SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 79
Downloaden Sie, um offline zu lesen
(ราง)
แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2557 - 2559
เสนอ
กระทรวงศึกษาธิการ
จัดทําโดย
มหาวิทยาลัยศิลปากร
พฤษภาคม 2556
(ฉบับปรับปรุง)
สารบัญ
หนา
บทสรุปสําหรับผูบริหาร……………………………………………………………………………………………………………………. 1
บทที่ 1. บทนํา……………………………………………………………………………………………………………………….……….. 6
ภาพรวมสถานภาพการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร…………………………………….. 6
บทที่ 2. ทิศทางการการพัฒนาคุณภาพการศึกษา……………………………………………………………………………….. 9
การประเมินการใชแผนแมบท ICT พ.ศ. 2554-2556 กระทรวงศึกษาธิการ………………………………………. 21
สรุปผลการวิเคราะห SWOT………………………………………………………………………………………………………… 22
บทที่ 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน……………………………………………………………………………………………………. 24
นิยามคําศัพท……………………………………………………………………………………………………………………………… 24
วิสัยทัศน……………………………………………………………………………………………………………………………………. 26
พันธกิจ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 26
เปาหมาย…………………………………………………………………………………………………………………………………… 26
ยุทธศาสตร………………………………………………………………………………………………………………………………… 27
ยุทธศาสตรที่ 1. ยกระดับความสามารถของผูสอนและบุคลากรทางการศึกษาฯ…………………………………. 27
ยุทธศาสตรที่ 2. สงเสริมสนับสนุนระบบการเรียนการสอนและการเรียนรูแบบอิเล็กทรอนิกส……………… 28
ยุทธศาสตรที่ 3. พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฯ…………………………. 29
ยุทธศาสตรที่ 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฯ……………………………………………….. 30
ยุทธศาสตรที่ 5. สงเสริมการวิจัยพัฒนาองคความรูดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการศึกษา…………… 31
บทที่ 4. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน………………………………………………………………………………………………… 33
แนวทางการบูรณาการสารสนเทศเพื่อการศึกษา…………………………………………………………………………….. 33
แนวทางการบูรณาการสื่อการเรียนรู…………………………………………………………………………………………….. 36
โครงการที่จําเปนตอการบูรณาการ……………………………………………………………………………………………….. 39
บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) ………………………………………………………………………………………… 41
โครงสรางพื้นฐานดานเครือขายความเร็วสูง(Infrastructure)………………………………………………………….. 41
การบูรณาการเครือขาย……………………………………………………………………………………………………………….. 49
บริการอิเล็กทรอนิกส (e-Services)………………………………………………………………………………………………. 52
การบูรณาการทรัพยากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศ…………………………………………………………………………. 52
บทที่ 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม………………………………………………………………………………………. 58
โครงสรางการบริหาร…………………………………………………………………………………………………………………… 59
ปจจัยเกื้อหนุนตอความสําเร็จ………………………………………………………………………………………………………. 64
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก. รางพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 1
บทสรุปสําหรับผูบริหาร
(ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559
1
บทสรุปสําหรับผูบริหาร
ความนํา
พิจารณาจากภาพรวมกระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงศึกษาธิการ
ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ที่ไดรับการพัฒนาขึ้นมาอยางตอเนื่องในตางวาระตางเหตุผลของการใชงาน และตามความ
จําเปนในแตละชวงเวลาจะมีลักษณะที่เรียกวา “Silo Architecture” ทําใหแตละหนวยงาน ยังตองการความสามารถ
ในการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนหรือบูรณาการขอมูลระหวางกัน แมปจจุบันจะมีการวางแผนพัฒนาระบบ ICT ที่สามารถ
เอื้อตอการบูรณาการ พรอมกับมีการกําหนดทิศทางการสงผานขอมูลสารสนเทศเขาสูสวนกลางอยางเปนรูปธรรม แต
ในทางปฏิบัติยังคงตองใชเวลาในการจัดเก็บขอมูลจากหลากหลายระบบและหลากหลายหนวยงาน ทําใหการ
ประมวลผลขอมูล การออกรายงานเพื่อการบริหารและการตัดสินใจของผูบริหาร หลายสวนยังอาจตองใชขอมูลเชิง
ประจักษ เพราะขอมูลในระบบ ICT อาจไมถูกตองทันสมัย (Update) จึงเกรงจะเปนการลดความนาเชื่อถือในผลการ
วิเคราะหที่มีตอภาพรวมการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งนี้ยังรวมถึงการพัฒนาสื่อการเรียนรูและการเขาถึง
แหลงความรู ที่สวนใหญยังคงตองใชบริการหองสมุดที่เพียบพรอมไปดวยหนังสือตําราเรียนกระดาษ ที่ไมสามารถ
สงเสริมการเรียนรูในลักษณะทุกที่ทุกเวลาไดอยางเต็มที่ตามสมัยนิยม นอกจากนี้ยังมีความตองการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา พอสรุปไดดังนี้
1. ความตองการดานนโยบายการดําเนินงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่มีความเปนเอกภาพ
ทุกองคกรหลัก หนวยงานในสังกัด และในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ สามารถนําไปใชกําหนดทิศ
ทางการดําเนินงานและการยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่มีผลตอการปฏิบัติไดอยางเสมอภาค
เทาเทียมกัน
2. ความตองการดานเครื่องมืออุปกรณและเครือขาย เนื่องจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบันมี
ความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว สงผลใหเครื่องมืออุปกรณและการใชงานในเครือขาย ตองพัฒนาและ
ปรับปรุงใหทันสมัยตลอดเวลา แมในอดีตจะเคยมีการจัดสรรเครื่องมืออุปกรณและการวางเครือขาย เพื่อ
รองรับการขยายตัวทางการศึกษา แตก็ไมทันความตองการที่เปลี่ยนแปลงมากขึ้นอยางกาวกระโดด
3. ความตองการดานระบบสารสนเทศและฐานขอมูลทางการศึกษา ที่มีความถูกตอง สมบูรณ ทันสมัย ทัน
ตอการใชงาน และทุกฝายไดใชประโยชนรวมกันในการบริหารจัดการ การสืบคน การอางอิง ตลอดจนถึง
การนําไปใชรวมกับเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสสวนตัวและบัตรสมารทการด ในการติดตอกับทาง
ราชการและการดําเนินชีวิตประจําวัน ทดแทนการใชเอกสารกระดาษ
4. ความตองการสื่อการเรียนรูที่ทันสมัย ที่มีวิธีการนําเสนอที่กระตุนความสนใจของผูเรียน ซึ่งสวนใหญเปน
เยาวชนคนรุนใหม ที่สามารถตอบโตหรือมีปฏิสัมพันธในระหวางการเรียนรูไดอยางสนุกสนาน ใชงาน
รวมกับเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสสวนตัวไดอยางสะดวกทุกที่ทุกเวลา ทดแทนการพัฒนาและใชสื่อ
การเรียนรูในลักษณะเดิม ที่มักดัดแปลงมาจากเนื้อหาสาระการนําเสนอบนกระดาษใหเปนแบบ
อิเล็กทรอนิกสธรรมดาที่ยังคงมีใชงานอยูในปจจุบัน
5. ความตองการดานบุคลากรในสวนที่มีความขาดแคลน เชน การดูแลระบบเครือขายและคอมพิวเตอรใน
ศูนยคอมพิวเตอรของสถานศึกษา เปนตน เนื่องจากงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มัก
เปนเพียงงานฝากที่ไมตรงกับตําแหนงหนาที่ความรับผิดชอบตามสายงาน จึงไมคอยมีความกาวหนาตอ
บทสรุปสําหรับผูบริหาร
(ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559
2
การทํางานประจํา (Carrier Path) อีกทั้งการบริหารจัดการสวนใหญ มักเปนเรื่องดูแลการจัดเก็บและ
จัดสงขอมูล ซึ่งตองการความละเอียดถี่ถวนในการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล ที่ตองใชเวลามากใน
การดําเนินงานแตผูบริหารมักมองไมเห็นผลงาน
6. ความตองการดานงบประมาณที่กระทรวงศึกษาธิการอาจไดรับการจัดสรรจากทุกรัฐบาลอยางตอเนื่อง
แตในทางปฏิบัติก็ยังไมเพียงพอ เพราะสาเหตุที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงเร็ว จึงจําเปนตองมีการลงทุน
เพิ่มเติมอยูตลอดเวลา อีกทั้งการพัฒนาคุณภาพศึกษาเพื่อใหเกิดความเทาเทียม ทั่วถึง สงผลใหผูเรียน
ตองไดรับการดูแลอยางเสมอภาคกัน ซึ่งมีผลตอการใชงบประมาณเพิ่มขึ้นตลอดเวลา
หลักการแนวคิด
นอกเหนือจากการประเมินผลการใชแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับเดิม) ประกอบกับ
การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคาม (SWOT analysis) ที่มีผลตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาแลว
ยังมีการศึกษาทบทวนทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับประเทศ เพื่อประกอบการจัดทําแผนแมบท
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2557-2559 ดังนี้
1. การบูรณาการยุทธศาสตรประเทศ (Country Strategy)
2. ยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน
3. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 – 2559
4. แผนการศึกษาแหงชาติ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ปรับปรุงครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2555-2559)
5. (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สําหรับการศึกษาของประเทศไทย พ.ศ. 2556 –
