากหลาย มี
ความก้าวหน้าทันสมัย สอดคล้องกับบริบทและสภาพพื้นที่ของประเทศไทย และตอบสนองความต้องการการใช้
บริการของทุ กภาคส่วน โดยที่ รัฐมีบทบาทเป็นผู้ กําหนดนโยบายและสนับสนุนการให้มีแ ละการใช้บริการ
บรอดแบนด์อย่างทั่วถึงเท่าเทียมกัน รวมถึงส่งเสริมให้ภาคเอกชนและประชาชนร่วมดําเนินการไปสู่ความสําเร็จ
โดยมีองค์กรกํากับดูแลที่เป็นอิสระตามกฎหมายทําหน้าที่กํากับดูแลการประกอบกิจการให้มีการแข่งขันอย่าง
เสรีและเป็นธรรม

๒. นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ
              ๒.๑ ภาครัฐ มีเจตนารมณ์ที่จะสนับสนุนการพั ฒนาบริการบรอดแบนด์ อันถือเป็นบริ การที่ มี
ความสํา คั ญ เทีย บเท่ าบริก ารที่เป็น สาธารณู ปโภคขั้น พื้นฐานของประชาชน ให้ ทั่วถึ ง เพียงพอ ในราคาที่
เหมาะสม ภายใต้การแข่งขันเสรีและเป็นธรรม
               ๒.๒ ประชาชนคนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากการพัฒนาบริการบรอดแบนด์
ได้อย่างเต็มที่ ซึ่งจะช่วยลดความเหลื่อมล้ําและลดช่องว่างทางดิจิทัล ทั้งในเชิงภูมิศาสตร์และเชิงกลุ่มประชากร
สามารถกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคทั่วประเทศ ตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
-๒-

                  ๒.๓ ภาครัฐและภาคธุรกิจสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากการพัฒนาบรอดแบนด์ได้อย่าง
เต็มที่ เพื่อเพิ่มผลิตภาพ และความสามารถในการแข่งขันของประเทศอย่างยั่งยืน
             ๒.๔ ในการพัฒนาบริการบรอดแบนด์ รัฐจะบริหารจัดการทรัพย์สินด้านโทรคมนาคมที่รัฐได้
ลงทุนไปแล้วและอาจจะลงทุนเพิ่มเติม เพื่อประโยชน์สําหรับผู้ประกอบการโทรคมนาคมทุกรายอย่างเสมอภาค
โดยการปรับปรุงระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพสูงสุด และรัฐจะไม่ผูกขาดที่จะเป็นผู้ลงทุนในการจัด
ให้มีบริการต่าง ๆ แต่เพียงผู้เดียว แต่จะเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการทุกรายที่พึงประสงค์และมีศักยภาพที่
จะลงทุนเพื่อให้บริการ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดโครงข่ายบรอดแบนด์ทั่วประเทศ โดยให้มีการแข่งขันเสรีและเป็นธรรม
ในการให้บริการ
             ๒.๕ ในเรื่องที่เกี่ยวกับเขตอํานาจอธิปไตยของชาติ เช่น ตําแหน่งวงโคจรของดาวเทียม จุดขึ้นฝั่ง
ของเคเบิลใต้น้ํา หรือจุดเชื่อมต่อโครงข่ายข้ามพรมแดน ถือว่าเป็นส่วนที่มีความสําคัญต่อความมั่นคงของชาติ
และเป็นสิทธิหรือทรัพยากรที่รัฐจะส่งเสริมให้มีการนํามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งในแง่ของการนํามาใช้งาน
เพื่อตอบสนองต่อความต้องการภายในประเทศ และการนํามาใช้งานเพื่อเพิ่มศักยภาพและโอกาสในการที่จะ
พัฒนาความร่วมมือและการค้าระหว่างประเทศรัฐจะเป็นผู้กําหนดนโยบายและกํากับดูแลการดําเนินการตาม
นโยบาย โดยเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการลงทุนจัดให้มีบริการดังกล่าว
            ๒.๖ รัฐจะส่งเสริมให้เกิดผู้ประกอบการด้านโทรคมนาคมส่วนปลายทางทั้งแบบใช้สายและไร้สาย
ผู้ประกอบการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผู้ผลิตเนื้อหา ผู้ประกอบกิจการกระจายเสียง ผู้ประกอบ
กิจการโทรทัศน์ และผู้ประกอบการพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์
                                          ิ

๓. เป้าหมาย
              ๓.๑ พัฒนาโครงข่ายบรอดแบนด์ให้ครอบคลุมประชากร ไม่ต่ํากว่าร้อยละ ๘๐ ภายในปี ๒๕๕๘
และไม่ต่ํา กว่า ร้อ ยละ ๙๕ ภายในปี ๒๕๖๓ โดยมีคุณ ภาพบริก ารที่ไ ด้ม าตรฐานและมีอัต ราค่า บริก ารที่
เหมาะสม รวมทั้งให้มีบริการบรอดแบนด์ความเร็วสูงผ่านเคเบิลใยแก้วนําแสงในเมืองที่เป็นศูนย์กลางทาง
เศรษฐกิจของภูมิภาค ความเร็วไม่ต่ํากว่า 100 Mbps ภายในปี ๒๕๖๓
            ๓.๒ ประชาชนสามารถได้รับบริการผ่านโครงข่ายบรอดแบนด์ ทั้งในด้านการศึกษา สาธารณสุข
การเฝ้าระวังและเตือนภัยพิบัติและภัยธรรมชาติ และบริการสาธารณะอื่น ๆ อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน
เพื่อลดปัญหาความเหลื่อมล้ําในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ โดย
                  ๓.๒.๑ ขยายโอกาสทางการศึ ก ษา โดยโรงเรี ย นในระดั บ ตํ า บลสามารถเข้ า ถึ ง บริ ก าร
บรอดแบนด์ที่มีคุณภาพ ภายในปี ๒๕๕๘ และโรงเรียนทั่วประเทศสามารถเข้าถึงบริการดังกล่าวได้ภายใน
ปี ๒๕๖๓
                  ๓.๒.๒ ขยายบริการสาธารณสุข โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลหรือสถานีอนามัยทุก
แห่งสามารถเข้าถึงบริการบรอดแบนด์ที่มีคุณภาพเดียวกับโรงพยาบาลประจําจังหวัดหรือเทียบเท่า รวมทั้งมี
การเชื่อมโยงและให้บริการระบบประกันสุขภาพและประกันสังคมผ่านโครงข่ายบรอดแบนด์ ภายในปี ๒๕๕๘
                  ๓.๒.๓ ขยายการให้ บริ ก ารระบบรั ฐ บาลอิ เล็ ก ทรอนิกส์ ผ่ า นโครงข่า ยบรอดแบนด์ โดย
องค์การบริหารส่วนตําบลทุกแห่งของประเทศสามารถเข้าถึงบริการบรอดแบนด์ที่มีคุณภาพในระดับเดียวกับ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด และหน่วยงานของรัฐในส่วนกลาง เพื่อให้ประชาชนในทุกตําบลสามารถใช้บริการ
ต่าง ๆ ที่จะมีในระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ได้ตลอดเวลาภายในปี ๒๕๕๘
-๓-

               ๓.๒.๔ ให้ประเทศมีระบบการเฝ้าระวังเตือนภัยพิบัติ ภัยธรรมชาติ และเหตุฉุกเฉินผ่าน
โครงข่ายบรอดแบนด์ ให้ประชาชนได้รบข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องอย่างทันท่วงที
                                ั
              ๓.๓ ภาคธุรกิจไทยสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากโครงข่ายบรอดแบนด์ได้อย่างทั่วถึงและ
เท่าเทียมกัน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และการเติบโตของเศรษฐกิจไทยอย่างสมดุล
และต่อเนื่อง รวมทั้งให้โครงข่ายบรอดแบนด์เป็นปัจจัยสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม โดย
                   ๓.๓.๑ ยกระดั บขี ด ความสามารถในการแข่ งขัน ของประเทศในเรื่อ งโครงสร้ างพื้ น ฐาน
ทางด้านเทคโนโลยีโดยรวมให้อยู่ในกลุ่ม Top 25% ของประเทศที่มีความสามารถในการแข่งขันสูงสุดใน
การจัดลําดับ World Competitiveness Rankings
                   ๓.๓.๒ เกิดการขยายตัวของธุร กิจที่ใ ช้การสร้างสรรค์ การออกแบบ และบริการใหม่ ๆ
ที่ดําเนินการได้ทุกพื้นที่ในประเทศไทยผ่านเครือข่ายบรอดแบนด์ ส่งผลให้เกิดการกระจายรายได้ไปยังพื้นที่
ที่มิใช่เขตเมือง
                   ๓.๓.๓ สัดส่วนมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ต่อ GDP เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๑๐ ภายในปี ๒๕๕๘
            ๓.๔ ลดการใช้พลังงานและการใช้ทรัพยากร โดยใช้การสื่อสารหรือเข้าถึงข้อมูลร่วมกันผ่านบริการ
บรอดแบนด์ทั้งในภาคการผลิตและภาคบริการ ซึ่งจะส่งผลในการรักษาสิ่งแวดล้อมและลดภาวะโลกร้อน
             ๓.๕ ลดต้ น ทุ น การให้ บ ริ ก ารบรอดแบนด์ โ ดยรวม โดยเฉพาะด้ า นการเชื่ อ มต่ อ วงจรออก
ต่างประเทศและการนําบรอดแบนด์เข้าถึงผู้ใช้บริการ เพื่อให้อัตราค่าใช้บริการบรอดแบนด์ลดต่ําลง ประชาชน
ผู้บริโภคโดยทั่วไปสามารถเข้าถึงบริการได้แพร่หลายมากยิ่งขึ้น
             ๓.๖ เกิดการพัฒนาเนื้อหาสาระ (Content) และโปรแกรมประยุกต์ (Application) ที่เป็น
ประโยชน์ต่อการศึกษา การสาธารณสุข การป้องกันชีวิตและทรัพย์สิน ศาสนาและวัฒนธรรม การอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม และการดํารงชีวิตประจําวัน รวมทั้งสนับสนุนการดําเนินธุรกิจให้มีขีดความสามารถทางการแข่งขัน
มากยิ่งขึ้น
            ๓.๗ ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงคุณค่า และความเสี่ยงของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารที่เร่งตัวเร็วขึ้น อันเป็นผลเนื่องมาจากการขยายการใช้บริการบรอดแบนด์ รวมถึงมีความรู้และ
ทักษะในการใช้งานบรอดแบนด์อย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์
          ๓.๘ อุตสาหกรรมการผลิตเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีการพัฒนา เกิดการขยายตัว
และยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ไปสู่ระดับสากล

๔. แนวทางดําเนินการ
            ๔.๑ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการบรอดแบนด์
                  ๔.๑.๑ ส่งเสริมให้มีการแข่งขันในธุรกิจบริการบรอดแบนด์ บนพื้นฐานการแข่งขันเสรีและ
เป็นธรรม ซึ่งจะไม่มีการผูกขาด รวมถึงการเปิดกว้างทางเทคโนโลยี เพื่อก่อให้เกิดการลงทุนในโครงข่ายและ
ขยายการให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั่วถึง มีคุณภาพ ในราคาที่เหมาะสม
                  ๔.๑.๒ สนับสนุนให้มีการขยายบริการบรอดแบนด์ไปสู่พื้นที่ชนบทห่างไกล ภายใต้หลักการ
จัดให้มีบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม
-๔-