2563 สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
6. กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ประเทศไทย (IT2020)
7. นโยบายรัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ ชินวัตร
8. นโยบายรัฐมนตรี นายพงศเทพ เทพกาญจนา
9. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559
10. แผนปฏิบัติราชการ 4 ป (พ.ศ. 2555-2558) ของกระทรวงศึกษาธิการ
11. พระราชบัญญัติการศึกษาพ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553
12. การมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21
ภาพรวมแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
รายละเอียดการดําเนินงานตามแผนแมบทฯ พอสรุปไดดังนี้
วิสัยทัศน :
ประชาชนไดรับโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ดวยการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารเพื่อการศึกษา
บทสรุปสําหรับผูบริหาร
(ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559
3
พันธกิจ :
1. ผลิตและพัฒนากําลังคนใหมีศักยภาพดานการพัฒนา และการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร
2. สงเสริมสนับสนุนระบบการเรียนการสอนแบบอิเล็กทรอนิกส
3. พัฒนาโครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการและการบริการดานการศึกษา
5. สงเสริมการวิจัยพัฒนาองคความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
เปาหมาย :
เพื่อที่จะยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งผูเรียนสามารถเขาถึงแหลงเรียนรูไดทุกที่ทุกเวลา
ดวยการใชประโยชนจากการบูรณาการเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ใชอยูในชีวิตประจําวัน มี
ความทันสมัยสามารถติดตอสื่อสารกันไดอยางสะดวก หรือที่เรียกวา “Ubiquitous Learning” ตลอด
จนถึงการสรางหองเรียนแหงอนาคต (Future Class room) เพื่อสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อใหผูเรียน
เปนศูนยกลางของการศึกษาใน 3 มิติ คือ
1. การเขาถึงแหลงเรียนรู (Enabling) คือ เพิ่มศักยภาพการศึกษาคนควาและการเขาถึงแหลงเรียนรูแบบ
ออนไลน (Online)
2. การเรียนรูทุกที่ทุกเวลา (Engaging) คือ เพิ่มประสบการณการเรียนรูโดยไมขาดความตอเนื่องดวยการ
ใชอุปกรณสวนตัวที่ทันสมัย (BYOD : Bring Your Own Device)
3. ความหลากหลายของการเรียนรู (Empowering) คือ เพิ่มความสามารถและอิสระในการเลือกวิธีการ
และสื่อการเรียนรูในหลากหลายรูปแบบในหองเรียนแหงอนาคต (Future Class room)
ยุทธศาสตร
ยุทธศาสตรที่ 1. ยกระดับความสามารถของผูสอนและบุคลากรทางการศึกษา ในการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
เปาประสงค : ผูสอนและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพัฒนาศักยภาพในการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
ยุทธศาสตรที่ 2. สงเสริมสนับสนุนระบบการเรียนรูแบบอิเล็กทรอนิกส
เปาประสงค : มีสื่อเนื้อหาสาระการเรียนรูแบบอิเล็กทรอนิกสสนับสนุนการเรียนรูอยางเหมาะสม
ตามหลักสูตร
ยุทธศาสตรที่ 3. พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อขยายโอกาส
การเขาถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต
เปาประสงค : มีการจัดสรรคลื่นความถี่และโครงสรางพื้นฐานในการสงวิทยุกระจายเสียง วิทยุ
โทรทัศน และระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่สามารถ
ใหบริการการศึกษาไดอยางทั่วถึงและมีเครื่องมืออุปกรณที่เพียงพอ
บทสรุปสําหรับผูบริหาร
(ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559
4
ยุทธศาสตรที่ 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ
และการบริการ
เปาประสงค : มีคลังขอมูลและระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและการบริการดาน
การศึกษา
ยุทธศาสตรที่ 5. สงเสริมการวิจัยพัฒนาองคความรูดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
เปาประสงค : มีผลงานการวิจัยพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดานเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา
แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน
ในทางปฏิบัติ จําเปนตองกําหนดรายละเอียดและวิธีปฏิบัติ เฉพาะมาตรการที่เกี่ยวของกับบริบทของแตละ
หนวยงานเอง ซึ่งรวมถึงการกําหนดมาตรการยอยกับโครงการที่จําเปนเพิ่มเติม เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตาม
เปาประสงคของแตละยุทธศาสตร ดวยความเปนเอกภาพของทุกหนวยงานที่จะตอบสนองภาพรวมการยกระดับการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ สวนมาตรการที่เกี่ยวของกับการบูรณาการ จําเปนจะตองมีการ
ประสานความรวมมือและดําเนินงานรวมกันระหวางหนวยงานในสังกัดและในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่ง
ประกอบดวย
 แนวทางการบูรณาการสารสนเทศเพื่อการศึกษา
 แนวทางการบูรณาการสื่อการเรียนรู
 เทคโนโลยีเพื่อการบูรณาการสารสนเทศและสื่อการเรียนรู
 โครงการที่จําเปนตอการบูรณาการ
 แนวทางการบูรณาการระบบเครือขาย
การบริหารจัดการและกํากับติดตาม
การขับเคลื่อนยุทธศาสตรและมาตรการตางๆ ตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อ
การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 ใหสามารถดําเนินการสําเร็จภายใตทรัพยากรดานเวลา บุคลากร
และงบประมาณที่มีอยูอยางจํากัด ซึ่งมีผลกระทบตอการบริหารจัดการ การกํากับติดตาม และการประเมินผลการ
ประยุกตใชระบบ ICT ขององคกรหลัก หนวยงานในสังกัด และหนวยงานในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ ควรจะ
ดําเนินการตามองคประกอบที่สําคัญในเบื้องตนคือ
1. การกําหนดนโยบาย
2. การสรางความรับรูเกี่ยวกับแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
3. การกําหนดระดับการบริหาร โดยมีโครงสรางการบริหารแบงออกเปน 2 ประเด็นคือ
3.1 การบริหารจัดการและกํากับติดตามระบบโครงขายพื้นฐาน (Network Infrastructure)
3.2 ประเด็นที่ 2. การบริหารจัดการและกํากับติดตามทั่วไป
4. การสงเสริมสนับสนุนศักยภาพการดําเนินงาน
บทสรุปสําหรับผูบริหาร
(ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559
5
ปจจัยเกื้อหนุนตอความสําเร็จ
1. ผูบริหาร/ผูมีอํานาจตัดสินใจของกระทรวงฯ ตองใหความสําคัญและความรวมมือ
2. ความเขาใจในขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Implementation)
3. ประสิทธิภาพของระบบเครือขาย
4. การบูรณาการระบบสารสนเทศ
5. กฎเกณฑ ระเบียบ หรือขอตกลงเพื่อการบริหารงานรวมกัน
6. ผลประโยชนที่เกิดขึ้นรวมกัน
7. กําลังใจในการพัฒนา
8. ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. บทนํา
(ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559
6
บทที่ 1.
บทนํา
กระทรวงศึกษาธิการ เปนองคกรหลักในการผลิตและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติ เพื่อสรางความเปนอยู
ที่ดี สรางความมั่งคั่งทางดานเศรษฐกิจและความมั่นคงทางสังคมใหกับประเทศ ดวยฐานความรู ความคิดสรางสรรค
และศักยภาพของประเทศ โดยมีพันธกิจในการพัฒนา ยกระดับ และจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพ และขีด
ความสามารถใหประชาชนไดมีอาชีพที่สามารถสรางรายไดที่มั่งคั่งและมั่นคง เพื่อใหเปนบุคลากรที่มีวินัยเปยมไปดวย
คุณธรรม จริยธรรม มีสํานึกความรับผิดชอบตอตนเอง ผูอื่น และสังคม
ตลอดระยะเวลาที่ผานมา กระทรวงศึกษาธิการมีการพัฒนาและประยุกตใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร (ICT) เพื่อรองรับการบริหารจัดการภายในองคกร สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรูที่
ทันสมัยของสถานศึกษาในสังกัดไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยดําเนินงานตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2554-2556 ซึ่งกําลังจะหมดวาระในปงบประมาณ 2556 ดังนั้น เพื่อความตอเนื่องในการ
ดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่สามารถสนับสนุนการยกระดับการพัฒนาคุณภาพศึกษาของ
ประเทศใหสูงยิ่งขึ้นไป จึงไดจัดใหมีโครงการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 โดยการศึกษาวิเคราะหสถานภาพการดําเนินงานและความตองการใช
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามแนวทางพอสังเขปดังนี้
1. ศึกษาและวิเคราะหแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จากกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร ระยะ พ.ศ.2554 – 2563 ของประเทศไทย (ICT 2020 Conceptual Framework)
แผนปฏิบัติการสําหรับยุทธศาสตรประเทศ (Country Strategy) แผนปฏิบัติการการเขาสูประชาคม
อาเซียนป 2558 แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสําหรับการศึกษาของประเทศไทย พ.ศ.
2556 - 2563 การมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ตลอดจนถึงนโยบายของ
รัฐบาลในสวนที่เกี่ยวของกับการศึกษา
2. ศึกษาและวิเคราะหแนวทางการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ของ
กระทรวงศึกษาธิการ จากการมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ตลอดชวงอายุของการใชแผนแมบทเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา (ฉบับเดิม)
3. ประชุมหารือการประเมินผลการใชแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา (ฉบับ
เดิม) ตลอดจนถึงการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคาม (SWOT Analysis) ที่มีผลกระทบ
ตอการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ภาพรวมสถานภาพการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ภาพรวมการดําเนินงานดาน ICT ของกระทรวงศึกษาธิการ พิจารณาจากโครงสรางและกระบวนการบริหาร
ซึ่งประกอบดวย 5 องคกรหลัก คือ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษา จะเห็นไดวาการใช ICT ในภาพรวม สามารถรองรับการบริหารจัดการและการดําเนินพันธกิจของแตละ
บทที่ 1. บทนํา
(ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559
7
องคกรหลักไดดีในระดับหนึ่ง อยางไรก็ตาม การขยายตัวทางการศึกษาในปจจุบันมีการเติบโตขึ้นอยางกาวกระโดด มี
การขยายภารกิจ ปรับปรุงยุทธศาสตร และขอบเขตการดําเนินงานดานการศึกษาออกไปอยางกวางขวาง ซึ่งเปนผลมา
จากความตื่นตัวในการเห็นความสําคัญดานการศึกษาของประชาชน และการสนับสนุนเชิงนโยบายของภาครัฐ สงผล
กระทบถึงความคาดหวังของทุกฝายที่มีตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่จําเปนจะตองมีตองใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารที่ทันสมัย ระบบสารสนเทศและขอมูลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู ตองมีความ
สะดวกรวดเร็วในการใชงาน ดวยความเชื่อมั่นในความถูกตอง เหมาะสม โปรงใส ตรวจสอบได และมีธรรมาภิบาล
เนื่องจากกระบวนการพัฒนาระบบ ICT ของกระทรวงศึกษาธิการตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ไดรับการ
พัฒนาขึ้นมาอยางตอเนื่องในตางวาระตางเหตุผลของการใชงาน และตามความจําเปนในแตละชวงเวลา หรือมีลักษณะ
ที่เรียกวา “Silo Architecture” ซึ่งเปนเรื่องปกติที่พบเห็นไดทั่วไปในองคกรขนาดใหญ ที่มีภารกิจเรงรัดและมี
ผลกระทบตอผูเกี่ยวของจํานวนมหาศาลอยางกระทรวงศึกษาธิการ ทําใหระบบ ICT ของแตละหนวยงาน ยังตองการ
ความสามารถในการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนหรือบูรณาการขอมูลระหวางกัน แมปจจุบันจะมีการวางแผนพัฒนาระบบ
ICT ที่สามารถเอื้อตอการบูรณาการ พรอมกับมีการกําหนดทิศทางการสงผานขอมูลสารสนเทศเขาสูสวนกลางอยาง
เปนรูปธรรม แตในทางปฏิบัติยังคงตองใชเวลาในการจัดเก็บขอมูลจากหลากหลายระบบและหลากหลายหนวยงานทํา
ใหการประมวลผลขอมูลเพื่อการวิเคราะห การออกรายงานเพื่อการบริหารและการตัดสินใจของผูบริหาร หลายสวนยัง
อาจตองใชขอมูลเชิงประจักษ เพราะขอมูลในระบบ ICT อาจไมถูกตองทันสมัย (Update) จึงเกรงจะเปนการลดความ
นาเชื่อถือในผลการวิเคราะหที่มีตอภาพรวมการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ ดังจะสังเกตไดจากบางกรณีที่
จําเปนตองมีการจัดเก็บรวบรวมขอมูลเพิ่มเติม ซึ่งกวาจะดําเนินการแลวเสร็จ ขอมูลที่ไดรับอาจกลายเปนขอมูลที่
ลาสมัยไมเปนปจจุบัน หรือมีความคลาดเคลื่อนจากสภาพการณที่เปนจริง ทั้งนี้ยังรวมไปถึงการพัฒนาสื่อการเรียนรู
และการเขาถึงแหลงความรู ที่สวนใหญยังคงตองใชบริการหองสมุดที่เพียบพรอมไปดวยหนังสือตําราเรียนกระดาษ ที่
ไมสามารถสงเสริมการเรียนรูในลักษณะทุกที่ทุกเวลาไดอยางเต็มที่ตามสมัยนิยม นอกจากนี้ยังมีความตองการใช
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา พอสรุปไดดังนี้
1. ความตองการดานนโยบายการดําเนินงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่มีความเปนเอกภาพ
ทุกองคกรหลัก หนวยงานในสังกัด และในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ สามารถนําไปใชกําหนดทิศ
ทางการดําเนินงานและการยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่มีผลตอการปฏิบัติไดอยางเสมอภาค
เทาเทียมกัน
2. ความตองการดานเครื่องมืออุปกรณและเครือขาย เนื่องจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบันมี
ความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว สงผลใหเครื่องมืออุปกรณและการใชงานในเครือขาย ตองพัฒนาและ
ปรับปรุงใหทันสมัยตลอดเวลา แมในอดีตจะเคยมีการจัดสรรเครื่องมืออุปกรณและการวางเครือขาย เพื่อ
รองรับการขยายตัวทางการศึกษา แตก็ไมทันความตองการที่เปลี่ยนแปลงมากขึ้นอยางกาวกระโดด
3. ความตองการดานระบบสารสนเทศและฐานขอมูลทางการศึกษา ที่มีความถูกตอง สมบูรณ ทันสมัย ทัน
ตอการใชงาน และทุกฝายไดใชประโยชนรวมกันในการบริหารจัดการ การสืบคน การอางอิง ตลอดจนถึง
การนําไปใชรวมกับเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสสวนตัวและบัตรสมารทการด ในการติดตอกับทาง
ราชการและการดําเนินชีวิตประจําวัน ทดแทนการใชเอกสารกระดาษ
4. ความตองการสื่อการเรียนรูที่ทันสมัย ที่มีวิธีการนําเสนอที่กระตุนความสนใจของผูเรียน ซึ่งสวนใหญเปน
เยาวชนคนรุนใหม ที่สามารถตอบโตหรือมีปฏิสัมพันธในระหวางการเรียนรูไดอยางสนุกสนาน ใชงาน
บทที่ 1. บทนํา
(ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559
8
รวมกับเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสสวนตัวไดอยางสะดวกทุกที่ทุกเวลา ทดแทนการพัฒนาและใชสื่อ
การเรียนรูในลักษณะเดิม ที่มักดัดแปลงมาจากเนื้อหาสาระการนําเสนอบนกระดาษใหเปนแบบ
อิเล็กทรอนิกสธรรมดาที่ยังคงมีใชงานอยูในปจจุบัน
5. ความตองการดานบุคลากรในสวนที่มีความขาดแคลน เชน การดูแลระบบเครือขายและคอมพิวเตอรใน
ศูนยคอมพิวเตอรของสถานศึกษา เปนตน เนื่องจากงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มัก
เปนเพียงงานฝากที่ไมตรงกับตําแหนงหนาที่ความรับผิดชอบตามสายงาน จึงไมคอยมีความกาวหนาตอ
การทํางานประจํา (Carrier Path) อีกทั้งการบริหารจัดการสวนใหญ มักเปนเรื่องดูแลการจัดเก็บและ
จัดสงขอมูล ซึ่งตองการความละเอียดถี่ถวนในการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล ที่ตองใชเวลามากใน
การดําเนินงานแตผูบริหารมักมองไมเห็นผลงาน
6. ความตองการดานงบประมาณที่กระทรวงศึกษาธิการอาจไดรับการจัดสรรจากทุกรัฐบาลอยางตอเนื่อง
แตในทางปฏิบัติก็ยังไมเพียงพอ เพราะสาเหตุที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงเร็ว จึงจําเปนตองมีการลงทุน
เพิ่มเติมอยูตลอดเวลา อีกทั้งการพัฒนาคุณภาพศึกษาเพื่อใหเกิดความเทาเทียม ทั่วถึง สงผลใหผูเรียน
ตองไดรับการดูแลอยางเสมอภาคกัน ซึ่งมีผลตอการใชงบประมาณเพิ่มขึ้นตลอดเวลา
การจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-
2559 มีลําดับการนําเสนอรายละเอียด ดังนี้
 บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเปนการศึกษาทบทวนแนวทางการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาในระดับประเทศ
 บทที่ 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน ซึ่งเปนการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร และมาตรการ
ดําเนินงานในแผนแมบทฯ
 บทที่ 4. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน ซึ่งเปนการแนะนําแนวทางการดําเนินงานในทางปฏิบัติ โดย
สวนใหญจะเนนการบูรณาการระบบสารสนเทศ ฐานขอมูล และสื่อการเรียนรูเพื่อการศึกษา
 บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) ซึ่งเปนการแนะนําแนวทางการบูรณาการโครงขาย
ความเร็วสูง (Network Infrastructure) เพื่อใหบริการชองทางการเชื่อมโยงขอมูลสารสนเทศและ
สื่อการเรียนรูระหวางองคกรหลัก หนวยงาน และสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
 บทที่ 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม ซึ่งเปนแนวทางการบริหารระบบเครือขาย และการ
บริการจัดการดานอื่น ในรูปแบบของคณะกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อ
การศึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทํางาน รวมทั้งปจจัยเกื้อหนุนตอความสําเร็จ
บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
(ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559
9
บทที่ 2.
ทิศทางการการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การวางแผนยกระดับพัฒนาคุณภาพการศึกษา และสรางโอกาสทางการศึกษาใหประชาชนไดเรียนรูตลอด
ชีวิต ใหมีความพรอมทั้งทางรางกาย จิตใจ สติปญญา มีจิตสํานึกของความเปนไทย มีความเปนพลเมืองที่ดี ตระหนัก
และรูคุณคาของขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมที่ดีงาม มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง และตอบสนองตอ
ทิศทางการพัฒนาประเทศ การจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 โดยมีเปาหมายที่จะตอบสนองทุกฝายที่เกี่ยวของ (Stakeholders) ทั้งในดาน
การบริหารจัดการและการเรียนการสอน ซึ่งเอื้อตอการเขาถึงสารสนเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ สะดวก ปลอดภัย มี
ความนาเชื่อถือ สามารถลดเวลาและความซ้ําซอนในการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษา สงเสริมแลกเปลี่ยน
เรียนรูและการเรียนการสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การอาชีวศึกษา การอุดมศึกษา การศึกษาตามอัธยาศัยหรือ
การเรียนรูตลอดชีวิต (Life Long Learning) จึงไดมีการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ เพื่อความสอดคลองตอการ
ดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในภาพรวมของประเทศ ซึ่งในที่นี้จะคัดกรองและนําเสนอ
เฉพาะสาระสําคัญที่เกี่ยวของกับการพัฒนาระบบ ICT เพื่อการศึกษา พอสรุปไดดังนี้
1. การบูรณาการยุทธศาสตรประเทศ (Country Strategy)
ในประเด็นการลดความเหลื่อมล้ํา (Inclusive Growth) โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพการศึกษา กําหนดให
กระทรวงศึกษาธิการเปนผูรับผิดชอบในการปฏิรูปการศึกษา (ครู หลักสูตร เทคโนโลยี การดูแลเด็กกอนวัยเรียน และ
การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระบบการศึกษา เชน แท็บเล็ต และอินเทอรเน็ตไรสาย เปนตน)
 แผนพัฒนากําลังคนของประเทศ (ขาราชการ นักศึกษา แรงงาน)
 แผนพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการศึกษา
เปาหมาย/ตัวชี้วัด
 ปการศึกษาเฉลี่ยอยูที่ 15 ป
 อัตราการอานออกเขียนไดอยูที่รอยละ 100
 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้นรอยละ 4 ตอป
 สถานศึกษาผานการรับรองคุณภาพมาตรฐานจาก สมศ. รอยละ 100
 สัดสวนผูเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษา : สามัญศึกษา เปน 50:50
2. ยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน
ยุทธศาสตรที่ 4 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อใหมีมาตรฐานการศึกษาอาเซียน รวมทั้งทักษะ ฝมือ
และภาษา โดยพัฒนา/สนับสนุนการใชเทคโนโลยี ICT เพื่อเปนเครื่องมือในการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการเรียนรู
แนวทางการดําเนินงานดานการศึกษา
บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
(ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559
10
1. การพัฒนาและยกระดับทักษะภาษา ทั้งภาษาอังกฤษ ภาษาตางประเทศอื่น และการจัดทํา
มาตรฐานการใชภาษาไทย และหลักเกณฑการทับศัพทภาษาของประเทศในกลุมอาเซียน
2. การสรางความตระหนักรูและการเสริมสรางอัตลักษณความเปนประชาคมอาเซียน
3. การรณรงคเพื่อการรูหนังสือเพื่อแกไขปญหาการอานออกเขียนไดของประชากรอาเซียน
4. การพัฒนาและยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ และสรางเครือขายความรวมมือ
เพื่อสรางความเขมแข็งทางวิชาการ และรองรับการแลกเปลี่ยน/ถายโอนหนวยการเรียน และ
เปดเสรีและการลงทุนดานการศึกษาในอาเซียน
5. การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตและสราง/สงเสริมสนับสนุนศูนยการเรียนรูในอาเซียน
6. การผลิตและพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีทักษะความรูและสมรรถนะในการประกอบอาชีพที่
เชื่อมโยงกับโครงสรางการผลิตและบริการตามความตองการของตลาดแรงงาน
เปาหมาย/ตัวชี้วัด
 ทุกคนสามารถอานออกเขียนไดและไดรับการพัฒนาศักยภาพดานทักษะภาษาอังกฤษและ
ภาษาตางประเทศอื่นไดเพิ่มขึ้น
 คนไทยมีความรูความเขาใจความหลากหลายทางวัฒนธรรม และเรียนรูที่จะอยูรวมกันภายใต
กลุมประชาคมอาเซียนเพิ่มขึ้น
 สถานศึกษามีคุณภาพและมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้งมาตรฐานการศึกษาของไทยไดรับการ
ยอมรับในระดับอาเซียนและระดับสากล
 ผูเรียนมีทักษะความรูและสมรรถนะที่สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานในกลุม
ประชาคมอาเซียน
แนวทางดําเนินงานดานแรงงาน
ขอ 3. การพัฒนาระบบมาตรฐานฝมือแรงงานและมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพที่สอดคลองกับ
มาตรฐานสากล
เปาหมาย/ตัวชี้วัด
 ระบบมาตรฐานฝมือแรงงานและระบบคุณวุฒิวิชาชีพไดรับการพัฒนาเทียบเทามาตรฐานสากล
3. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 – 2559
กระทรวงศึกษาธิการมุงเนนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และสรางโอกาสทางการศึกษาใหคนไทยไดเรียนรูตลอด
ชีวิต เพื่อใหคนไทยทุกกลุมทุกวัยมีคุณภาพ มีความพรอมทั้งทางรางกาย จิตใจ สติปญญา มีจิตสํานึกของความเปน
ไทย มีความเปนพลเมืองที่ดี ตระหนักและรูคุณคาของขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมที่ดีงาม มีภูมิคุมกัน
ตอการเปลี่ยนแปลง และตอบสนองตอทิศทางการพัฒนาประเทศ จึงไดจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ.2555 – 2559 เพื่อใชเปนกรอบแนวทางการดําเนินงาน ซึ่งมีสาระสําคัญดังนี้
วิสัยทัศน
“คนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ เปนคนดี มีความสุข มีภูมิคุมกัน รูเทาทัน ในเวทีโลก”
พันธกิจ
1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาสูสากล
2. เสริมสรางโอกาสทางการศึกษาใหแกประชาชนอยางทั่วถึงเทาเทียม
บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
(ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559
11
3. พัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล และสงเสริมการมีสวนรวมของทุก
ภาคสวน
วัตถุประสงค
1. เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและคุณภาพคนไทย ใหมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลงและการ
พัฒนาประเทศในอนาคต
2. เพื่อผลิตและพัฒนากําลังคนรองรับการพัฒนา และเสริมสรางศักยภาพการแขงขันของประเทศ
3. เพื่อสรางองคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน
4. เพื่อใหคนไทยไดเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต
5. เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาใหมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมีสวน
รวมของทุกภาคสวน
ยุทธศาสตรที่ 1 ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานผูเรียน ครู คณาจารย บุคลากรทางการศึกษาและ
สถานศึกษา
กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน
1. เรงรัดพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผูเรียน
1.4 สงเสริมการผลิตสื่อการเรียนการสอน ตําราเรียนที่มีคุณภาพ รวมทั้งสื่อและตําราเรียน
อิเล็กทรอนิกส ที่มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัยในทุกระดับ/ประเภทการศึกษา เพื่อใหผูเรียน
ศึกษาไดดวยตนเอง
1.5 พัฒนาสื่อการเรียนการสอนตนแบบทุกสาขาวิชาหลัก และทุกระดับการศึกษา เพื่อใช
เปนตนแบบในการจัดการเรียนการสอนในทุกสถานศึกษาใหมีคุณภาพและมาตรฐาน
ใกลเคียงกัน
ยุทธศาสตรที่ 3สงเสริมการวิจัยและพัฒนา ถายทอดองคความรูเทคโนโลยี นวัตกรรม
กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน
1. สงเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา สรางองคความรูเทคโนโลยี นวัตกรรมเพื่อการพัฒนา
สังคมและประเทศ
1.1 สรางกลไกการวิจัยและถายทอดองคความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรมระหวางภาคธุรกิจ
สถานประกอบการกับสถาบันการศึกษา
1.2 สงเสริมการวิจัยและพัฒนาในระดับอุดมศึกษา เพื่อสรางสรรค องคความรู เทคโนโลยี
และนวัตกรรมตอบสนองความตองการของชุมชน สังคมและประเทศ
1.3 พัฒนามหาวิทยาลัยใหมีศักยภาพดานการวิจัยและพัฒนาขั้นสูง
1.4 สงเสริม สนับสนุนการจัดตั้งศูนยบมเพาะวิสาหกิจในสถาบันการศึกษา และพัฒนาศูนย
ความเปนเลิศ เพื่อเปนหนวยวิจัยและพัฒนาองคความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่
จําเปนตอการพัฒนาประเทศ
1.5 สงเสริมการวิจัย ถายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมเพิ่มขึ้น
2. สรางเครือขายความรวมมือดานการศึกษาวิจัยกับองคกร/หนวยงานทั้งในและตางประเทศ
2.1 สงเสริม สนับสนุนใหนักเรียนนักศึกษา ครู คณาจารยในสถาบันการศึกษาดําเนินการ
วิจัยและพัฒนาสรางองคความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรม
บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
(ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559
12
2.2 สงเสริม สนับสนุนการสรางความรวมมือระหวางภาครัฐ และเอกชนในการสรางงานวิจัย
เชิงพาณิชย การถายทอดเทคโนโลยีที่ทันสมัยหรือตอยอดเทคโนโลยี
2.3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู นําเสนอผลงานวิจัยระหวางสถาบันการศึกษาทั้งในและ