                  ๔.๑.๓ สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารลงทุ น พั ฒ นาโครงข่ า ยบรอดแบนด์ ใ นทุ ก ระดั บ ให้ มี ป ริ ม าณ
เพียงพอ คุณภาพได้มาตรฐานสากล และมีต้นทุนต่ํา ด้วยการลงทุนของภาคเอกชนหรือภาครัฐร่วมเอกชน และ
ส่งเสริมให้เกิดการใช้โครงสร้างพื้นฐานร่วมกันระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อลดการลงทุนซ้ําซ้อน ทั้งนี้ เพื่อให้
ผู้ประกอบธุรกิจบริการสามารถใช้ประโยชน์ได้โดยการกํากับดูแลด้วยกติกาการแข่งขันเสรีเป็นธรรม ไม่มี
การผูกขาดหรือการใช้อํานาจเหนือตลาดที่กีดกันการแข่งขัน
                  ๔.๑.๔ สนับสนุนการดําเนินการขององค์กรกํากับดูแลในการจัดสรรคลื่นความถี่อันเป็น
ทรัพยากรสื่อสารของชาติ เพื่อกิจการโทรคมนาคม กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ฯ ให้เกิดประโยชน์
สูงสุดแก่ประชาชน
                  ๔.๑.๕ สนับสนุนผู้ประกอบการ โดยเฉพาะผู้ประกอบการในท้องถิ่นให้สามารถลงทุนใน
เทคโนโลยีทางเลือกและวิธีการสื่อสารที่เหมาะสมที่มีการลงทุนไม่สูงมาก เพื่อสร้าง เชื่อมต่อ และให้บริการ
โครงข่ายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                  ๔.๑.๖ ปรับโครงสร้างและบทบาทของรัฐวิสาหกิจสาขาโทรคมนาคม กิจการกระจายเสียง
และกิจการโทรทัศน์ ในการให้บริการโครงข่ายให้เอื้อต่อการให้บริการบรอดแบนด์อย่างมีประสิทธิภาพ และ
ส่งเสริมการแข่งขันเสรีและเป็นธรรมของผู้ประกอบการทุกราย
                  ๔.๑.๗ ปรั บ โครงสร้ า งอุ ต สาหกรรมโทรคมนาคมให้ อ ยู่ ภ ายใต้ ร ะบบใบอนุ ญ าตและมี
การแข่งขันบนพื้นฐานที่เท่าเทียมกัน เพื่อกระตุ้นให้มีการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและระบบโครงข่ายหลักที่
จําเป็นต่อการจัดให้มีบริการบรอดแบนด์อย่างทั่วถึง
                  ๔.๑.๘ ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรด้านโทรคมนาคม รวมทั้งการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
ด้านโครงข่ายและบริการบรอดแบนด์ที่ทันสมัยให้สามารถใช้งานเชิงพาณิชย์ เพื่อลดต้นทุนในการให้บริการ
บรอดแบนด์แ ก่ป ระชาชน ลดการพึ่งการนําเข้า และสนับสนุน การพัฒ นาของอุต สาหกรรมโทรคมนาคม
กิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์
              ๔.๒ การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากบรอดแบนด์
                    ๔.๒.๑ สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารใช้ ง านบรอดแบนด์ อ ย่ า งกว้ า งขวาง เพื่ อ ขยายตลาดและ
ฐานผู้ใช้งาน โดยส่งเสริมการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Applications) และเนื้อหา (Content) ที่หลากหลาย
และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพและการดําเนินชีวิตประจําวันของประชาชน รวมทั้ง
เชื่อมโยงระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ บริการการศึกษา บริการสาธารณสุข บริการข้อมูลข่าวสาร และบริการอื่น
ของภาครัฐ ผ่านบริการบรอดแบนด์ เพื่อสร้างอุปสงค์ในบริการบรอดแบนด์อย่างมีนัยสําคัญ ทั้งนี้ ภาครัฐ
จะต้องระมัดระวังมิให้ส่งผลกระทบหรือเกิดการบิดเบือนของกลไกตลาด
                    ๔.๒.๒ ส่ง เสริม การพัฒ นาทัก ษะและความสามารถในการใช้เ ทคโนโลยีส ารสนเทศ
(IT Literacy) และการรู้เท่าทันและใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารอย่างสร้างสรรค์ (Information literacy)
ของประชาชน ชุมชนและธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ให้สามารถใช้ประโยชน์จากบริการบรอดแบนด์
ได้อย่ างมี ประสิทธิภาพ คุ้ มค่า และใช้ เป็นโอกาสในการสร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของตนเอง
โดยเฉพาะประชาชนในชนบท กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มเกษตรกร ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ
                    ๔.๒.๓ ส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาผู้ ป ระกอบการในธุ ร กิ จ ทุ ก ประเภทที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ บริ ก าร
บรอดแบนด์ เช่น ผู้ประกอบการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผู้ผลิตอุปกรณ์โทรคมนาคม ผู้ให้บริการ
อินเทอร์เน็ต ผู้ผลิตโปรแกรมประยุกต์ ผู้ผลิตเนื้อหา ผู้ประกอบกิจการกระจายเสียง ผู้ประกอบกิจการโทรทัศน์
ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
-๕-

                ๔.๒.๔ กําหนดมาตรการสนับสนุนและจูงใจในการใช้บรอดแบนด์ เพื่อลดการใช้พลังงาน
และการใช้ทรัพยากร ทั้งในภาคการผลิตและภาคบริการ โดยเฉพาะในภาคการคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์
             ๔.๓ การประกันความมั่นคงปลอดภัยของโครงข่ายบรอดแบนด์และความปลอดภัยของสังคมโดยรวม
                   ๔.๓.๑ พัฒนายกระดับบุคลากรผู้เชี่ยวชาญความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศและ
โครงข่ายทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
                   ๔.๓.๒ มีการสร้างโครงข่ายทางเลือกหลายเส้นทางที่ใช้เชื่อมโยงประเทศไทยไปสู่ประเทศใน
ภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก โดยไม่จํากัดรูปแบบไม่ว่าจะเป็นเคเบิลใต้น้ํา เคเบิลพื้นดิน หรือดาวเทียม และจะเปิดกว้าง
ให้มีการลงทุนในลักษณะดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนโดยภาครัฐ ภาคเอกชน หรือการร่วมลงทุน
                   ๔.๓.๓ กําหนดมาตรการป้องกันผลกระทบเชิงลบและภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้
บริการบรอดแบนด์อย่างแพร่หลาย โดยสร้างความเข้าใจแก่ทุกภาคส่วนเกี่ยวกับประโยชน์และผลกระทบ
เชิง ลบที่อาจเกิ ดขึ้น รวมทั้งการดําเนินมาตรการอย่างจริงจังในการป้องกันอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
การละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล และการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
                   ๔.๓.๔ ส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบ และบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐาน สําหรับข้อมูลที่มี
ความสําคัญ เช่น ข้อมูลดิน น้ํา อากาศ จราจร หรือข้อมูลที่เกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติต่าง ๆ และพัฒนาระบบ
เฝ้าระวังและเตือนภัยพิบัติ ภัยธรรมชาติ เหตุฉุกเฉิน ผ่านโครงข่ายบรอดแบนด์ ให้ประชาชนได้รับข้อมูล
ข่าวสารอย่างทันท่วงที และเชื่อถือได้ รวมทั้งมี แผนฉุกเฉิน รองรับในกรณีที่โครงข่ายบรอดแบนด์นี้ได้รับ
ความเสียหายจากภัยพิบติดังกล่าว
                         ั
                   ๔.๓.๕ สร้างความตระหนักและให้ความรู้แก่ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงาน
ภาครั ฐ และภาคเอกชน โดยเฉพาะหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ โครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ สํา คั ญ ของประเทศถึ ง
แนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ด้านสารสนเทศ
             ๔.๔ การบริหารจัดการขับเคลื่อนนโยบายและการประสานการกํากับดูแล
                   ๔.๔.๑ ให้ ค ณะกรรมการเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารแห่ ง ชาติ บู ร ณาการ
คณะทํางานในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและจัดตั้งคณะอนุกรรมการร่วมระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยมี
หน้าที่ (๑) จัดทํากรอบแผนการดําเนินการเพื่อนําไปสู่การบรรลุเป้าหมายตามนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ (๒)
กําหนดตัวชี้วัดและวิธีประเมินผลที่จําเป็นสําหรับการติดตามความสําเร็จของนโยบาย (๓) เสนอองค์กรที่
รับผิดชอบดําเนินการตามแผนปฏิบัติการข้างต้น (๔) จัดทํารายงานความก้าวหน้าของการดําเนินการตาม
นโยบายฯ เสนอต่อคณะรัฐมนตรี และสาธารณะเป็นระยะ ๆ
                   ๔.๔.๒ จัดให้มีการประสานงานกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน
รวมทั้งองค์กรกํากับดูแล เพื่อสนับสนุนให้เกิดการแข่งขันการให้บริการ ภายใต้หลักเกณฑ์การกํากับดูแลที่เอื้อต่อ
การแข่งขันที่เสรีและเป็นธรรม รวมทั้ง บูรณาการเป้าหมายและแผนงาน ทรัพยากรโทรคมนาคม และทรัพยากร
การลงทุนของประเทศในภาพรวม เพื่อจัดให้มีบริการบรอดแบนด์อย่างทั่วถึง มีคุณภาพ ในราคาที่เหมาะสม อัน
จะนําไปสู่การบรรลุเป้าหมายร่วมกันในการพัฒนาประเทศและการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
                   ๔.๔.๓ การดําเนินงานตามนโยบายนี้ จะได้รับการสนับสนุนจากการลงทุนโดยมาตรการ
สนับสนุนของภาครัฐ หรือผู้ประกอบการทุกราย หรือจากกองทุนตามพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่
และกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ....

                                   ---------------------------------------------
(Unofficial Translation)



                           NATIONAL BROADBAND POLICY

1.   Background

Article 78 of the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2550 (2007) calls for the state
to undertake public administration in order to develop the society, economy and security of
the country in a sustainable manner. This includes the creation and provision of public
services, public utilities, and comprehensive local information infrastructure that is equal
throughout the country. The government has tabled to the Parliament on 29 December 2008
its policy to develop a universal communication network and to allow people to have
equitable access to such services. The government has also developed the Information and
Communication Technology Policy Framework (2011-2020) or ICT 2020 in order to serve as
the framework for developing ICT. The Framework targets delivering ICT infrastructure as a
basic public utility that all citizens can access universally, with world-class quality and
security standards by the year 2020.
The government is aware of the role and significance of developing broadband service within
the scope of the ICT 2020 Policy Framework as part of the country’s development, in terms
of the economic and social dimensions, public services, environmental protection and also
safety and security for people’s lives and Broadband service will contribute to the continuous
expansion of Thailand’s Gross Domestic Product (GDP). It is also an important element of
telecommunications, broadcasting and television businesses. In any case, the development of
the country’s broadband service is still in a rudimentary state at the moment, when compared
to other countries. Broadband is only utilized by 3.5 percent of the population, who are
mainly clustered in the capital and big cities. This has led to the problem of inequality and
digital divide between the urban and rural population, and is also a factor that impacts on the
competitiveness of Thailand in the long term.
As such, the government has established the National Broadband Policy in order to ensure
clarity and to serve as a framework for implementing and driving the development of
broadband service which will make use of diverse technologies, be advanced and up-to-date,
and in tune with the context and situation of Thailand. In addition, it will also answer the
needs of all sectors, with the government setting the policy and supporting the creation and
use of broadband in a comprehensive and equitable manner. Furthermore, it will also
promote the participation of the private sector and people in successful implementation. An
independent supervising body, in accordance with the law, will oversee the operation of
enterprises to ensure free and fair competition.

2.   National Broadband Policy

2.1 The government intends to support the development of broadband service, which is
    considered an important fundamental public utility for the people, in a manner that is
    universal, sufficient, at a reasonable cost, and under conditions of free and fair
    competition.
2.2 Every Thai person should be able to fully access and make use of the improved
    broadband service, which will help to reduce inequality and narrow the digital divide, in
    both geographic terms and among groups of people. It will help bring progress to all
    regions of the country and enhance the quality of life of the people.
2


2.3 The government and private sector should be able to fully access and make use of
    improved broadband, in order to sustainably improve national productivity and
    competitiveness.
2.4 In developing broadband service, the government will manage telecommunications
    resources in which the government has already invested, and in which it may continue to
    invest, in order to to benefit all telecommunications businesses in an impartial manner.
    The management system will be improved to achieve higher productivity. The
    government will not monopolize the market as the sole investor providing various
    services, but will open up the opportunity for all enterprises which have the intention and
    the capacity to invest in service provision. In sum, this will lead to a broadband network
    for the whole country, with free and fair competition in service provision.
2.5 In all matters related to national sovereignty, for instance, satellite orbit positions,
    underwater cable landing points, or the connection points of transboundary networks,
    these will be considered important for national security and will be the right or property
    for the state to utilize for the highest benefit. In meeting domestic needs and in building
    capacity and opportunities for international cooperation and trade, the government will
    establish policies and supervise the implementation of the policies. Private sector
    enterprises will participate in investing in providing such services.
2.6 The government will support both fixed-line and wireless last-mile telecommunications
    businesses, ICT businesses, content producers, broadcasting businesses, television
    businesses and e-commerce businesses.

3. Objectives

3.1 Develop the broadband network to provide access to at least 80 percent of the population
    by 2015 and at least 95 percent by 2020, ensuring standard quality of service and
    reasonable service fee. In addition, cities that are economic and regional hubs should
    have high-speed fiber optic cable broadband with a minimum speed of 100 Mpbs by
    2020.
3.2 People should be able to universally an equitably access education, public health, disaster
    monitoring and warning, and other public services through a broadband network in order
    to reduce inequality in accessing public services and knowledge, through the following:
    3.2.1 Increase education opportunities by allowing sub-district-level schools to access
          quality broadband service by 2015 and schools around the country to access these
          services by 2020.
    3.2.2 Expand public health services by ensuring that all sub-district hospitals and health
          centers can access broadband service of equal or comparable quality to the service
          in provincial hospitals. Furthermore, ensure connection and provision of health
          insurance and social security services through the broadband network by 2015.
    3.2.3 Expand e-government services through the broadband network, with all sub-district
          administrative organizations in the country able to access broadband service of equal
          quality compared with provincial administrative organizations and central
          government agencies. This will allow people in all sub-districts to avail of various
          services provided by the e-government system at all times by 2015.
    3.2.4 Put in place a national disaster and emergency monitoring and warning system on
          a broadband network, which will allow the people to have accurate information in
          a timely manner.
3


3.3 The Thai business sector can access and utilize the broadband network in a universal and
    equitable manner to enhance national competitiveness and economic growth in a
    balanced and continuous manner. The broadband network will be a major factor in
    developing the Thai economy through the following:
     3.3.1 Enhance national competitiveness of technological infrastructure to be in the top
           25 percent of countries in the World Competitiveness Rankings.
     3.3.2 Economic growth that uses creativity, design, and new services can be carried out
           in all parts of the country through the broadband network, which will lead to
           disseminating revenue in non-urban areas.
     3.3.3 E-commerce will expand to account for 10 percent of GDP by 2015.
3.4 Reduce energy consumption and resource use by communicating or accessing
    information jointly through broadband service in the manufacturing and service sector,
    which will lead to better environmental protection and reduce global warming.
3.5 Reduce overall broadband service delivery cost, especially in connecting to international
    circuits and delivering broadband to users, in order to reduce broadband service fee.
    Broadband consumers can access the service in a more widespread manner.
3.6 Content and applications will be developed for education, public health, personal and
    property protection, religion and culture, environmental protection, and modern lifestyle,
    along with enhancing business competitiveness.
3.7 People will have knowledge and understanding about the value and risks of using ICT
    which are accelerating due to the expansion of broadband service. They will also have
    knowledge and skills in using broadband in a creative and productive manner.
3.8 The ICT manufacturing industry will develop, grow and upgrade its products to meet
    world-class standards.