ตางประเทศ
3. สงเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อใหบริการรักษาพยาบาลและสงเสริมสุขภาพ
3.1 สงเสริม สนับสนุนการศึกษา วิจัย และสรางองคความรูเกี่ยวกับ การรักษาพยาบาลและ
การสงเสริมสุขภาพ
3.2 สงเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาดานสาธารณสุขใน
มหาวิทยาลัยในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
4. พัฒนาระบบบริหารจัดการความรู
4.1 สงเสริม สนับสนุนใหทุกหนวยงานดําเนินการจัดการความรู อยางเปนระบบ นําไปสูการ
เปนองคกรแหงการเรียนรู
4.2 พัฒนาระบบจัดเก็บ รวบรวม ขอมูลองคความรู และการใหบริการทางวิชาการ หรือ
เผยแพรองคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรมสูสาธารณชนอยางทั่วถึง
4.3 สงเสริม สนับสนุนการถายทอด ถอดองคความรูที่มีอยูในบุคคล ใหเปนองคความรูของ
องคกรหรือหนวยงานอยางตอเนื่อง
5. พัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัย
5.1 พัฒนาศักยภาพนักวิจัย
5.2 สรางเครือขายนักวิจัย
5.3 สงเสริมการวิจัยที่สรางองคความรูใหมทางวิชาการ
5.4 กําหนดทิศทางการวิจัยที่กอใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาความรูใหม
5.5 สนับสนุนการนําองคความรู จากการวิจัยไปใชประโยชนในการพัฒนาสังคม ประเทศ
หรือตอยอดในเชิงพาณิชย
ยุทธศาสตรที่ 4ขยายโอกาสการเขาถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต
กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน
3. พัฒนาคุณภาพเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
3.1 สงเสริมใหผูเรียน สถานศึกษา และหนวยงานทางการศึกษา ทุกระดับ/ประเภท
การศึกษาเขาถึงระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยอยาง
ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ
3.2 พัฒนาระบบฐานขอมูลกลางทางการศึกษาใหเปนเอกภาพ มีมาตรฐานเดียวกัน โดย
เชื่อมโยงขอมูลการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา
3.3 นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใชพัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร
จัดการและการเรียนรูอยางเปนระบบ
3.4 จัดใหมีศูนยกลางในการจัดเก็บ รวบรวม และเผยแพรขอมูลสื่อ การเรียนการสอนที่มี
คุณภาพ ทันสมัย ไดมาตรฐาน และใชเปนแหลงแลกเปลี่ยนเรียนรู ของผูเรียน ครูและ
คณาจารย
บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
(ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559
13
3.5 รณรงค สงเสริมใหเด็ก เยาวชนและประชาชนเขาถึงและใชประโยชนจากเทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อการเรียนรูไดอยางทั่วถึง สรางสรรค และ มีประสิทธิภาพ
3.6 ปรับปรุงหองปฏิบัติการและจัดหาเครื่องคอมพิวเตอรใหกับผูเรียนอยางเพียงพอ ทั่วถึง
และเหมาะสมกับการแสวงหาความรูดวยตนเองอยางตอเนื่อง
ยุทธศาสตรที่ 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการ และสงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการจัดการศึกษา
กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน
3. พัฒนาระบบการวางแผน งบประมาณ ตรวจติดตามและประเมินผลการศึกษาใหได
มาตรฐาน
3.4 พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร สําหรับการติดตามและประเมินผลแผนงาน /โครงการ
3.5 สรางเครือขายเชื่อมโยงฐานขอมูลโดยใชเทคโนโลยีในการจัดทําฐานขอมูล
4. แผนการศึกษาแหงชาติ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ปรับปรุงครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2555-2559)
วัตถุประสงคของแผน
1. พัฒนาคนอยางรอบดานและสมดุลเพื่อเปนฐานหลักของการพัฒนาอยางยั่งยืน
2. สรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญานวัตกรรม และการเรียนรู ประชาคมอาเซียน
ประชาคมโลก
แนวนโยบาย
2.5 สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางทุนปญญาของชาติ นวัตกรรม พัฒนาระบบบริหาร
จัดการความรู และสรางกลไกการนําผลการวิจัยไปใชประโยชน
3. พัฒนาสภาพแวดลอมของสังคมใหเปนฐานในการพัฒนาคน และสรางสังคมคุณธรรม ภูมิปญญา
นวัตกรรม การเรียนรู
แนวนโยบาย
3.1 พัฒนาและนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการพัฒนาคุณภาพ เพิ่มโอกาสทางการศึกษา
และการเรียนรูตลอดชีวิต
พัฒนาการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ICT in Education)
 สงเสริมใหมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษามาใชมากขึ้นหลากหลายรูปแบบอยางมี
ประสิทธิภาพ ไดแกนักเรียนในโรงเรียนทุกชั้นเรียน ทุกสังกัดไดใชคอมพิวเตอรแบบพกพา
(Tablet) เชิงสรางสรรคอยางชาญฉลาด มีระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกสแหงชาติ เพื่อ
การศึกษาไดกวางขวาง นํารองหองเรียนอิเล็กทรอนิกสอินเตอรเน็ตไรสายที่มีคุณภาพ
 พัฒนาครูและผูบริหารใหสามารถใชและพัฒนาสาระเพื่อบรรจุในคอมพิวเตอรแบบพกพา
(Tablet) ไดอยางมีประสิทธิภาพ
 พัฒนาเครือขายสารสนเทศเพื่อการศึกษาพัฒนาระบบไซเบอรโฮม
 สงเสริมใหกองทุนเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเรียนรู ดําเนินการตามภารกิจ
อยางมีประสิทธิภาพและประเมินผลการบริหารกองทุน
5. (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สําหรับการศึกษาของประเทศไทย พ.ศ.
2556 – 2563 สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
(ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559
14
วิสัยทัศนการศึกษา
คนไทยทุกคนสามารถเขาสูการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพได จากการสงเสริมการเขาถึงของ
ICT ที่ชวยสนับสนุนการบริหารจัดการระบบขอมูลทางการศึกษาใหดียิ่งขึ้น และใชประโยชนจาก ICT
เปนเครื่องมือสําหรับการเรียนรู และการติดตอสื่อสาร
ยุทธศาสตรการพัฒนา
1. พัฒนาทักษะการเรียนรูของผูเรียนใหสอดรับกับระบบเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีในศตวรรษ
ที่ 21
2. ยกระดับคุณภาพ มาตรฐานของระบบการเรียน การสอน การประเมินผลและระบบบริหารจด
การการศึกษา
3. กระตุนใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการพัฒนาและใชประโยชนจาก ICT เพื่อการศึกษาอยาง
ยั่งยืน
4. พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และการเขาถึง ICT สําหรับการศึกษาที่มีความมั่นคงปลอดภัย สามรถ
ใชงานไดแมในสถานการณฉุกเฉิน
5. สงเสริมการพัฒนาขอมูลดิจิตอล สื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส ทั้งในเชิงคุณภาพและ
ปริมาณ
6. กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ประเทศไทย (IT2020)
ประเทศไทยในป พ.ศ. 2563 จะมีการพัฒนาอยางฉลาด การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมจะอยูบน
พื้นฐานของความรูและปญญา โดยใหโอกาสแกประชาชนทุกคนในการมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาอยางเสมอภาค
นําไปสูการเติบโตอยางสมดุล และยั่งยืน ตามวิสัยทัศน (Smart Thailand 2020) ที่ระบุวา
“ICT เปนพลังขับเคลื่อนสําคัญในการนําพาคนไทย สูความรูและปญญา
เศรษฐกิจไทยสูการเติบโตอยางยั่งยืน สังคมไทยสูความเสมอภาค”
โดยมีเปาหมายหลักของการพัฒนา ดังนี้
1. มีโครงสรางพื้นฐาน ICT ความเร็วสูง (Broadband) ที่กระจายอยางทั่วถึง ประชาชนสามารถ
เขาถึงไดอยางเทาเทียมกัน เสมือนการเขาถึงบริการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานทั่วไป โดยใหรอย
ละ 80 ของประชากรทั่วประเทศ สามารถเขาถึงโครงขายโทรคมนาคมและอินเทอรเน็ตความเร็ว
สูงภายในป พ.ศ. 2558 และ รอยละ 95 ภายในป พ.ศ. 2563
2. มีทุนมนุษยที่มีคุณภาพ ในปริมาณที่เพียงพอตอการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสูเศรษฐกิจฐาน
บริการและฐานเศรษฐกิจสรางสรรคไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยประชาชนไมนอยกวารอยละ 75
มีความรอบรู เขาถึง สามารถพัฒนาและใชประโยชนจากสารสนเทศไดอยางรูเทาทัน และเพิ่ม
การจางงานบุคลากร ICT (ICT Professional) เปนไมต่ํากวารอยละ 3 ของการจางงานทั้งหมด
3. เพิ่มบทบาทและความสําคัญของอุตสาหกรรม ICT (โดยเฉพาะในกลุมอุตสาหกรรมสรางสรรค)
ตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยใหมีสัดสวนมูลคาเพิ่มของอุตสาหกรรม ICT (รวม
อุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต) ตอ GDP ไมนอยกวารอยละ 18
4. ยกระดับความพรอมดาน ICT โดยรวมของประเทศไทย โดยใหประเทศไทยอยูในกลุมประเทศที่
มีการพัฒนาสูงที่สุดรอยละ 25 (Top quartile) ของ Networked Readiness Index
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Journal techno 1
Journal techno 1Journal techno 1
Journal techno 1Ornrutai
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1Pala333
 
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ. รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ. Ajchara Thangmo
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์ruathai
 
20130814 library-buu
20130814 library-buu20130814 library-buu
20130814 library-buuInvest Ment
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...Noppakhun Suebloei
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at koreaKobwit Piriyawat
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51patchu0625
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxpatchu0625
 
การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้ปฏิบัติหน้าที่ประชาสัม...
การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้ปฏิบัติหน้าที่ประชาสัม...การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้ปฏิบัติหน้าที่ประชาสัม...
การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้ปฏิบัติหน้าที่ประชาสัม...PR OBEC
 
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3thanaetch
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightณัฐพล บัวพันธ์
 

Was ist angesagt? (20)

Journal techno 1
Journal techno 1Journal techno 1
Journal techno 1
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1
 
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ. รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
รายงานวิจัยแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ในการประชาสัมพันธ์ของ สพฐ.
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
 
55102 ภาษาไทย utq
55102  ภาษาไทย utq55102  ภาษาไทย utq
55102 ภาษาไทย utq
 
วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์
 
20130814 library-buu
20130814 library-buu20130814 library-buu
20130814 library-buu
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
 
2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
 
Top child (best ศูนย์ปี 57)
Top child (best ศูนย์ปี 57)Top child (best ศูนย์ปี 57)
Top child (best ศูนย์ปี 57)
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptx
 
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครองกฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
 
การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้ปฏิบัติหน้าที่ประชาสัม...
การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้ปฏิบัติหน้าที่ประชาสัม...การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้ปฏิบัติหน้าที่ประชาสัม...
การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้ปฏิบัติหน้าที่ประชาสัม...
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
 
Stem ศึกษา
Stem ศึกษาStem ศึกษา
Stem ศึกษา
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
 

Ähnlich wie ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55dockrupornpana55
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55dockrupornpana55
 
1st meeting report of eis secondary school network
1st  meeting report of eis secondary school network1st  meeting report of eis secondary school network
1st meeting report of eis secondary school networkKroo nOOy
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...Prachoom Rangkasikorn
 
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม
 
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.วรัท พฤกษากุลนันท์
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกphiphitthanawat
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingWareerut Hunter
 

Ähnlich wie ICT MOE Master Plan 2557 - 2559 (20)

แผนนิเทศdlit
แผนนิเทศdlitแผนนิเทศdlit
แผนนิเทศdlit
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
 
1st meeting report of eis secondary school network
1st  meeting report of eis secondary school network1st  meeting report of eis secondary school network
1st meeting report of eis secondary school network
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
 
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
Paper1
Paper1Paper1
Paper1
 
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
 
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ186 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
 
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ287 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 