4.   Guidelines

4.1 Developing broadband infrastructure and service
     4.1.1 Promote competition among broadband service providers, on the principle of free
           and fair competition, which will not be monopolistic and will be open to various
           technologies. This will aim to stimulate investment in the network and expand
           services in an efficient, universal, quality manner and at a reasonable price.
     4.1.2 Promote the expansion of broadband services into the remote rural areas, in
           accordance with the principles of Universal Service Obligation and service for the
           people.
     4.1.3 Promote investment and development of the broadband network at all levels in
           order to ensure adequate capacity, world-class standards and low cost through
           private or public-private mechanisms. Support the shared use of infrastructure
           between enterprises in order to reduce redundant costs. This will allow
           enterprises to use the network under supervision which holds to the rules of free
           and fair competition, without monopolistic obligations or influencing the market
           in a way that blocks competition.
     4.1.4 Promote the organization supervising the allocation of broadcasting frequencies,
           which is a national resource, among telecommunications, broadcasting, and
           television businesses, in order to optimize benefits for the people.
4


    4.1.5 Promote entrepreneurs, especially local entrepreneurs, to be able to invest in
          alternative communication technologies and methods which are suitable and
          affordable in order to build, connect and provide last-mile service in an efficient
          manner.
    4.1.6 Adjust the structure and role of state enterprises in telecommunications,
          broadcasting and television in providing network services so as to facilitate the
          delivery of broadband service in an efficient manner. Promote free and fair
          competition for all enterprises.
    4.1.7 Adjust the structure of the telecommunications industry to fit within the system of
          permits and competition on the basis of a level playing field, in order to stimulate
          basic investment and ensure a primary network which is essential for universal
          broadband service.
    4.1.8 Promote the development of personnel in telecommunications. Promote research
          and development in broadband network and services that is up-to-date and has
          potential for commercial application in order to reduce cost in delivering
          broadband service to people, lessen dependency on imports and promote
          development of telecommunications industry, broadcast and television businesses.

4.2 Developing use of broadband

    4.2.1 Support the extensive use of broadband in order to expand the market and the user
          base, by promoting the development of diverse applications and content, which
          can be used in work and daily life. Broadband can also connect e-government
          systems, educational services, public health services, information services and
          other public services, which will increase demand for broadband services. The
          government must be careful not to impact or distort market mechanisms.
    4.2.2 Promote the development of skills and capacity in using IT (IT literacy) and -
          information literacy of the people, communities and Small and Medium
          Enterprises (SMEs) to optimize their use of broadband in an efficient and
          worthwhile manner, and open opportunities in generating revenue and enhancing
          their quality of life, especially for the rural population, the disadvantaged and
          farmers, who make up the majority of the country.
    4.2.3 Promote the development of entrepreneurs in all types of businesses related to
          broadband services, such as ICT entrepreneurs, producers of telecommunications
          devices, Internet administrators, application developers, content producers,
          broadcasting entrepreneurs, television entrepreneurs, and e-commerce businesses.
    4.2.4 Develop measures to promote and incentivize the use of broadband, in order to
          reduce energy consumption and resource use in both manufacturing and service
          sectors, especially in transport and logistics.
4.3 Ensuring security of the broadband network and the overall safety of the society
    4.3.1 Develop and upgrade specialists in broadband network security and services in
          both quantity and quality.
    4.3.2 Build multiple alternate networks which link Thailand to countries in other
          regions around the world, without any constraints on format, including underwater
          cables, terrestrial cables or satellite. Should be increasingly open for investment
5


           in this manner, from the public or private sector or through public-private
           partnerships.
    4.3.3 Define measures to protect against negative impacts and threats that may arise
          from the widespread use of broadband service, by building up understanding
          among all sectors about the benefits and drawbacks which might occur.
          Implement measures in a concerted manner in protecting against electronic crime,
          infringement of personal data and intellectual property.
    4.3.4 Promote the development of systems and services to manage the infrastructure for
          important data, for instance, data about land, water, air, traffic or about managing
          various disasters. Monitoring and warning systems for disasters and emergencies
          should be developed on the broadband network, so people can receive information
          on a timely and credible basis. In addition, emergency plans should also be put in
          place in case the broadband network is damaged by any disasters.
    4.3.5 Create awareness and provide knowledge about the policy and implementation
          guidelines concerning information security to ICT administrators in both the
          private and public sectors, especially the agencies which are involved with key
          national infrastructure.

4.4 Managing and driving the policy and coordinating supervision

    4.4.1 The National ICT Committee should integrate working committees which are
          involved in various aspects and set up a joint sub-committee between the public
          and private sector. This sub-committee should have the following duties: (1)
          develop the implementation action plan to achieve the goals of the National
          Broadband Policy, (2) define the indicators and evaluation method needed in
          monitoring the achievements of the Policy, (3) propose relevant agencies to
          implement according to the action plan, and (4) draft periodic progress reports for
          the Cabinet and the public concerning the implementation of the Policy.
    4.4.2 Ensure coordination with concerned sectors, including the public sector, private
          sector and civil society, along with supervisory agencies. This includes integrating
          goals and workplans, telecommunications resources, and overall investment
          resources in the country, in order to deliver universal broadband service of good
          quality at a reasonable rate. In turn, this will allow for jointly achieving the goals in
          developing the country and enhancing quality of life for the people.
    4.4.3 Implementing in accordance with this policy will be supported by investment by
          the public sector or entrepreneurs or from the fund in accordance with the Act on
          Organisation for Allocating Broadcasting Frequency and Supervising Radio/
          Television Broadcasting and Telecommunication Businesses, B.E. 2543 (2000).


                                 -----------------------------------
30/11/53




                     โดย นางเมธินี เทพมณี
           ผู้อํานวยการสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์์
                         ํ ั โ
                                                    2553-11-18



                                                                 1




แผนแม่บท ICT แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552-2556)




                                                                 2




                                                                           1
30/11/53




             เป้าหมายของแผนแม่บท ICT (ฉบับที่ 2)
• ประชาชนอย่างน้อย 50% สามารถเข้าถึงและใช้ ICT ได้อย่างมี
  วิิจารณญาณและรู้เท่าทัน
                       ่ ั
• ยกระดับความพร้อมด้าน ICT ใน Networked Readiness Rankings
  ให้อยู่ในกลุ่ม Top 25%
• มีสัดส่วนมูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรม ICT ต่อ GDP ไม่น้อยกว่า 15%




                                                                                   3




                      เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ที่ 3
 ลําดับที่                             เป้าหมาย                         ความเร็ว
    1        ทุกครวเรอน สถานประกอบการในจังหวัดศนย์กลางความเจริญใน
             ทกครัวเรือน สถานประกอบการในจงหวดศูนยกลางความเจรญใน         4 Mbps
             ภูมิภาค และทุกอําเภอเมืองของจังหวัดที่เหลือ
    2        สถาบันการศึกษาระดับมัธยมขึ้นไปทุกแห่ง                      10 Mbps
    3        ห้องสมุดประชาชนและศูนย์การเรียนรู้ / ศูนย์บริการสารสนเทศ   4 Mbps
             ชุมชนในระดับจังหวัด อําเภอ และตําบล
    4        สถานพยาบาลและสถานีอนามัยในชนบททั่วประเทศทุกแห่ง            4 Mbps




                                                                                   4




                                                                                             2
30/11/53




                                   คนใช้ ICT แค่ไหน
    จํานวนและร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ที่ใช้อินเทอร์เน็ต
หนวย : ลานคน
              คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ ปี พ.ศ. 2547-2552
                                            พ. 2547-
                                                                         34.83 (56.8%)
                                                                                           โทรศพทมอถอ
                                                                                           โทรศัพทมือถือ
                                                         31.86 (52.8%)
                                          28.29 (47.3%)
                            24.74 (41.6%)
                21.68 (36.7%)
      16.54 (28.2%)                                                          17.93 (29.3%)
                                                  16.04 (26.8%)16.99 (28.2%)            คอมพิวเตอร
                   14.45 (24.5%) 15.39 (25.9%)
       12.54 (21.4%)
                                                            10.96 (18.2%) 12.33 (20.1%)
                                8.47 (14.2%)9.32 (15.5%)
            (11.9%)7.08 (12.0%)
       6.97 (     )
                                                                                                อิินเทอรเน็็ต
                                                                                                         

                                                                                                  ป พ.ศ.
        2547          2548         2549           2550            2551            2552
   ที่มา : สํารวจการมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2547-2552
           สํานักงานสถิติแหงชาติ


                                                                                                        5




               แนวโน้มการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
           จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร์และการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
จํานวน
 30
                      ในครัวเรือน พ.ศ. 2547 - 2552
                                  พ.
                                                                     24.8           25.6


                                                    20.4
 20                                 18.1
                      15.5

        11.7
 10                                                                         8.6            9.5
                                            7.2            7.6
               5.7           6.2



  0                                                                                                  ป พ.ศ.
           2547          2548          2549              2550          2551              2552
                      จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร                   ครัวเรือนที่เชื่อมตออินเทอรเน็ต
                      ตอ 100 ครัวเรือน                          ตอ 100 ครัวเรือน
  ที่มา : สํารวจการมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2547-2552
                                                                                                        6
          สํานักงานสถิติแหงชาติ




                                                                                                                       3
30/11/53




        ความเป็นมาของนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ
• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 78 (3) ระบุหน้าที่ของรัฐอย่างชัดเจน
  ในการกระจายโครงสรางพนฐานสารสนเทศในทองถนใหทวถง และเทาเทยมกนทวประเทศ
  ในการกระจายโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศในท้องถิ่นให้ทั่วถึง และเท่าเทียมกันทั่วประเทศ
• รัฐบาลได้แถลงนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยมีแผนงานการปรับปรุง
  ประสิทธิภาพโครงข่ายโทรคมนาคมพื้นฐานอินเทอร์เน็ตทั่วประเทศ และขยายโครงข่าย
  บรอดแบนด์อินเทอร์เน็ต
• กระทรวง ICT ได้ดําเนินการจัดทําแผนแม่บทและกรอบนโยบาย ICT ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552-2556)
  และฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2554 – 2563) หรือ ICT 2020




                                                                                            7




    ความเป็นมาของนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ (ต่อ)
• คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 2 ก.พ. 2553 ตามมติคณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจ
  โดยมอบหมายใหกระทรวง พจารณาขอเทจจรง และสภาพปญหาททาใหอตราการเขาถงระบบ
  โดยมอบหมายให้กระทรวง ICT พิจารณาข้อเท็จจริง และสภาพปัญหาที่ทําให้อัตราการเข้าถึงระบบ
  อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (Broadband Internet) ของประชาชนในสภาพปัจจุบันอยู่ในระดับต่ํา
  และแนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงบริการอินเทอร์เน็ตความเร็ว
  สูงได้อย่างมีประสิทธิภาพและทั่วถึง
• บันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกระทรวง ICT และสํานักงานคณะกรรมการกิจการ
  โทรคมนาคมแห่งชาติ เมื่อวันที่ 21 ก.ค. 2553 เพื่อร่วมกันจัดทําร่างนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ
• กระทรวง ICT ได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทํานโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ โดยมีปลัดกระทรวง
                 ไดแตงตงคณะกรรมการจดทานโยบายบรอดแบนดแหงชาต โดยมปลดกระทรวง
  ICT เป็นประธาน มีผู้แทนจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ร่วมเป็นคณะกรรมการ เมื่อวันที่
  29 ก.ค. 2553 และแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ 4 คณะ (ด้านจัดทํานโยบายและกํากับดูแล ด้านความ
  ต้องการของผู้บริโภค ด้านผู้ให้บริการโครงข่ายและบริการ และด้านการสื่อสารประชาสัมพันธ์) เมื่อ
  วันที่ 30 ก.ค. 2553 เพื่อจัดทํากรอบนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ เสนอ กทสช.
                                                                                            8




                                                                                                      4
30/11/53




   ความเป็นมาของนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ (ต่อ)
• วันที่ 17 ก.ย. 2553 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งชาติ (กทสช.) ได้
  เหนชอบในกรอบนโยบายบรอดแบนดแหงชาต พรอมแตงตงคณะอนุกรรมการนโยบายบรอดแบนด
  เห็นชอบในกรอบนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ พร้อมแต่งตั้งคณะอนกรรมการนโยบายบรอดแบนด์
  แห่งชาติ เพื่อจัดทํานโยบายต่อไป โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ICT เป็นประธาน
• ร่าง นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ ได้รับความเห็นชอบจาก ประธาน กทสช. (นรม.) เมื่อวันที่ 4
  พ.ย. 2553
• วันที่ 9 พ.ย. 2553 นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ ได้รับความเห็นชอบจาก ครม. และประกาศใช้
  อย่างเป็นทางการ




                                                                                         9




                    นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ
• นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติเป็นกรอบนโยบายสําหรับการส่งเสริมให้มีบริการบรอดแบนด์
  เปนสาธารณูปโภค
  เป็นสาธารณปโภค
• เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง และทําให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้
  ข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งบริการสาธารณะต่าง ๆ
• เป้าหมายเพื่อทําให้คุณภาพชีวิตและสภาพทางเศรษฐกิจของประชาชนไทยดีขึ้นทั่วทุกแห่งใน
  ประเทศ




                                                                                        10




                                                                                                   5
30/11/53




                                     เป้าหมาย
1.  โครงข่ายบรอดแบนด์ให้ครอบคลุมประชากร ปี 2558 ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 80 และปี 2563 ร้อย
    ละ 95 ที่ได้มาตรฐานและราคาเป็นธรรม โดยศนย์กลางทางเศรษฐกิจของภมิภาค มี Optical
           ทไดมาตรฐานและราคาเปนธรรม โดยศูนยกลางทางเศรษฐกจของภูมภาค ม
    Fiber ไม่ต่ํากว่า 100Mbps
2. ประชาชนสามารถได้รับบริการบรอดแบนด์ อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม
   • ด้านการศึกษา ปี 2558 ในระดับตําบล และปี 2563 ทั่วประเทศ
   • ด้านสาธารณสุข ปี 2558 ในระดับตําบล
   • ด้านการให้บริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2558 ในระดับองค์การปกครองท้องถิ่น
   • ด้านการเฝ้าระวังและเตือนภัยพิบัติและภัยธรรมชาติ ให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องอย่าง
      ทันท่วงที



                                                                                        11




                                 เป้าหมาย (ต่อ)
3.    ภาคธุรกิจสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากบรอดแบนด์
     • การแข่งขันของประเทศ เรื่องโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยี ให้อย่ในกล่ม TOP 25%
         การแขงขนของประเทศ เรองโครงสรางพนฐานดานเทคโนโลย ใหอยู นกลุ
         (World Competitiveness Ranking)
     • เกิดการขยายตัวของธุรกิจเชิงสร้างสรรค์
     • มูลค่า E-commerce ต่อ GDP เป็นร้อยละ 10 ภายในปี 2558
4.    ลดการใช้พลังงานและการใช้ทรัพยากร
5.    ลดต้นทุนการให้บริการบรอดแบนด์โดยรวม
6.    เกิดการพัฒนา Content และ Application ที่เป็นประโยชน์
7.    ประชาชนมีความรู้ความเข้าถึงคุณค่า และความเสี่ยงของการใช้ ICT ที่เร่งตัวเร็วขึ้น
8.    อุสาหกรรมการผลิต ICT มีการพัฒนา สู่ระดับสากล

                                                                                        12




                                                                                                   6
30/11/53




                            แนวทางดําเนินการ
1.   การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการบรอดแบนด์
2.
2    การพฒนาการใชประโยชนจากบรอดแบนด
     การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากบรอดแบนด์
3.   การประกันความมั่นคงปลอดภัยของโครงข่ายบรอดแบนด์และความปลอดภัยของสังคมโดยรวม
4.   การบริหารจัดการขับเคลื่อนนโยบายและการประสานการกํากับดูแล




                                                                                           13




                             บทบาทของรัฐบาล
1.   รัฐบาลจึงได้กาหนดนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ เพื่อให้เกิดความชัดเจนและใช้เป็นกรอบการ
                    ํ
     ดาเนนการและขบเคลอนการพฒนาบรการบรอดแบนด ทใชประโยชนจากเทคโนโลยท
     ดําเนินการและขับเคลื่อนการพัฒนาบริการบรอดแบนด์ ที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีที่
     หลากหลาย มีความก้าวหน้าทันสมัย สอดคล้องกับบริบทและสภาพพื้นที่ของประเทศไทย
     และตอบสนองความต้องการการใช้บริการของทุกภาคส่วน
2.   โดยที่รัฐมีบทบาทเป็นผู้กําหนดนโยบายและสนับสนุนการให้มีและการใช้บริการบรอดแบนด์
     อย่างทั่วถึงเท่าเทียมกัน รวมถึงส่งเสริมให้ภาคเอกชนและประชาชนร่วมดําเนินการไปสู่
     ความสําเร็จ โดยมีองค์กรกํากับดูแลที่เป็นอิสระตามกฎหมายทําหน้าที่กํากับดูแลการประกอบ
     กิจการให้มีการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม




                                                                                       14




                                                                                                      7
11/30/2010




แผนพัฒนาฯฉบับที่ 11 กับการพัฒนาบรอดแบนด
แผนพฒนาฯฉบบท กบการพฒนาบรอดแบนด




                                        โดย
                                   ดนุชา พิชยนันท
                         ผูอํานวยการสํานักวิเคราะหโครงการลงทุนภาครัฐ
                  สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ


 พฤศจิกายน 2553                         www.nesdb.go.th                  1




       ประเด็นนําเสนอ

       1. สถานะการพฒนาดานสอสารโทรคมนาคม
       1 สถานะการพัฒนาดานสื่อสารโทรคมนาคม

       2. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 กับนโยบายบรอดแบนดแหงชาติ

       3. โครงการที่สนับสนุนการพัฒนาบรอดแบนด

       4. ความทาทายในการพัฒนาบรอดแบนด


 พฤศจิกายน 2553                         www.nesdb.go.th                  2




                                                                                     1
11/30/2010




  1. สถานะการพัฒนาดานสื่อสารโทรคมนาคม
                                แนวโนมการใช Broadband Internet ของ โลก ภูมิภาค และไทย
           โครงสรางการใช Broadband Internet ของโลก                                           จํานวนผูใชอินเทอรเน็ตของไทย
 500
        ลานราย                                       462.88
                                                                484.19
                                            434.00
 450                              400.24
                                                                                               5.00
                                                                                                      ลานราย
 400                  362.62
 350      318.93                                                                               4.50
 300                                                                                           4.00
 250                                                                                           3.50
                                                                                                                                                               Growth 14.9 %
 200                                                                                           3.00
                                                                                               3 00
 150                                                                     Growth 73.9 %         2.50
 100                                                                                           2.00
  50                                                                                           1.50
   0                                                                                           1.00
            2550      2551         2552      2553      2554      2555     Growth -10.6 %       0.50                                                           Growth -3.6 %
      Total                    < 1 Mbps              1 to 8 Mbps
                                                                                                 -
      8 to 25 Mbps             25 to 50 Mbps         >50 Mbps
                                                                                                           2550     2551        2552      2553        2554          2555       2556
          ที่มา: Gartner (November 2008)
                                                                                                              Broadband                   Dial-Up                      Total
        โครงสรางการใช Broadband Internet ของเอเชียแปซิฟก                                           ที่มา: Gartner (November 2008)
       ลานราย                                                 194.62
200
180                                        171.05
                                                     184.21                                • โลก การใช Broadband Internet ของโลกที่ระดับสูงกวา 25
160                  141.53
                     141 53     146.72                                                     Mbps มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอัตราที่สงมาก โดยระดับความเร็ว 25-50
                                                                                                 มแนวโนมเพมขนในอตราทสูงมาก โดยระดบความเรว 25 50
140      124.26
120                                                                                        Mbps มีอัตราการเติบโตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นถึง 73.9 % (2550-2555)
100
 80
                                                                                           •เอเชียแปซิฟก การใช Broadband Internet ของเอเชียแปซิฟก
 60                                                                     Growth -4.3 %      ในระดับความเร็ว 25-50 Mbps มีอตราการเติบโตเฉลี่ยสูงถึง 31.6 %
                                                                                                                             ั
 40
 20                                                                                        (2550-2555)
  0
         2550      2551           2552      2553     2554     2555       Growth 31.6 %
                                                                                           •ไทย การใช Broadband Internet ของไทยมีอัตราเติบโตใน
        Total                     < 1 Mbps            1 to 8 Mbps                          ระดับสูงโดยเฉลี่ย 14.9 % (2550-2556) สวน Dial-Up มีอัตราการ
        8 to 25 Mbps              25 to 50 Mbps       >50 Mbps
            ที่มา: Gartner (November 2008)                                                 เติบโตที่ลดลงโดยเฉลี่ยปละ 3.6 %
 พฤศจิกายน 2553                                                              www.nesdb.go.th                                                                                                 3




1. สถานะการพัฒนาดานสื่อสารโทรคมนาคม (ตอ)
      แนวโนมจํานวนผูลงทะเบียนใชบริการอินเทอรเน็ตความเร็วต่ําและ                                           Internet Penetration Rate per 100 inhabitants
         ความเร็วสูงผานโทรศัพทประจําที่ในชวงป พ.ศ. 2548-2552                                              of Thailand and World
                                                                                                       รอยละ
                                                                                                       9                                                     8.44                 8.32
                                                                                                       8
                                                                                                       7                                6.57
                                                                                                                     6.18
                                                                                                                     6 18                                                             6.08
                                                                                                                                                                                      6 08
                                                                                                       6                                                        5.25
                                                                                                       5     4.53                             4.29                         4.18
                                                                                                                                 3.7                 3.88
                                                                                                       4                 3.32
                                                                                                       3                                                                       2.48
                                                                                                                                                        1.83
                                                                                                       2
                                                                                                                  0.81             1.08
                                                                                                       1
                                                                                                       0
                                                                                                                  2548                 2549                 2550           2551
                                                                                                                  Internet(T)                                   Broadband(T)
                                                                                                                  Internet(W)                                   Broadband(W)


                     ที่มา: IDC                                                                        ที่มา: ITU, ICT Eye, 2004-2008
•ภาพรวมของบริการอินเทอรเน็ตมีศักยภาพเพิ่มขึ้นเรือยๆ โดยแนวโนมของผูใชบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงเพิ่มขี้นอยางตอเนือง
                                                     ่                                                                   ่
ซึ่งมีทิศทางตรงกันขามกับอินเทอรเน็ตความเร็วต่ําที่ไดรับความนิยมลดลงอยางตอเนือง่
•สัดสวนจํานวนผูลงทะเบียนใชอินเทอรเน็ตและอินเทอรเน็ตบรอดแบนดของประเทศไทย เมือเปรียบเทียบกับตางประเทศแลว ยังอยู
                                                                                         ่
ในระดับทีต่ํากวามาก รวมทั้งยังต่ํากวาคาเฉลี่ยของโลก โดยขอมูลลาสุดเมือป พ.ศ. 2551 คาสัดสวนจํานวนผูลงทะเบียนใช
           ่                                                             ่
อินเทอรเน็ตตอจํานวนประชากร 100 คน ของประเทศไทยในบริการอินเตอรเน็ตและอินเทอรเน็ตบรอดแบนดอยูที่ระดับ 4.18 และ
2.48 ตามลําดับ ในขณะที่คาเฉลี่ยของโลกอยูที่ระดับ 8.32 และ 6.08 ตามลําดับ
                                             

 พฤศจิกายน 2553                                                              www.nesdb.go.th                                                                                                 4




                                                                                                                                                                                                         2
Natonal broadband-policy
Natonal broadband-policy
Natonal broadband-policy
Natonal broadband-policy
Natonal broadband-policy

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

New Role for Librarian and Knowledge Repository
New Role for Librarian and Knowledge RepositoryNew Role for Librarian and Knowledge Repository
New Role for Librarian and Knowledge RepositoryBoonlert Aroonpiboon
 
Open Access Article by CMU Students # 2
Open Access Article by CMU Students # 2Open Access Article by CMU Students # 2
Open Access Article by CMU Students # 2Boonlert Aroonpiboon
 
20100427 eyjafjalljokull
20100427 eyjafjalljokull20100427 eyjafjalljokull
20100427 eyjafjalljokullNSTDA THAILAND
 
20090831 Social Networking For Organizations
20090831 Social Networking For Organizations20090831 Social Networking For Organizations
20090831 Social Networking For OrganizationsThaweesak Koanantakool
 
Predatory publishers : Open Access
Predatory publishers : Open AccessPredatory publishers : Open Access
Predatory publishers : Open AccessBoonlert Aroonpiboon
 
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศสร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศSatapon Yosakonkun
 
Creative Commons: New alternative to copy right media publishing
Creative Commons: New alternative to copy right media publishingCreative Commons: New alternative to copy right media publishing
Creative Commons: New alternative to copy right media publishingBoonlert Aroonpiboon
 
Open Access Article by CMU Students # 4
Open Access Article by CMU Students # 4Open Access Article by CMU Students # 4
Open Access Article by CMU Students # 4Boonlert Aroonpiboon
 

Andere mochten auch (20)

Work diseases
Work diseasesWork diseases
Work diseases
 
Social Network for Science
Social Network for ScienceSocial Network for Science
Social Network for Science
 
New Role for Librarian and Knowledge Repository
New Role for Librarian and Knowledge RepositoryNew Role for Librarian and Knowledge Repository
New Role for Librarian and Knowledge Repository
 
Geminids news-53-pic
Geminids news-53-picGeminids news-53-pic
Geminids news-53-pic
 
Open Access Article by CMU Students # 2
Open Access Article by CMU Students # 2Open Access Article by CMU Students # 2
Open Access Article by CMU Students # 2
 
heat diseabses
heat diseabsesheat diseabses
heat diseabses
 
20100427 eyjafjalljokull
20100427 eyjafjalljokull20100427 eyjafjalljokull
20100427 eyjafjalljokull
 