Mehr von Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

ICT MOE Master Plan 2557 - 2559

  • 1. (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557 - 2559 เสนอ กระทรวงศึกษาธิการ จัดทําโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร พฤษภาคม 2556 (ฉบับปรับปรุง)
  • 2. สารบัญ หนา บทสรุปสําหรับผูบริหาร……………………………………………………………………………………………………………………. 1 บทที่ 1. บทนํา……………………………………………………………………………………………………………………….……….. 6 ภาพรวมสถานภาพการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร…………………………………….. 6 บทที่ 2. ทิศทางการการพัฒนาคุณภาพการศึกษา……………………………………………………………………………….. 9 การประเมินการใชแผนแมบท ICT พ.ศ. 2554-2556 กระทรวงศึกษาธิการ………………………………………. 21 สรุปผลการวิเคราะห SWOT………………………………………………………………………………………………………… 22 บทที่ 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน……………………………………………………………………………………………………. 24 นิยามคําศัพท……………………………………………………………………………………………………………………………… 24 วิสัยทัศน……………………………………………………………………………………………………………………………………. 26 พันธกิจ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 26 เปาหมาย…………………………………………………………………………………………………………………………………… 26 ยุทธศาสตร………………………………………………………………………………………………………………………………… 27 ยุทธศาสตรที่ 1. ยกระดับความสามารถของผูสอนและบุคลากรทางการศึกษาฯ…………………………………. 27 ยุทธศาสตรที่ 2. สงเสริมสนับสนุนระบบการเรียนการสอนและการเรียนรูแบบอิเล็กทรอนิกส……………… 28 ยุทธศาสตรที่ 3. พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฯ…………………………. 29 ยุทธศาสตรที่ 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฯ……………………………………………….. 30 ยุทธศาสตรที่ 5. สงเสริมการวิจัยพัฒนาองคความรูดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการศึกษา…………… 31 บทที่ 4. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน………………………………………………………………………………………………… 33 แนวทางการบูรณาการสารสนเทศเพื่อการศึกษา…………………………………………………………………………….. 33 แนวทางการบูรณาการสื่อการเรียนรู…………………………………………………………………………………………….. 36 โครงการที่จําเปนตอการบูรณาการ……………………………………………………………………………………………….. 39 บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) ………………………………………………………………………………………… 41 โครงสรางพื้นฐานดานเครือขายความเร็วสูง(Infrastructure)………………………………………………………….. 41 การบูรณาการเครือขาย……………………………………………………………………………………………………………….. 49 บริการอิเล็กทรอนิกส (e-Services)………………………………………………………………………………………………. 52 การบูรณาการทรัพยากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศ…………………………………………………………………………. 52 บทที่ 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม………………………………………………………………………………………. 58 โครงสรางการบริหาร…………………………………………………………………………………………………………………… 59 ปจจัยเกื้อหนุนตอความสําเร็จ………………………………………………………………………………………………………. 64 ภาคผนวก ภาคผนวก ก. รางพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 1
  • 3. บทสรุปสําหรับผูบริหาร (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 1 บทสรุปสําหรับผูบริหาร ความนํา พิจารณาจากภาพรวมกระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ที่ไดรับการพัฒนาขึ้นมาอยางตอเนื่องในตางวาระตางเหตุผลของการใชงาน และตามความ จําเปนในแตละชวงเวลาจะมีลักษณะที่เรียกวา “Silo Architecture” ทําใหแตละหนวยงาน ยังตองการความสามารถ ในการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนหรือบูรณาการขอมูลระหวางกัน แมปจจุบันจะมีการวางแผนพัฒนาระบบ ICT ที่สามารถ เอื้อตอการบูรณาการ พรอมกับมีการกําหนดทิศทางการสงผานขอมูลสารสนเทศเขาสูสวนกลางอยางเปนรูปธรรม แต ในทางปฏิบัติยังคงตองใชเวลาในการจัดเก็บขอมูลจากหลากหลายระบบและหลากหลายหนวยงาน ทําใหการ ประมวลผลขอมูล การออกรายงานเพื่อการบริหารและการตัดสินใจของผูบริหาร หลายสวนยังอาจตองใชขอมูลเชิง ประจักษ เพราะขอมูลในระบบ ICT อาจไมถูกตองทันสมัย (Update) จึงเกรงจะเปนการลดความนาเชื่อถือในผลการ วิเคราะหที่มีตอภาพรวมการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งนี้ยังรวมถึงการพัฒนาสื่อการเรียนรูและการเขาถึง แหลงความรู ที่สวนใหญยังคงตองใชบริการหองสมุดที่เพียบพรอมไปดวยหนังสือตําราเรียนกระดาษ ที่ไมสามารถ สงเสริมการเรียนรูในลักษณะทุกที่ทุกเวลาไดอยางเต็มที่ตามสมัยนิยม นอกจากนี้ยังมีความตองการใชเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา พอสรุปไดดังนี้ 1. ความตองการดานนโยบายการดําเนินงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่มีความเปนเอกภาพ ทุกองคกรหลัก หนวยงานในสังกัด และในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ สามารถนําไปใชกําหนดทิศ ทางการดําเนินงานและการยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่มีผลตอการปฏิบัติไดอยางเสมอภาค เทาเทียมกัน 2. ความตองการดานเครื่องมืออุปกรณและเครือขาย เนื่องจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบันมี ความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว สงผลใหเครื่องมืออุปกรณและการใชงานในเครือขาย ตองพัฒนาและ ปรับปรุงใหทันสมัยตลอดเวลา แมในอดีตจะเคยมีการจัดสรรเครื่องมืออุปกรณและการวางเครือขาย เพื่อ รองรับการขยายตัวทางการศึกษา แตก็ไมทันความตองการที่เปลี่ยนแปลงมากขึ้นอยางกาวกระโดด 3. ความตองการดานระบบสารสนเทศและฐานขอมูลทางการศึกษา ที่มีความถูกตอง สมบูรณ ทันสมัย ทัน ตอการใชงาน และทุกฝายไดใชประโยชนรวมกันในการบริหารจัดการ การสืบคน การอางอิง ตลอดจนถึง การนําไปใชรวมกับเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสสวนตัวและบัตรสมารทการด ในการติดตอกับทาง ราชการและการดําเนินชีวิตประจําวัน ทดแทนการใชเอกสารกระดาษ 4. ความตองการสื่อการเรียนรูที่ทันสมัย ที่มีวิธีการนําเสนอที่กระตุนความสนใจของผูเรียน ซึ่งสวนใหญเปน เยาวชนคนรุนใหม ที่สามารถตอบโตหรือมีปฏิสัมพันธในระหวางการเรียนรูไดอยางสนุกสนาน ใชงาน รวมกับเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสสวนตัวไดอยางสะดวกทุกที่ทุกเวลา ทดแทนการพัฒนาและใชสื่อ การเรียนรูในลักษณะเดิม ที่มักดัดแปลงมาจากเนื้อหาสาระการนําเสนอบนกระดาษใหเปนแบบ อิเล็กทรอนิกสธรรมดาที่ยังคงมีใชงานอยูในปจจุบัน 5. ความตองการดานบุคลากรในสวนที่มีความขาดแคลน เชน การดูแลระบบเครือขายและคอมพิวเตอรใน ศูนยคอมพิวเตอรของสถานศึกษา เปนตน เนื่องจากงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มัก เปนเพียงงานฝากที่ไมตรงกับตําแหนงหนาที่ความรับผิดชอบตามสายงาน จึงไมคอยมีความกาวหนาตอ
  • 4. บทสรุปสําหรับผูบริหาร (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 2 การทํางานประจํา (Carrier Path) อีกทั้งการบริหารจัดการสวนใหญ มักเปนเรื่องดูแลการจัดเก็บและ จัดสงขอมูล ซึ่งตองการความละเอียดถี่ถวนในการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล ที่ตองใชเวลามากใน การดําเนินงานแตผูบริหารมักมองไมเห็นผลงาน 6. ความตองการดานงบประมาณที่กระทรวงศึกษาธิการอาจไดรับการจัดสรรจากทุกรัฐบาลอยางตอเนื่อง แตในทางปฏิบัติก็ยังไมเพียงพอ เพราะสาเหตุที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงเร็ว จึงจําเปนตองมีการลงทุน เพิ่มเติมอยูตลอดเวลา อีกทั้งการพัฒนาคุณภาพศึกษาเพื่อใหเกิดความเทาเทียม ทั่วถึง สงผลใหผูเรียน ตองไดรับการดูแลอยางเสมอภาคกัน ซึ่งมีผลตอการใชงบประมาณเพิ่มขึ้นตลอดเวลา หลักการแนวคิด นอกเหนือจากการประเมินผลการใชแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับเดิม) ประกอบกับ การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคาม (SWOT analysis) ที่มีผลตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาแลว ยังมีการศึกษาทบทวนทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับประเทศ เพื่อประกอบการจัดทําแผนแมบท เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2557-2559 ดังนี้ 1. การบูรณาการยุทธศาสตรประเทศ (Country Strategy) 2. ยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน 3. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 – 2559 4. แผนการศึกษาแหงชาติ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ปรับปรุงครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2555-2559) 5. (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สําหรับการศึกษาของประเทศไทย พ.ศ. 2556 – 2563 สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 6. กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ประเทศไทย (IT2020) 7. นโยบายรัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ ชินวัตร 8. นโยบายรัฐมนตรี นายพงศเทพ เทพกาญจนา 9. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559 10. แผนปฏิบัติราชการ 4 ป (พ.ศ. 2555-2558) ของกระทรวงศึกษาธิการ 11. พระราชบัญญัติการศึกษาพ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 12. การมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ภาพรวมแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา รายละเอียดการดําเนินงานตามแผนแมบทฯ พอสรุปไดดังนี้ วิสัยทัศน : ประชาชนไดรับโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ดวยการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเพื่อการศึกษา
  • 5. บทสรุปสําหรับผูบริหาร (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 3 พันธกิจ : 1. ผลิตและพัฒนากําลังคนใหมีศักยภาพดานการพัฒนา และการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร 2. สงเสริมสนับสนุนระบบการเรียนการสอนแบบอิเล็กทรอนิกส 3. พัฒนาโครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการและการบริการดานการศึกษา 5. สงเสริมการวิจัยพัฒนาองคความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา เปาหมาย : เพื่อที่จะยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งผูเรียนสามารถเขาถึงแหลงเรียนรูไดทุกที่ทุกเวลา ดวยการใชประโยชนจากการบูรณาการเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ใชอยูในชีวิตประจําวัน มี ความทันสมัยสามารถติดตอสื่อสารกันไดอยางสะดวก หรือที่เรียกวา “Ubiquitous Learning” ตลอด จนถึงการสรางหองเรียนแหงอนาคต (Future Class room) เพื่อสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อใหผูเรียน เปนศูนยกลางของการศึกษาใน 3 มิติ คือ 1. การเขาถึงแหลงเรียนรู (Enabling) คือ เพิ่มศักยภาพการศึกษาคนควาและการเขาถึงแหลงเรียนรูแบบ ออนไลน (Online) 2. การเรียนรูทุกที่ทุกเวลา (Engaging) คือ เพิ่มประสบการณการเรียนรูโดยไมขาดความตอเนื่องดวยการ ใชอุปกรณสวนตัวที่ทันสมัย (BYOD : Bring Your Own Device) 3. ความหลากหลายของการเรียนรู (Empowering) คือ เพิ่มความสามารถและอิสระในการเลือกวิธีการ และสื่อการเรียนรูในหลากหลายรูปแบบในหองเรียนแหงอนาคต (Future Class room) ยุทธศาสตร ยุทธศาสตรที่ 1. ยกระดับความสามารถของผูสอนและบุคลากรทางการศึกษา ในการใชเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา เปาประสงค : ผูสอนและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพัฒนาศักยภาพในการใชเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ยุทธศาสตรที่ 2. สงเสริมสนับสนุนระบบการเรียนรูแบบอิเล็กทรอนิกส เปาประสงค : มีสื่อเนื้อหาสาระการเรียนรูแบบอิเล็กทรอนิกสสนับสนุนการเรียนรูอยางเหมาะสม ตามหลักสูตร ยุทธศาสตรที่ 3. พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อขยายโอกาส การเขาถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต เปาประสงค : มีการจัดสรรคลื่นความถี่และโครงสรางพื้นฐานในการสงวิทยุกระจายเสียง วิทยุ โทรทัศน และระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่สามารถ ใหบริการการศึกษาไดอยางทั่วถึงและมีเครื่องมืออุปกรณที่เพียงพอ