Thai Government Website Standard
Thai Government Website StandardThai Government Website Standard
Thai Government Website Standard
 
Chinese new year safety
Chinese new year safetyChinese new year safety
Chinese new year safety
 
Timeline NSTDA 20 Year
Timeline NSTDA 20 YearTimeline NSTDA 20 Year
Timeline NSTDA 20 Year
 
20101119 fs-kratong53
20101119 fs-kratong5320101119 fs-kratong53
20101119 fs-kratong53
 
CPMO/NSTDA e-News Feb 53
CPMO/NSTDA e-News Feb 53CPMO/NSTDA e-News Feb 53
CPMO/NSTDA e-News Feb 53
 
20090831 Social Networking For Organizations
20090831 Social Networking For Organizations20090831 Social Networking For Organizations
20090831 Social Networking For Organizations
 
Predatory publishers : Open Access
Predatory publishers : Open AccessPredatory publishers : Open Access
Predatory publishers : Open Access
 
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศสร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Creative Commons: New alternative to copy right media publishing
Creative Commons: New alternative to copy right media publishingCreative Commons: New alternative to copy right media publishing
Creative Commons: New alternative to copy right media publishing
 
Wordpress.org Extension
Wordpress.org ExtensionWordpress.org Extension
Wordpress.org Extension
 
cat diseases
cat diseasescat diseases
cat diseases
 
Thai Research Databases
Thai Research DatabasesThai Research Databases
Thai Research Databases
 
Open Access Article by CMU Students # 4
Open Access Article by CMU Students # 4Open Access Article by CMU Students # 4
Open Access Article by CMU Students # 4
 

Ähnlich wie Natonal broadband-policy

ผลกระทบจากการอนุญาตการประกอบกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ IMT
ผลกระทบจากการอนุญาตการประกอบกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ IMTผลกระทบจากการอนุญาตการประกอบกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ IMT
ผลกระทบจากการอนุญาตการประกอบกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ IMTIsriya Paireepairit
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaElectronic Government Agency (Public Organization)
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010ICT2020
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)Totsaporn Inthanin
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2Oat Vsm
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2Oat Vsm
 
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITIMC Institute
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Settapong Malisuwan
 
Presentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai DigestPresentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai Digestchampoo13
 
BusThai Digest
BusThai DigestBusThai Digest
BusThai Digestchampoo13
 
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตVee PK
 
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ www.nbtc.go.th
 
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารDuangnapa Inyayot
 

Ähnlich wie Natonal broadband-policy (20)

คุณเมธินี
คุณเมธินีคุณเมธินี
คุณเมธินี
 
ผลกระทบจากการอนุญาตการประกอบกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ IMT
ผลกระทบจากการอนุญาตการประกอบกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ IMTผลกระทบจากการอนุญาตการประกอบกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ IMT
ผลกระทบจากการอนุญาตการประกอบกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ IMT
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต 2
 
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
 
Document1
Document1Document1
Document1
 
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
 
Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
Presentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai DigestPresentation Bus Thai Digest
Presentation Bus Thai Digest
 
BusThai Digest
BusThai DigestBusThai Digest
BusThai Digest
 
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
 
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
 

Mehr von Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

Natonal broadband-policy

  • 1. นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ ๑. ความเป็นมา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๗๘ ได้กําหนดให้รัฐดําเนินการบริหาร ราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศอย่างยั่งยืน รวมถึง การจัดทําและการให้บริการสาธารณะ ระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ รวมทั้งโครงสร้างพื้นฐาน สารสนเทศในท้องถิ่นให้ทั่วถึง เท่าเทียมกันทั่วประเทศ และรัฐบาลได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ว่าจะพัฒนาโครงข่ายโทรคมนาคมขั้นพื้นฐานให้ครอบคลุมทั่วประเทศและสร้างโอกาสใน การเข้าถึงบริการของประชาชนอย่างเท่าเทียมกัน รวมทั้งได้จัดทํากรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารของประเทศไทย (พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๖๓) หรือ ICT 2020 เพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนา ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งกําหนดเป้าหมายการให้บริการด้านโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ และการสื่อสาร ให้เป็นสาธารณูปโภคพื้นฐานที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ มีคุณภาพและความมั่นคง ปลอดภัยเทียบเท่ามาตรฐานสากล ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ รัฐบาลได้ตระหนักถึงบทบาทและความสําคัญของการพัฒนาบริการบรอดแบนด์ ภายใต้กรอบ นโยบาย ICT 2020 ในการพัฒนาประเทศ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การบริการของรัฐ การรักษาสิ่งแวดล้อม รวมถึงความมั่นคงและปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ตลอดจนช่วยส่งผลต่อการขยายตัวของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งยังเป็นองค์ประกอบที่สําคัญของกิจการโทรคมนาคม กิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ อย่างไรก็ตาม การพัฒนาบริการบรอดแบนด์ของประเทศ ปัจจุบันยัง อยู่ในระดับต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับต่างประเทศ โดยมีประชากรที่ใช้บริการบรอดแบนด์เพียงร้อยละ ๓.๕ ส่วน ใหญ่กระจุ กตัวอยู่ ในเขตนครหลวงและเมืองใหญ่ ซึ่งนําไปสู่ปัญหาความเหลื่อมล้ํ าและช่องว่างทางดิจิทัล ระหว่างประชาชนในเขตเมืองและชนบท รวมทั้งเป็นปัจจัยที่กระทบต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในระยะยาว ในการนี้ รัฐบาลจึงได้กําหนดนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ เพื่อให้เกิดความชัดเจนและใช้เป็น กรอบการดําเนินการและขับเคลื่อนการพัฒนาบริการบรอดแบนด์ ที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีที่หลากหลาย มี ความก้าวหน้าทันสมัย สอดคล้องกับบริบทและสภาพพื้นที่ของประเทศไทย และตอบสนองความต้องการการใช้ บริการของทุ กภาคส่วน โดยที่ รัฐมีบทบาทเป็นผู้ กําหนดนโยบายและสนับสนุนการให้มีแ ละการใช้บริการ บรอดแบนด์อย่างทั่วถึงเท่าเทียมกัน รวมถึงส่งเสริมให้ภาคเอกชนและประชาชนร่วมดําเนินการไปสู่ความสําเร็จ โดยมีองค์กรกํากับดูแลที่เป็นอิสระตามกฎหมายทําหน้าที่กํากับดูแลการประกอบกิจการให้มีการแข่งขันอย่าง เสรีและเป็นธรรม ๒. นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ ๒.๑ ภาครัฐ มีเจตนารมณ์ที่จะสนับสนุนการพั ฒนาบริการบรอดแบนด์ อันถือเป็นบริ การที่ มี ความสํา คั ญ เทีย บเท่ าบริก ารที่เป็น สาธารณู ปโภคขั้น พื้นฐานของประชาชน ให้ ทั่วถึ ง เพียงพอ ในราคาที่ เหมาะสม ภายใต้การแข่งขันเสรีและเป็นธรรม ๒.๒ ประชาชนคนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากการพัฒนาบริการบรอดแบนด์ ได้อย่างเต็มที่ ซึ่งจะช่วยลดความเหลื่อมล้ําและลดช่องว่างทางดิจิทัล ทั้งในเชิงภูมิศาสตร์และเชิงกลุ่มประชากร สามารถกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคทั่วประเทศ ตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
  • 2. -๒- ๒.๓ ภาครัฐและภาคธุรกิจสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากการพัฒนาบรอดแบนด์ได้อย่าง เต็มที่ เพื่อเพิ่มผลิตภาพ และความสามารถในการแข่งขันของประเทศอย่างยั่งยืน ๒.๔ ในการพัฒนาบริการบรอดแบนด์ รัฐจะบริหารจัดการทรัพย์สินด้านโทรคมนาคมที่รัฐได้ ลงทุนไปแล้วและอาจจะลงทุนเพิ่มเติม เพื่อประโยชน์สําหรับผู้ประกอบการโทรคมนาคมทุกรายอย่างเสมอภาค โดยการปรับปรุงระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพสูงสุด และรัฐจะไม่ผูกขาดที่จะเป็นผู้ลงทุนในการจัด ให้มีบริการต่าง ๆ แต่เพียงผู้เดียว แต่จะเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการทุกรายที่พึงประสงค์และมีศักยภาพที่ จะลงทุนเพื่อให้บริการ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดโครงข่ายบรอดแบนด์ทั่วประเทศ โดยให้มีการแข่งขันเสรีและเป็นธรรม ในการให้บริการ ๒.๕ ในเรื่องที่เกี่ยวกับเขตอํานาจอธิปไตยของชาติ เช่น ตําแหน่งวงโคจรของดาวเทียม จุดขึ้นฝั่ง ของเคเบิลใต้น้ํา หรือจุดเชื่อมต่อโครงข่ายข้ามพรมแดน ถือว่าเป็นส่วนที่มีความสําคัญต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นสิทธิหรือทรัพยากรที่รัฐจะส่งเสริมให้มีการนํามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งในแง่ของการนํามาใช้งาน เพื่อตอบสนองต่อความต้องการภายในประเทศ และการนํามาใช้งานเพื่อเพิ่มศักยภาพและโอกาสในการที่จะ พัฒนาความร่วมมือและการค้าระหว่างประเทศรัฐจะเป็นผู้กําหนดนโยบายและกํากับดูแลการดําเนินการตาม นโยบาย โดยเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการลงทุนจัดให้มีบริการดังกล่าว ๒.๖ รัฐจะส่งเสริมให้เกิดผู้ประกอบการด้านโทรคมนาคมส่วนปลายทางทั้งแบบใช้สายและไร้สาย ผู้ประกอบการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผู้ผลิตเนื้อหา ผู้ประกอบกิจการกระจายเสียง ผู้ประกอบ กิจการโทรทัศน์ และผู้ประกอบการพาณิชย์อเล็กทรอนิกส์ ิ ๓. เป้าหมาย ๓.๑ พัฒนาโครงข่ายบรอดแบนด์ให้ครอบคลุมประชากร ไม่ต่ํากว่าร้อยละ ๘๐ ภายในปี ๒๕๕๘ และไม่ต่ํา กว่า ร้อ ยละ ๙๕ ภายในปี ๒๕๖๓ โดยมีคุณ ภาพบริก ารที่ไ ด้ม าตรฐานและมีอัต ราค่า บริก ารที่ เหมาะสม รวมทั้งให้มีบริการบรอดแบนด์ความเร็วสูงผ่านเคเบิลใยแก้วนําแสงในเมืองที่เป็นศูนย์กลางทาง เศรษฐกิจของภูมิภาค ความเร็วไม่ต่ํากว่า 100 Mbps ภายในปี ๒๕๖๓ ๓.๒ ประชาชนสามารถได้รับบริการผ่านโครงข่ายบรอดแบนด์ ทั้งในด้านการศึกษา สาธารณสุข การเฝ้าระวังและเตือนภัยพิบัติและภัยธรรมชาติ และบริการสาธารณะอื่น ๆ อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน เพื่อลดปัญหาความเหลื่อมล้ําในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ โดย ๓.๒.๑ ขยายโอกาสทางการศึ ก ษา โดยโรงเรี ย นในระดั บ ตํ า บลสามารถเข้ า ถึ ง บริ ก าร บรอดแบนด์ที่มีคุณภาพ ภายในปี ๒๕๕๘ และโรงเรียนทั่วประเทศสามารถเข้าถึงบริการดังกล่าวได้ภายใน ปี ๒๕๖๓ ๓.๒.๒ ขยายบริการสาธารณสุข โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลหรือสถานีอนามัยทุก แห่งสามารถเข้าถึงบริการบรอดแบนด์ที่มีคุณภาพเดียวกับโรงพยาบาลประจําจังหวัดหรือเทียบเท่า รวมทั้งมี การเชื่อมโยงและให้บริการระบบประกันสุขภาพและประกันสังคมผ่านโครงข่ายบรอดแบนด์ ภายในปี ๒๕๕๘ ๓.๒.๓ ขยายการให้ บริ ก ารระบบรั ฐ บาลอิ เล็ ก ทรอนิกส์ ผ่ า นโครงข่า ยบรอดแบนด์ โดย องค์การบริหารส่วนตําบลทุกแห่งของประเทศสามารถเข้าถึงบริการบรอดแบนด์ที่มีคุณภาพในระดับเดียวกับ องค์การบริหารส่วนจังหวัด และหน่วยงานของรัฐในส่วนกลาง เพื่อให้ประชาชนในทุกตําบลสามารถใช้บริการ ต่าง ๆ ที่จะมีในระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ได้ตลอดเวลาภายในปี ๒๕๕๘
  • 3. -๓- ๓.๒.๔ ให้ประเทศมีระบบการเฝ้าระวังเตือนภัยพิบัติ ภัยธรรมชาติ และเหตุฉุกเฉินผ่าน โครงข่ายบรอดแบนด์ ให้ประชาชนได้รบข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องอย่างทันท่วงที ั ๓.๓ ภาคธุรกิจไทยสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากโครงข่ายบรอดแบนด์ได้อย่างทั่วถึงและ เท่าเทียมกัน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และการเติบโตของเศรษฐกิจไทยอย่างสมดุล และต่อเนื่อง รวมทั้งให้โครงข่ายบรอดแบนด์เป็นปัจจัยสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม โดย ๓.๓.๑ ยกระดั บขี ด ความสามารถในการแข่ งขัน ของประเทศในเรื่อ งโครงสร้ างพื้ น ฐาน ทางด้านเทคโนโลยีโดยรวมให้อยู่ในกลุ่ม Top 25% ของประเทศที่มีความสามารถในการแข่งขันสูงสุดใน การจัดลําดับ World Competitiveness Rankings ๓.๓.๒ เกิดการขยายตัวของธุร กิจที่ใ ช้การสร้างสรรค์ การออกแบบ และบริการใหม่ ๆ ที่ดําเนินการได้ทุกพื้นที่ในประเทศไทยผ่านเครือข่ายบรอดแบนด์ ส่งผลให้เกิดการกระจายรายได้ไปยังพื้นที่ ที่มิใช่เขตเมือง ๓.๓.๓ สัดส่วนมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ต่อ GDP เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๑๐ ภายในปี ๒๕๕๘ ๓.๔ ลดการใช้พลังงานและการใช้ทรัพยากร โดยใช้การสื่อสารหรือเข้าถึงข้อมูลร่วมกันผ่านบริการ บรอดแบนด์ทั้งในภาคการผลิตและภาคบริการ ซึ่งจะส่งผลในการรักษาสิ่งแวดล้อมและลดภาวะโลกร้อน ๓.๕ ลดต้ น ทุ น การให้ บ ริ ก ารบรอดแบนด์ โ ดยรวม โดยเฉพาะด้ า นการเชื่ อ มต่ อ วงจรออก ต่างประเทศและการนําบรอดแบนด์เข้าถึงผู้ใช้บริการ เพื่อให้อัตราค่าใช้บริการบรอดแบนด์ลดต่ําลง ประชาชน ผู้บริโภคโดยทั่วไปสามารถเข้าถึงบริการได้แพร่หลายมากยิ่งขึ้น ๓.๖ เกิดการพัฒนาเนื้อหาสาระ (Content) และโปรแกรมประยุกต์ (Application) ที่เป็น ประโยชน์ต่อการศึกษา การสาธารณสุข การป้องกันชีวิตและทรัพย์สิน ศาสนาและวัฒนธรรม การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม และการดํารงชีวิตประจําวัน รวมทั้งสนับสนุนการดําเนินธุรกิจให้มีขีดความสามารถทางการแข่งขัน มากยิ่งขึ้น ๓.๗ ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงคุณค่า และความเสี่ยงของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่เร่งตัวเร็วขึ้น อันเป็นผลเนื่องมาจากการขยายการใช้บริการบรอดแบนด์ รวมถึงมีความรู้และ ทักษะในการใช้งานบรอดแบนด์อย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ ๓.๘ อุตสาหกรรมการผลิตเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีการพัฒนา เกิดการขยายตัว และยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ไปสู่ระดับสากล ๔. แนวทางดําเนินการ ๔.๑ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการบรอดแบนด์ ๔.๑.๑ ส่งเสริมให้มีการแข่งขันในธุรกิจบริการบรอดแบนด์ บนพื้นฐานการแข่งขันเสรีและ เป็นธรรม ซึ่งจะไม่มีการผูกขาด รวมถึงการเปิดกว้างทางเทคโนโลยี เพื่อก่อให้เกิดการลงทุนในโครงข่ายและ ขยายการให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั่วถึง มีคุณภาพ ในราคาที่เหมาะสม ๔.๑.๒ สนับสนุนให้มีการขยายบริการบรอดแบนด์ไปสู่พื้นที่ชนบทห่างไกล ภายใต้หลักการ จัดให้มีบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม
  • 4. -๔- ๔.๑.๓ สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารลงทุ น พั ฒ นาโครงข่ า ยบรอดแบนด์ ใ นทุ ก ระดั บ ให้ มี ป ริ ม าณ เพียงพอ คุณภาพได้มาตรฐานสากล และมีต้นทุนต่ํา ด้วยการลงทุนของภาคเอกชนหรือภาครัฐร่วมเอกชน และ ส่งเสริมให้เกิดการใช้โครงสร้างพื้นฐานร่วมกันระหว่างผู้ประกอบการ เพื่อลดการลงทุนซ้ําซ้อน ทั้งนี้ เพื่อให้ ผู้ประกอบธุรกิจบริการสามารถใช้ประโยชน์ได้โดยการกํากับดูแลด้วยกติกาการแข่งขันเสรีเป็นธรรม ไม่มี การผูกขาดหรือการใช้อํานาจเหนือตลาดที่กีดกันการแข่งขัน ๔.๑.๔ สนับสนุนการดําเนินการขององค์กรกํากับดูแลในการจัดสรรคลื่นความถี่อันเป็น ทรัพยากรสื่อสารของชาติ เพื่อกิจการโทรคมนาคม กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ฯ ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดแก่ประชาชน ๔.๑.๕ สนับสนุนผู้ประกอบการ โดยเฉพาะผู้ประกอบการในท้องถิ่นให้สามารถลงทุนใน เทคโนโลยีทางเลือกและวิธีการสื่อสารที่เหมาะสมที่มีการลงทุนไม่สูงมาก เพื่อสร้าง เชื่อมต่อ และให้บริการ โครงข่ายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔.๑.๖ ปรับโครงสร้างและบทบาทของรัฐวิสาหกิจสาขาโทรคมนาคม กิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ ในการให้บริการโครงข่ายให้เอื้อต่อการให้บริการบรอดแบนด์อย่างมีประสิทธิภาพ และ ส่งเสริมการแข่งขันเสรีและเป็นธรรมของผู้ประกอบการทุกราย ๔.๑.๗ ปรั บ โครงสร้ า งอุ ต สาหกรรมโทรคมนาคมให้ อ ยู่ ภ ายใต้ ร ะบบใบอนุ ญ าตและมี การแข่งขันบนพื้นฐานที่เท่าเทียมกัน เพื่อกระตุ้นให้มีการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและระบบโครงข่ายหลักที่ จําเป็นต่อการจัดให้มีบริการบรอดแบนด์อย่างทั่วถึง ๔.๑.๘ ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรด้านโทรคมนาคม รวมทั้งการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ด้านโครงข่ายและบริการบรอดแบนด์ที่ทันสมัยให้สามารถใช้งานเชิงพาณิชย์ เพื่อลดต้นทุนในการให้บริการ บรอดแบนด์แ ก่ป ระชาชน ลดการพึ่งการนําเข้า และสนับสนุน การพัฒ นาของอุต สาหกรรมโทรคมนาคม กิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ ๔.๒ การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากบรอดแบนด์ ๔.๒.๑ สนั บ สนุ น ให้ มี ก ารใช้ ง านบรอดแบนด์ อ ย่ า งกว้ า งขวาง เพื่ อ ขยายตลาดและ ฐานผู้ใช้งาน โดยส่งเสริมการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Applications) และเนื้อหา (Content) ที่หลากหลาย และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพและการดําเนินชีวิตประจําวันของประชาชน รวมทั้ง เชื่อมโยงระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ บริการการศึกษา บริการสาธารณสุข บริการข้อมูลข่าวสาร และบริการอื่น ของภาครัฐ ผ่านบริการบรอดแบนด์ เพื่อสร้างอุปสงค์ในบริการบรอดแบนด์อย่างมีนัยสําคัญ ทั้งนี้ ภาครัฐ จะต้องระมัดระวังมิให้ส่งผลกระทบหรือเกิดการบิดเบือนของกลไกตลาด ๔.๒.๒ ส่ง เสริม การพัฒ นาทัก ษะและความสามารถในการใช้เ ทคโนโลยีส ารสนเทศ (IT Literacy) และการรู้เท่าทันและใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารอย่างสร้างสรรค์ (Information literacy) ของประชาชน ชุมชนและธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ให้สามารถใช้ประโยชน์จากบริการบรอดแบนด์ ได้อย่ างมี ประสิทธิภาพ คุ้ มค่า และใช้ เป็นโอกาสในการสร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของตนเอง โดยเฉพาะประชาชนในชนบท กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มเกษตรกร ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ ๔.๒.๓ ส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาผู้ ป ระกอบการในธุ ร กิ จ ทุ ก ประเภทที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ บริ ก าร บรอดแบนด์ เช่น ผู้ประกอบการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผู้ผลิตอุปกรณ์โทรคมนาคม ผู้ให้บริการ อินเทอร์เน็ต ผู้ผลิตโปรแกรมประยุกต์ ผู้ผลิตเนื้อหา ผู้ประกอบกิจการกระจายเสียง ผู้ประกอบกิจการโทรทัศน์ ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
  • 5. -๕- ๔.๒.๔ กําหนดมาตรการสนับสนุนและจูงใจในการใช้บรอดแบนด์ เพื่อลดการใช้พลังงาน และการใช้ทรัพยากร ทั้งในภาคการผลิตและภาคบริการ โดยเฉพาะในภาคการคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ ๔.๓ การประกันความมั่นคงปลอดภัยของโครงข่ายบรอดแบนด์และความปลอดภัยของสังคมโดยรวม ๔.๓.๑ พัฒนายกระดับบุคลากรผู้เชี่ยวชาญความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศและ โครงข่ายทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ ๔.๓.๒ มีการสร้างโครงข่ายทางเลือกหลายเส้นทางที่ใช้เชื่อมโยงประเทศไทยไปสู่ประเทศใน ภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก โดยไม่จํากัดรูปแบบไม่ว่าจะเป็นเคเบิลใต้น้ํา เคเบิลพื้นดิน หรือดาวเทียม และจะเปิดกว้าง ให้มีการลงทุนในลักษณะดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนโดยภาครัฐ ภาคเอกชน หรือการร่วมลงทุน ๔.๓.๓ กําหนดมาตรการป้องกันผลกระทบเชิงลบและภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ บริการบรอดแบนด์อย่างแพร่หลาย โดยสร้างความเข้าใจแก่ทุกภาคส่วนเกี่ยวกับประโยชน์และผลกระทบ เชิง ลบที่อาจเกิ ดขึ้น รวมทั้งการดําเนินมาตรการอย่างจริงจังในการป้องกันอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต การละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล และการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา ๔.๓.๔ ส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบ และบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐาน สําหรับข้อมูลที่มี ความสําคัญ เช่น ข้อมูลดิน น้ํา อากาศ จราจร หรือข้อมูลที่เกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติต่าง ๆ และพัฒนาระบบ เฝ้าระวังและเตือนภัยพิบัติ ภัยธรรมชาติ เหตุฉุกเฉิน ผ่านโครงข่ายบรอดแบนด์ ให้ประชาชนได้รับข้อมูล ข่าวสารอย่างทันท่วงที และเชื่อถือได้ รวมทั้งมี แผนฉุกเฉิน รองรับในกรณีที่โครงข่ายบรอดแบนด์นี้ได้รับ ความเสียหายจากภัยพิบติดังกล่าว ั ๔.๓.๕ สร้างความตระหนักและให้ความรู้แก่ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงาน ภาครั ฐ และภาคเอกชน โดยเฉพาะหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ โครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ สํา คั ญ ของประเทศถึ ง แนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ด้านสารสนเทศ ๔.๔ การบริหารจัดการขับเคลื่อนนโยบายและการประสานการกํากับดูแล ๔.๔.๑ ให้ ค ณะกรรมการเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารแห่ ง ชาติ บู ร ณาการ คณะทํางานในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและจัดตั้งคณะอนุกรรมการร่วมระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยมี หน้าที่ (๑) จัดทํากรอบแผนการดําเนินการเพื่อนําไปสู่การบรรลุเป้าหมายตามนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ (๒) กําหนดตัวชี้วัดและวิธีประเมินผลที่จําเป็นสําหรับการติดตามความสําเร็จของนโยบาย (๓) เสนอองค์กรที่ รับผิดชอบดําเนินการตามแผนปฏิบัติการข้างต้น (๔) จัดทํารายงานความก้าวหน้าของการดําเนินการตาม นโยบายฯ เสนอต่อคณะรัฐมนตรี และสาธารณะเป็นระยะ ๆ ๔.๔.๒ จัดให้มีการประสานงานกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน รวมทั้งองค์กรกํากับดูแล เพื่อสนับสนุนให้เกิดการแข่งขันการให้บริการ ภายใต้หลักเกณฑ์การกํากับดูแลที่เอื้อต่อ การแข่งขันที่เสรีและเป็นธรรม รวมทั้ง บูรณาการเป้าหมายและแผนงาน ทรัพยากรโทรคมนาคม และทรัพยากร การลงทุนของประเทศในภาพรวม เพื่อจัดให้มีบริการบรอดแบนด์อย่างทั่วถึง มีคุณภาพ ในราคาที่เหมาะสม อัน จะนําไปสู่การบรรลุเป้าหมายร่วมกันในการพัฒนาประเทศและการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ๔.๔.๓ การดําเนินงานตามนโยบายนี้ จะได้รับการสนับสนุนจากการลงทุนโดยมาตรการ สนับสนุนของภาครัฐ หรือผู้ประกอบการทุกราย หรือจากกองทุนตามพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. .... ---------------------------------------------
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16. (Unofficial Translation) NATIONAL BROADBAND POLICY 1. Background Article 78 of the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2550 (2007) calls for the state to undertake public administration in order to develop the society, economy and security of the country in a sustainable manner. This includes the creation and provision of public services, public utilities, and comprehensive local information infrastructure that is equal throughout the country. The government has tabled to the Parliament on 29 December 2008 its policy to develop a universal communication network and to allow people to have equitable access to such services. The government has also developed the Information and Communication Technology Policy Framework (2011-2020) or ICT 2020 in order to serve as the framework for developing ICT. The Framework targets delivering ICT infrastructure as a basic public utility that all citizens can access universally, with world-class quality and security standards by the year 2020. The government is aware of the role and significance of developing broadband service within the scope of the ICT 2020 Policy Framework as part of the country’s development, in terms of the economic and social dimensions, public services, environmental protection and also safety and security for people’s lives and Broadband service will contribute to the continuous expansion of Thailand’s Gross Domestic Product (GDP). It is also an important element of telecommunications, broadcasting and television businesses. In any case, the development of the country’s broadband service is still in a rudimentary state at the moment, when compared to other countries. Broadband is only utilized by 3.5 percent of the population, who are mainly clustered in the capital and big cities. This has led to the problem of inequality and digital divide between the urban and rural population, and is also a factor that impacts on the competitiveness of Thailand in the long term. As such, the government has established the National Broadband Policy in order to ensure clarity and to serve as a framework for implementing and driving the development of broadband service which will make use of diverse technologies, be advanced and up-to-date, and in tune with the context and situation of Thailand. In addition, it will also answer the needs of all sectors, with the government setting the policy and supporting the creation and use of broadband in a comprehensive and equitable manner. Furthermore, it will also promote the participation of the private sector and people in successful implementation. An independent supervising body, in accordance with the law, will oversee the operation of enterprises to ensure free and fair competition. 2. National Broadband Policy 2.1 The government intends to support the development of broadband service, which is considered an important fundamental public utility for the people, in a manner that is universal, sufficient, at a reasonable cost, and under conditions of free and fair competition. 2.2 Every Thai person should be able to fully access and make use of the improved broadband service, which will help to reduce inequality and narrow the digital divide, in both geographic terms and among groups of people. It will help bring progress to all regions of the country and enhance the quality of life of the people.
  • 17. 2 2.3 The government and private sector should be able to fully access and make use of improved broadband, in order to sustainably improve national productivity and competitiveness. 2.4 In developing broadband service, the government will manage telecommunications resources in which the government has already invested, and in which it may continue to invest, in order to to benefit all telecommunications businesses in an impartial manner. The management system will be improved to achieve higher productivity. The government will not monopolize the market as the sole investor providing various services, but will open up the opportunity for all enterprises which have the intention and the capacity to invest in service provision. In sum, this will lead to a broadband network for the whole country, with free and fair competition in service provision. 2.5 In all matters related to national sovereignty, for instance, satellite orbit positions, underwater cable landing points, or the connection points of transboundary networks, these will be considered important for national security and will be the right or property for the state to utilize for the highest benefit. In meeting domestic needs and in building capacity and opportunities for international cooperation and trade, the government will establish policies and supervise the implementation of the policies. Private sector enterprises will participate in investing in providing such services. 2.6 The government will support both fixed-line and wireless last-mile telecommunications businesses, ICT businesses, content producers, broadcasting businesses, television businesses and e-commerce businesses. 3. Objectives 3.1 Develop the broadband network to provide access to at least 80 percent of the population by 2015 and at least 95 percent by 2020, ensuring standard quality of service and reasonable service fee. In addition, cities that are economic and regional hubs should have high-speed fiber optic cable broadband with a minimum speed of 100 Mpbs by 2020. 3.2 People should be able to universally an equitably access education, public health, disaster monitoring and warning, and other public services through a broadband network in order to reduce inequality in accessing public services and knowledge, through the following: 3.2.1 Increase education opportunities by allowing sub-district-level schools to access quality broadband service by 2015 and schools around the country to access these services by 2020. 3.2.2 Expand public health services by ensuring that all sub-district hospitals and health centers can access broadband service of equal or comparable quality to the service in provincial hospitals. Furthermore, ensure connection and provision of health insurance and social security services through the broadband network by 2015. 3.2.3 Expand e-government services through the broadband network, with all sub-district administrative organizations in the country able to access broadband service of equal quality compared with provincial administrative organizations and central government agencies. This will allow people in all sub-districts to avail of various services provided by the e-government system at all times by 2015. 3.2.4 Put in place a national disaster and emergency monitoring and warning system on a broadband network, which will allow the people to have accurate information in a timely manner.
  • 18. 3 3.3 The Thai business sector can access and utilize the broadband network in a universal and equitable manner to enhance national competitiveness and economic growth in a balanced and continuous manner. The broadband network will be a major factor in developing the Thai economy through the following: 3.3.1 Enhance national competitiveness of technological infrastructure to be in the top 25 percent of countries in the World Competitiveness Rankings. 3.3.2 Economic growth that uses creativity, design, and new services can be carried out in all parts of the country through the broadband network, which will lead to disseminating revenue in non-urban areas. 3.3.3 E-commerce will expand to account for 10 percent of GDP by 2015. 3.4 Reduce energy consumption and resource use by communicating or accessing information jointly through broadband service in the manufacturing and service sector, which will lead to better environmental protection and reduce global warming. 3.5 Reduce overall broadband service delivery cost, especially in connecting to international circuits and delivering broadband to users, in order to reduce broadband service fee. Broadband consumers can access the service in a more widespread manner. 3.6 Content and applications will be developed for education, public health, personal and property protection, religion and culture, environmental protection, and modern lifestyle, along with enhancing business competitiveness. 3.7 People will have knowledge and understanding about the value and risks of using ICT which are accelerating due to the expansion of broadband service. They will also have knowledge and skills in using broadband in a creative and productive manner. 3.8 The ICT manufacturing industry will develop, grow and upgrade its products to meet world-class standards. 4. Guidelines 4.1 Developing broadband infrastructure and service 4.1.1 Promote competition among broadband service providers, on the principle of free and fair competition, which will not be monopolistic and will be open to various technologies. This will aim to stimulate investment in the network and expand services in an efficient, universal, quality manner and at a reasonable price. 4.1.2 Promote the expansion of broadband services into the remote rural areas, in accordance with the principles of Universal Service Obligation and service for the people. 4.1.3 Promote investment and development of the broadband network at all levels in order to ensure adequate capacity, world-class standards and low cost through private or public-private mechanisms. Support the shared use of infrastructure between enterprises in order to reduce redundant costs. This will allow enterprises to use the network under supervision which holds to the rules of free and fair competition, without monopolistic obligations or influencing the market in a way that blocks competition. 4.1.4 Promote the organization supervising the allocation of broadcasting frequencies, which is a national resource, among telecommunications, broadcasting, and television businesses, in order to optimize benefits for the people.
  • 19. 4 4.1.5 Promote entrepreneurs, especially local entrepreneurs, to be able to invest in alternative communication technologies and methods which are suitable and affordable in order to build, connect and provide last-mile service in an efficient manner. 4.1.6 Adjust the structure and role of state enterprises in telecommunications, broadcasting and television in providing network services so as to facilitate the delivery of broadband service in an efficient manner. Promote free and fair competition for all enterprises. 4.1.7 Adjust the structure of the telecommunications industry to fit within the system of permits and competition on the basis of a level playing field, in order to stimulate basic investment and ensure a primary network which is essential for universal broadband service. 4.1.8 Promote the development of personnel in telecommunications. Promote research and development in broadband network and services that is up-to-date and has potential for commercial application in order to reduce cost in delivering broadband service to people, lessen dependency on imports and promote development of telecommunications industry, broadcast and television businesses. 4.2 Developing use of broadband 4.2.1 Support the extensive use of broadband in order to expand the market and the user base, by promoting the development of diverse applications and content, which can be used in work and daily life. Broadband can also connect e-government systems, educational services, public health services, information services and other public services, which will increase demand for broadband services. The government must be careful not to impact or distort market mechanisms. 4.2.2 Promote the development of skills and capacity in using IT (IT literacy) and - information literacy of the people, communities and Small and Medium Enterprises (SMEs) to optimize their use of broadband in an efficient and worthwhile manner, and open opportunities in generating revenue and enhancing their quality of life, especially for the rural population, the disadvantaged and farmers, who make up the majority of the country. 4.2.3 Promote the development of entrepreneurs in all types of businesses related to broadband services, such as ICT entrepreneurs, producers of telecommunications devices, Internet administrators, application developers, content producers, broadcasting entrepreneurs, television entrepreneurs, and e-commerce businesses. 4.2.4 Develop measures to promote and incentivize the use of broadband, in order to reduce energy consumption and resource use in both manufacturing and service sectors, especially in transport and logistics. 4.3 Ensuring security of the broadband network and the overall safety of the society 4.3.1 Develop and upgrade specialists in broadband network security and services in both quantity and quality. 4.3.2 Build multiple alternate networks which link Thailand to countries in other regions around the world, without any constraints on format, including underwater cables, terrestrial cables or satellite. Should be increasingly open for investment
  • 20. 5 in this manner, from the public or private sector or through public-private partnerships. 4.3.3 Define measures to protect against negative impacts and threats that may arise from the widespread use of broadband service, by building up understanding among all sectors about the benefits and drawbacks which might occur. Implement measures in a concerted manner in protecting against electronic crime, infringement of personal data and intellectual property. 4.3.4 Promote the development of systems and services to manage the infrastructure for important data, for instance, data about land, water, air, traffic or about managing various disasters. Monitoring and warning systems for disasters and emergencies should be developed on the broadband network, so people can receive information on a timely and credible basis. In addition, emergency plans should also be put in place in case the broadband network is damaged by any disasters. 4.3.5 Create awareness and provide knowledge about the policy and implementation guidelines concerning information security to ICT administrators in both the private and public sectors, especially the agencies which are involved with key national infrastructure. 4.4 Managing and driving the policy and coordinating supervision 4.4.1 The National ICT Committee should integrate working committees which are involved in various aspects and set up a joint sub-committee between the public and private sector. This sub-committee should have the following duties: (1) develop the implementation action plan to achieve the goals of the National Broadband Policy, (2) define the indicators and evaluation method needed in monitoring the achievements of the Policy, (3) propose relevant agencies to implement according to the action plan, and (4) draft periodic progress reports for the Cabinet and the public concerning the implementation of the Policy. 4.4.2 Ensure coordination with concerned sectors, including the public sector, private sector and civil society, along with supervisory agencies. This includes integrating goals and workplans, telecommunications resources, and overall investment resources in the country, in order to deliver universal broadband service of good quality at a reasonable rate. In turn, this will allow for jointly achieving the goals in developing the country and enhancing quality of life for the people. 4.4.3 Implementing in accordance with this policy will be supported by investment by the public sector or entrepreneurs or from the fund in accordance with the Act on Organisation for Allocating Broadcasting Frequency and Supervising Radio/ Television Broadcasting and Telecommunication Businesses, B.E. 2543 (2000). -----------------------------------
  • 21. 30/11/53 โดย นางเมธินี เทพมณี ผู้อํานวยการสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์์ ํ ั โ 2553-11-18 1 แผนแม่บท ICT แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552-2556) 2 1
  • 22. 30/11/53 เป้าหมายของแผนแม่บท ICT (ฉบับที่ 2) • ประชาชนอย่างน้อย 50% สามารถเข้าถึงและใช้ ICT ได้อย่างมี วิิจารณญาณและรู้เท่าทัน ่ ั • ยกระดับความพร้อมด้าน ICT ใน Networked Readiness Rankings ให้อยู่ในกลุ่ม Top 25% • มีสัดส่วนมูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรม ICT ต่อ GDP ไม่น้อยกว่า 15% 3 เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ที่ 3 ลําดับที่ เป้าหมาย ความเร็ว 1 ทุกครวเรอน สถานประกอบการในจังหวัดศนย์กลางความเจริญใน ทกครัวเรือน สถานประกอบการในจงหวดศูนยกลางความเจรญใน 4 Mbps ภูมิภาค และทุกอําเภอเมืองของจังหวัดที่เหลือ 2 สถาบันการศึกษาระดับมัธยมขึ้นไปทุกแห่ง 10 Mbps 3 ห้องสมุดประชาชนและศูนย์การเรียนรู้ / ศูนย์บริการสารสนเทศ 4 Mbps ชุมชนในระดับจังหวัด อําเภอ และตําบล 4 สถานพยาบาลและสถานีอนามัยในชนบททั่วประเทศทุกแห่ง 4 Mbps 4 2
  • 23. 30/11/53 คนใช้ ICT แค่ไหน จํานวนและร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป ที่ใช้อินเทอร์เน็ต หนวย : ลานคน คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ ปี พ.ศ. 2547-2552 พ. 2547- 34.83 (56.8%) โทรศพทมอถอ โทรศัพทมือถือ 31.86 (52.8%) 28.29 (47.3%) 24.74 (41.6%) 21.68 (36.7%) 16.54 (28.2%) 17.93 (29.3%) 16.04 (26.8%)16.99 (28.2%) คอมพิวเตอร 14.45 (24.5%) 15.39 (25.9%) 12.54 (21.4%) 10.96 (18.2%) 12.33 (20.1%) 8.47 (14.2%)9.32 (15.5%) (11.9%)7.08 (12.0%) 6.97 ( ) อิินเทอรเน็็ต  ป พ.ศ. 2547 2548 2549 2550 2551 2552 ที่มา : สํารวจการมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2547-2552 สํานักงานสถิติแหงชาติ 5 แนวโน้มการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร์และการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต จํานวน 30 ในครัวเรือน พ.ศ. 2547 - 2552 พ. 24.8 25.6 20.4 20 18.1 15.5 11.7 10 8.6 9.5 7.2 7.6 5.7 6.2 0 ป พ.ศ. 2547 2548 2549 2550 2551 2552 จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร ครัวเรือนที่เชื่อมตออินเทอรเน็ต ตอ 100 ครัวเรือน ตอ 100 ครัวเรือน ที่มา : สํารวจการมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2547-2552 6 สํานักงานสถิติแหงชาติ 3
  • 24. 30/11/53 ความเป็นมาของนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 78 (3) ระบุหน้าที่ของรัฐอย่างชัดเจน ในการกระจายโครงสรางพนฐานสารสนเทศในทองถนใหทวถง และเทาเทยมกนทวประเทศ ในการกระจายโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศในท้องถิ่นให้ทั่วถึง และเท่าเทียมกันทั่วประเทศ • รัฐบาลได้แถลงนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยมีแผนงานการปรับปรุง ประสิทธิภาพโครงข่ายโทรคมนาคมพื้นฐานอินเทอร์เน็ตทั่วประเทศ และขยายโครงข่าย บรอดแบนด์อินเทอร์เน็ต • กระทรวง ICT ได้ดําเนินการจัดทําแผนแม่บทและกรอบนโยบาย ICT ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552-2556) และฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2554 – 2563) หรือ ICT 2020 7 ความเป็นมาของนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ (ต่อ) • คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 2 ก.พ. 2553 ตามมติคณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจ โดยมอบหมายใหกระทรวง พจารณาขอเทจจรง และสภาพปญหาททาใหอตราการเขาถงระบบ โดยมอบหมายให้กระทรวง ICT พิจารณาข้อเท็จจริง และสภาพปัญหาที่ทําให้อัตราการเข้าถึงระบบ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (Broadband Internet) ของประชาชนในสภาพปัจจุบันอยู่ในระดับต่ํา และแนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงบริการอินเทอร์เน็ตความเร็ว สูงได้อย่างมีประสิทธิภาพและทั่วถึง • บันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกระทรวง ICT และสํานักงานคณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ เมื่อวันที่ 21 ก.ค. 2553 เพื่อร่วมกันจัดทําร่างนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ • กระทรวง ICT ได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทํานโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ โดยมีปลัดกระทรวง ไดแตงตงคณะกรรมการจดทานโยบายบรอดแบนดแหงชาต โดยมปลดกระทรวง ICT เป็นประธาน มีผู้แทนจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ร่วมเป็นคณะกรรมการ เมื่อวันที่ 29 ก.ค. 2553 และแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ 4 คณะ (ด้านจัดทํานโยบายและกํากับดูแล ด้านความ ต้องการของผู้บริโภค ด้านผู้ให้บริการโครงข่ายและบริการ และด้านการสื่อสารประชาสัมพันธ์) เมื่อ วันที่ 30 ก.ค. 2553 เพื่อจัดทํากรอบนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ เสนอ กทสช. 8 4
  • 25. 30/11/53 ความเป็นมาของนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ (ต่อ) • วันที่ 17 ก.ย. 2553 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งชาติ (กทสช.) ได้ เหนชอบในกรอบนโยบายบรอดแบนดแหงชาต พรอมแตงตงคณะอนุกรรมการนโยบายบรอดแบนด เห็นชอบในกรอบนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ พร้อมแต่งตั้งคณะอนกรรมการนโยบายบรอดแบนด์ แห่งชาติ เพื่อจัดทํานโยบายต่อไป โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ICT เป็นประธาน • ร่าง นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ ได้รับความเห็นชอบจาก ประธาน กทสช. (นรม.) เมื่อวันที่ 4 พ.ย. 2553 • วันที่ 9 พ.ย. 2553 นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ ได้รับความเห็นชอบจาก ครม. และประกาศใช้ อย่างเป็นทางการ 9 นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ • นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติเป็นกรอบนโยบายสําหรับการส่งเสริมให้มีบริการบรอดแบนด์ เปนสาธารณูปโภค เป็นสาธารณปโภค • เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง และทําให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ ข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งบริการสาธารณะต่าง ๆ • เป้าหมายเพื่อทําให้คุณภาพชีวิตและสภาพทางเศรษฐกิจของประชาชนไทยดีขึ้นทั่วทุกแห่งใน ประเทศ 10 5
  • 26. 30/11/53 เป้าหมาย 1. โครงข่ายบรอดแบนด์ให้ครอบคลุมประชากร ปี 2558 ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 80 และปี 2563 ร้อย ละ 95 ที่ได้มาตรฐานและราคาเป็นธรรม โดยศนย์กลางทางเศรษฐกิจของภมิภาค มี Optical ทไดมาตรฐานและราคาเปนธรรม โดยศูนยกลางทางเศรษฐกจของภูมภาค ม Fiber ไม่ต่ํากว่า 100Mbps 2. ประชาชนสามารถได้รับบริการบรอดแบนด์ อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม • ด้านการศึกษา ปี 2558 ในระดับตําบล และปี 2563 ทั่วประเทศ • ด้านสาธารณสุข ปี 2558 ในระดับตําบล • ด้านการให้บริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2558 ในระดับองค์การปกครองท้องถิ่น • ด้านการเฝ้าระวังและเตือนภัยพิบัติและภัยธรรมชาติ ให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องอย่าง ทันท่วงที 11 เป้าหมาย (ต่อ) 3. ภาคธุรกิจสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากบรอดแบนด์ • การแข่งขันของประเทศ เรื่องโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยี ให้อย่ในกล่ม TOP 25% การแขงขนของประเทศ เรองโครงสรางพนฐานดานเทคโนโลย ใหอยู นกลุ (World Competitiveness Ranking) • เกิดการขยายตัวของธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ • มูลค่า E-commerce ต่อ GDP เป็นร้อยละ 10 ภายในปี 2558 4. ลดการใช้พลังงานและการใช้ทรัพยากร 5. ลดต้นทุนการให้บริการบรอดแบนด์โดยรวม 6. เกิดการพัฒนา Content และ Application ที่เป็นประโยชน์ 7. ประชาชนมีความรู้ความเข้าถึงคุณค่า และความเสี่ยงของการใช้ ICT ที่เร่งตัวเร็วขึ้น 8. อุสาหกรรมการผลิต ICT มีการพัฒนา สู่ระดับสากล 12 6
  • 27. 30/11/53 แนวทางดําเนินการ 1. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบริการบรอดแบนด์ 2. 2 การพฒนาการใชประโยชนจากบรอดแบนด การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากบรอดแบนด์ 3. การประกันความมั่นคงปลอดภัยของโครงข่ายบรอดแบนด์และความปลอดภัยของสังคมโดยรวม 4. การบริหารจัดการขับเคลื่อนนโยบายและการประสานการกํากับดูแล 13 บทบาทของรัฐบาล 1. รัฐบาลจึงได้กาหนดนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ เพื่อให้เกิดความชัดเจนและใช้เป็นกรอบการ ํ ดาเนนการและขบเคลอนการพฒนาบรการบรอดแบนด ทใชประโยชนจากเทคโนโลยท ดําเนินการและขับเคลื่อนการพัฒนาบริการบรอดแบนด์ ที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีที่ หลากหลาย มีความก้าวหน้าทันสมัย สอดคล้องกับบริบทและสภาพพื้นที่ของประเทศไทย และตอบสนองความต้องการการใช้บริการของทุกภาคส่วน 2. โดยที่รัฐมีบทบาทเป็นผู้กําหนดนโยบายและสนับสนุนการให้มีและการใช้บริการบรอดแบนด์ อย่างทั่วถึงเท่าเทียมกัน รวมถึงส่งเสริมให้ภาคเอกชนและประชาชนร่วมดําเนินการไปสู่ ความสําเร็จ โดยมีองค์กรกํากับดูแลที่เป็นอิสระตามกฎหมายทําหน้าที่กํากับดูแลการประกอบ กิจการให้มีการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม 14 7
  • 28. 11/30/2010 แผนพัฒนาฯฉบับที่ 11 กับการพัฒนาบรอดแบนด แผนพฒนาฯฉบบท กบการพฒนาบรอดแบนด โดย ดนุชา พิชยนันท ผูอํานวยการสํานักวิเคราะหโครงการลงทุนภาครัฐ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ พฤศจิกายน 2553 www.nesdb.go.th 1 ประเด็นนําเสนอ 1. สถานะการพฒนาดานสอสารโทรคมนาคม 1 สถานะการพัฒนาดานสื่อสารโทรคมนาคม 2. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 กับนโยบายบรอดแบนดแหงชาติ 3. โครงการที่สนับสนุนการพัฒนาบรอดแบนด 4. ความทาทายในการพัฒนาบรอดแบนด พฤศจิกายน 2553 www.nesdb.go.th 2 1
  • 29. 11/30/2010 1. สถานะการพัฒนาดานสื่อสารโทรคมนาคม แนวโนมการใช Broadband Internet ของ โลก ภูมิภาค และไทย โครงสรางการใช Broadband Internet ของโลก จํานวนผูใชอินเทอรเน็ตของไทย 500 ลานราย 462.88 484.19 434.00 450 400.24 5.00 ลานราย 400 362.62 350 318.93 4.50 300 4.00 250 3.50 Growth 14.9 % 200 3.00 3 00 150 Growth 73.9 % 2.50 100 2.00 50 1.50 0 1.00 2550 2551 2552 2553 2554 2555 Growth -10.6 % 0.50 Growth -3.6 % Total < 1 Mbps 1 to 8 Mbps - 8 to 25 Mbps 25 to 50 Mbps >50 Mbps 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 ที่มา: Gartner (November 2008) Broadband Dial-Up Total โครงสรางการใช Broadband Internet ของเอเชียแปซิฟก ที่มา: Gartner (November 2008) ลานราย 194.62 200 180 171.05 184.21 • โลก การใช Broadband Internet ของโลกที่ระดับสูงกวา 25 160 141.53 141 53 146.72 Mbps มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอัตราที่สงมาก โดยระดับความเร็ว 25-50 มแนวโนมเพมขนในอตราทสูงมาก โดยระดบความเรว 25 50 140 124.26 120 Mbps มีอัตราการเติบโตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นถึง 73.9 % (2550-2555) 100 80 •เอเชียแปซิฟก การใช Broadband Internet ของเอเชียแปซิฟก 60 Growth -4.3 % ในระดับความเร็ว 25-50 Mbps มีอตราการเติบโตเฉลี่ยสูงถึง 31.6 % ั 40 20 (2550-2555) 0 2550 2551 2552 2553 2554 2555 Growth 31.6 % •ไทย การใช Broadband Internet ของไทยมีอัตราเติบโตใน Total < 1 Mbps 1 to 8 Mbps ระดับสูงโดยเฉลี่ย 14.9 % (2550-2556) สวน Dial-Up มีอัตราการ 8 to 25 Mbps 25 to 50 Mbps >50 Mbps ที่มา: Gartner (November 2008) เติบโตที่ลดลงโดยเฉลี่ยปละ 3.6 % พฤศจิกายน 2553 www.nesdb.go.th 3 1. สถานะการพัฒนาดานสื่อสารโทรคมนาคม (ตอ) แนวโนมจํานวนผูลงทะเบียนใชบริการอินเทอรเน็ตความเร็วต่ําและ Internet Penetration Rate per 100 inhabitants ความเร็วสูงผานโทรศัพทประจําที่ในชวงป พ.ศ. 2548-2552 of Thailand and World รอยละ 9 8.44 8.32 8 7 6.57 6.18 6 18 6.08 6 08 6 5.25 5 4.53 4.29 4.18 3.7 3.88 4 3.32 3 2.48 1.83 2 0.81 1.08 1 0 2548 2549 2550 2551 Internet(T) Broadband(T) Internet(W) Broadband(W) ที่มา: IDC ที่มา: ITU, ICT Eye, 2004-2008 •ภาพรวมของบริการอินเทอรเน็ตมีศักยภาพเพิ่มขึ้นเรือยๆ โดยแนวโนมของผูใชบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงเพิ่มขี้นอยางตอเนือง ่ ่ ซึ่งมีทิศทางตรงกันขามกับอินเทอรเน็ตความเร็วต่ําที่ไดรับความนิยมลดลงอยางตอเนือง่ •สัดสวนจํานวนผูลงทะเบียนใชอินเทอรเน็ตและอินเทอรเน็ตบรอดแบนดของประเทศไทย เมือเปรียบเทียบกับตางประเทศแลว ยังอยู ่ ในระดับทีต่ํากวามาก รวมทั้งยังต่ํากวาคาเฉลี่ยของโลก โดยขอมูลลาสุดเมือป พ.ศ. 2551 คาสัดสวนจํานวนผูลงทะเบียนใช ่ ่ อินเทอรเน็ตตอจํานวนประชากร 100 คน ของประเทศไทยในบริการอินเตอรเน็ตและอินเทอรเน็ตบรอดแบนดอยูที่ระดับ 4.18 และ 2.48 ตามลําดับ ในขณะที่คาเฉลี่ยของโลกอยูที่ระดับ 8.32 และ 6.08 ตามลําดับ  พฤศจิกายน 2553 www.nesdb.go.th 4 2