  • 6. บทสรุปสําหรับผูบริหาร (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 4 ยุทธศาสตรที่ 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ และการบริการ เปาประสงค : มีคลังขอมูลและระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและการบริการดาน การศึกษา ยุทธศาสตรที่ 5. สงเสริมการวิจัยพัฒนาองคความรูดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการศึกษา เปาประสงค : มีผลงานการวิจัยพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดานเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน ในทางปฏิบัติ จําเปนตองกําหนดรายละเอียดและวิธีปฏิบัติ เฉพาะมาตรการที่เกี่ยวของกับบริบทของแตละ หนวยงานเอง ซึ่งรวมถึงการกําหนดมาตรการยอยกับโครงการที่จําเปนเพิ่มเติม เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตาม เปาประสงคของแตละยุทธศาสตร ดวยความเปนเอกภาพของทุกหนวยงานที่จะตอบสนองภาพรวมการยกระดับการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ สวนมาตรการที่เกี่ยวของกับการบูรณาการ จําเปนจะตองมีการ ประสานความรวมมือและดําเนินงานรวมกันระหวางหนวยงานในสังกัดและในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่ง ประกอบดวย  แนวทางการบูรณาการสารสนเทศเพื่อการศึกษา  แนวทางการบูรณาการสื่อการเรียนรู  เทคโนโลยีเพื่อการบูรณาการสารสนเทศและสื่อการเรียนรู  โครงการที่จําเปนตอการบูรณาการ  แนวทางการบูรณาการระบบเครือขาย การบริหารจัดการและกํากับติดตาม การขับเคลื่อนยุทธศาสตรและมาตรการตางๆ ตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อ การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 ใหสามารถดําเนินการสําเร็จภายใตทรัพยากรดานเวลา บุคลากร และงบประมาณที่มีอยูอยางจํากัด ซึ่งมีผลกระทบตอการบริหารจัดการ การกํากับติดตาม และการประเมินผลการ ประยุกตใชระบบ ICT ขององคกรหลัก หนวยงานในสังกัด และหนวยงานในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ ควรจะ ดําเนินการตามองคประกอบที่สําคัญในเบื้องตนคือ 1. การกําหนดนโยบาย 2. การสรางความรับรูเกี่ยวกับแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3. การกําหนดระดับการบริหาร โดยมีโครงสรางการบริหารแบงออกเปน 2 ประเด็นคือ 3.1 การบริหารจัดการและกํากับติดตามระบบโครงขายพื้นฐาน (Network Infrastructure) 3.2 ประเด็นที่ 2. การบริหารจัดการและกํากับติดตามทั่วไป 4. การสงเสริมสนับสนุนศักยภาพการดําเนินงาน
  • 7. บทสรุปสําหรับผูบริหาร (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 5 ปจจัยเกื้อหนุนตอความสําเร็จ 1. ผูบริหาร/ผูมีอํานาจตัดสินใจของกระทรวงฯ ตองใหความสําคัญและความรวมมือ 2. ความเขาใจในขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Implementation) 3. ประสิทธิภาพของระบบเครือขาย 4. การบูรณาการระบบสารสนเทศ 5. กฎเกณฑ ระเบียบ หรือขอตกลงเพื่อการบริหารงานรวมกัน 6. ผลประโยชนที่เกิดขึ้นรวมกัน 7. กําลังใจในการพัฒนา 8. ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 8. บทที่ 1. บทนํา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 6 บทที่ 1. บทนํา กระทรวงศึกษาธิการ เปนองคกรหลักในการผลิตและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติ เพื่อสรางความเปนอยู ที่ดี สรางความมั่งคั่งทางดานเศรษฐกิจและความมั่นคงทางสังคมใหกับประเทศ ดวยฐานความรู ความคิดสรางสรรค และศักยภาพของประเทศ โดยมีพันธกิจในการพัฒนา ยกระดับ และจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพ และขีด ความสามารถใหประชาชนไดมีอาชีพที่สามารถสรางรายไดที่มั่งคั่งและมั่นคง เพื่อใหเปนบุคลากรที่มีวินัยเปยมไปดวย คุณธรรม จริยธรรม มีสํานึกความรับผิดชอบตอตนเอง ผูอื่น และสังคม ตลอดระยะเวลาที่ผานมา กระทรวงศึกษาธิการมีการพัฒนาและประยุกตใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร (ICT) เพื่อรองรับการบริหารจัดการภายในองคกร สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรูที่ ทันสมัยของสถานศึกษาในสังกัดไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยดําเนินงานตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2554-2556 ซึ่งกําลังจะหมดวาระในปงบประมาณ 2556 ดังนั้น เพื่อความตอเนื่องในการ ดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่สามารถสนับสนุนการยกระดับการพัฒนาคุณภาพศึกษาของ ประเทศใหสูงยิ่งขึ้นไป จึงไดจัดใหมีโครงการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 โดยการศึกษาวิเคราะหสถานภาพการดําเนินงานและความตองการใช เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามแนวทางพอสังเขปดังนี้ 1. ศึกษาและวิเคราะหแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จากกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ระยะ พ.ศ.2554 – 2563 ของประเทศไทย (ICT 2020 Conceptual Framework) แผนปฏิบัติการสําหรับยุทธศาสตรประเทศ (Country Strategy) แผนปฏิบัติการการเขาสูประชาคม อาเซียนป 2558 แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสําหรับการศึกษาของประเทศไทย พ.ศ. 2556 - 2563 การมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ตลอดจนถึงนโยบายของ รัฐบาลในสวนที่เกี่ยวของกับการศึกษา 2. ศึกษาและวิเคราะหแนวทางการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ของ กระทรวงศึกษาธิการ จากการมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ตลอดชวงอายุของการใชแผนแมบทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา (ฉบับเดิม) 3. ประชุมหารือการประเมินผลการใชแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา (ฉบับ เดิม) ตลอดจนถึงการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคาม (SWOT Analysis) ที่มีผลกระทบ ตอการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ภาพรวมสถานภาพการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ภาพรวมการดําเนินงานดาน ICT ของกระทรวงศึกษาธิการ พิจารณาจากโครงสรางและกระบวนการบริหาร ซึ่งประกอบดวย 5 องคกรหลัก คือ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา จะเห็นไดวาการใช ICT ในภาพรวม สามารถรองรับการบริหารจัดการและการดําเนินพันธกิจของแตละ
  • 9. บทที่ 1. บทนํา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 7 องคกรหลักไดดีในระดับหนึ่ง อยางไรก็ตาม การขยายตัวทางการศึกษาในปจจุบันมีการเติบโตขึ้นอยางกาวกระโดด มี การขยายภารกิจ ปรับปรุงยุทธศาสตร และขอบเขตการดําเนินงานดานการศึกษาออกไปอยางกวางขวาง ซึ่งเปนผลมา จากความตื่นตัวในการเห็นความสําคัญดานการศึกษาของประชาชน และการสนับสนุนเชิงนโยบายของภาครัฐ สงผล กระทบถึงความคาดหวังของทุกฝายที่มีตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่จําเปนจะตองมีตองใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัย ระบบสารสนเทศและขอมูลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู ตองมีความ สะดวกรวดเร็วในการใชงาน ดวยความเชื่อมั่นในความถูกตอง เหมาะสม โปรงใส ตรวจสอบได และมีธรรมาภิบาล เนื่องจากกระบวนการพัฒนาระบบ ICT ของกระทรวงศึกษาธิการตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ไดรับการ พัฒนาขึ้นมาอยางตอเนื่องในตางวาระตางเหตุผลของการใชงาน และตามความจําเปนในแตละชวงเวลา หรือมีลักษณะ ที่เรียกวา “Silo Architecture” ซึ่งเปนเรื่องปกติที่พบเห็นไดทั่วไปในองคกรขนาดใหญ ที่มีภารกิจเรงรัดและมี ผลกระทบตอผูเกี่ยวของจํานวนมหาศาลอยางกระทรวงศึกษาธิการ ทําใหระบบ ICT ของแตละหนวยงาน ยังตองการ ความสามารถในการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนหรือบูรณาการขอมูลระหวางกัน แมปจจุบันจะมีการวางแผนพัฒนาระบบ ICT ที่สามารถเอื้อตอการบูรณาการ พรอมกับมีการกําหนดทิศทางการสงผานขอมูลสารสนเทศเขาสูสวนกลางอยาง เปนรูปธรรม แตในทางปฏิบัติยังคงตองใชเวลาในการจัดเก็บขอมูลจากหลากหลายระบบและหลากหลายหนวยงานทํา ใหการประมวลผลขอมูลเพื่อการวิเคราะห การออกรายงานเพื่อการบริหารและการตัดสินใจของผูบริหาร หลายสวนยัง อาจตองใชขอมูลเชิงประจักษ เพราะขอมูลในระบบ ICT อาจไมถูกตองทันสมัย (Update) จึงเกรงจะเปนการลดความ นาเชื่อถือในผลการวิเคราะหที่มีตอภาพรวมการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ ดังจะสังเกตไดจากบางกรณีที่ จําเปนตองมีการจัดเก็บรวบรวมขอมูลเพิ่มเติม ซึ่งกวาจะดําเนินการแลวเสร็จ ขอมูลที่ไดรับอาจกลายเปนขอมูลที่ ลาสมัยไมเปนปจจุบัน หรือมีความคลาดเคลื่อนจากสภาพการณที่เปนจริง ทั้งนี้ยังรวมไปถึงการพัฒนาสื่อการเรียนรู และการเขาถึงแหลงความรู ที่สวนใหญยังคงตองใชบริการหองสมุดที่เพียบพรอมไปดวยหนังสือตําราเรียนกระดาษ ที่ ไมสามารถสงเสริมการเรียนรูในลักษณะทุกที่ทุกเวลาไดอยางเต็มที่ตามสมัยนิยม นอกจากนี้ยังมีความตองการใช เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา พอสรุปไดดังนี้ 1. ความตองการดานนโยบายการดําเนินงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่มีความเปนเอกภาพ ทุกองคกรหลัก หนวยงานในสังกัด และในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ สามารถนําไปใชกําหนดทิศ ทางการดําเนินงานและการยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่มีผลตอการปฏิบัติไดอยางเสมอภาค เทาเทียมกัน 2. ความตองการดานเครื่องมืออุปกรณและเครือขาย เนื่องจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีในปจจุบันมี ความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว สงผลใหเครื่องมืออุปกรณและการใชงานในเครือขาย ตองพัฒนาและ ปรับปรุงใหทันสมัยตลอดเวลา แมในอดีตจะเคยมีการจัดสรรเครื่องมืออุปกรณและการวางเครือขาย เพื่อ รองรับการขยายตัวทางการศึกษา แตก็ไมทันความตองการที่เปลี่ยนแปลงมากขึ้นอยางกาวกระโดด 3. ความตองการดานระบบสารสนเทศและฐานขอมูลทางการศึกษา ที่มีความถูกตอง สมบูรณ ทันสมัย ทัน ตอการใชงาน และทุกฝายไดใชประโยชนรวมกันในการบริหารจัดการ การสืบคน การอางอิง ตลอดจนถึง การนําไปใชรวมกับเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสสวนตัวและบัตรสมารทการด ในการติดตอกับทาง ราชการและการดําเนินชีวิตประจําวัน ทดแทนการใชเอกสารกระดาษ 4. ความตองการสื่อการเรียนรูที่ทันสมัย ที่มีวิธีการนําเสนอที่กระตุนความสนใจของผูเรียน ซึ่งสวนใหญเปน เยาวชนคนรุนใหม ที่สามารถตอบโตหรือมีปฏิสัมพันธในระหวางการเรียนรูไดอยางสนุกสนาน ใชงาน
  • 10. บทที่ 1. บทนํา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 8 รวมกับเครื่องมืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสสวนตัวไดอยางสะดวกทุกที่ทุกเวลา ทดแทนการพัฒนาและใชสื่อ การเรียนรูในลักษณะเดิม ที่มักดัดแปลงมาจากเนื้อหาสาระการนําเสนอบนกระดาษใหเปนแบบ อิเล็กทรอนิกสธรรมดาที่ยังคงมีใชงานอยูในปจจุบัน 5. ความตองการดานบุคลากรในสวนที่มีความขาดแคลน เชน การดูแลระบบเครือขายและคอมพิวเตอรใน ศูนยคอมพิวเตอรของสถานศึกษา เปนตน เนื่องจากงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มัก เปนเพียงงานฝากที่ไมตรงกับตําแหนงหนาที่ความรับผิดชอบตามสายงาน จึงไมคอยมีความกาวหนาตอ การทํางานประจํา (Carrier Path) อีกทั้งการบริหารจัดการสวนใหญ มักเปนเรื่องดูแลการจัดเก็บและ จัดสงขอมูล ซึ่งตองการความละเอียดถี่ถวนในการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล ที่ตองใชเวลามากใน การดําเนินงานแตผูบริหารมักมองไมเห็นผลงาน 6. ความตองการดานงบประมาณที่กระทรวงศึกษาธิการอาจไดรับการจัดสรรจากทุกรัฐบาลอยางตอเนื่อง แตในทางปฏิบัติก็ยังไมเพียงพอ เพราะสาเหตุที่เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงเร็ว จึงจําเปนตองมีการลงทุน เพิ่มเติมอยูตลอดเวลา อีกทั้งการพัฒนาคุณภาพศึกษาเพื่อใหเกิดความเทาเทียม ทั่วถึง สงผลใหผูเรียน ตองไดรับการดูแลอยางเสมอภาคกัน ซึ่งมีผลตอการใชงบประมาณเพิ่มขึ้นตลอดเวลา การจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557- 2559 มีลําดับการนําเสนอรายละเอียด ดังนี้  บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเปนการศึกษาทบทวนแนวทางการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาในระดับประเทศ  บทที่ 3. ยุทธศาสตรการดําเนินงาน ซึ่งเปนการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร และมาตรการ ดําเนินงานในแผนแมบทฯ  บทที่ 4. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน ซึ่งเปนการแนะนําแนวทางการดําเนินงานในทางปฏิบัติ โดย สวนใหญจะเนนการบูรณาการระบบสารสนเทศ ฐานขอมูล และสื่อการเรียนรูเพื่อการศึกษา  บทที่ 5. แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน (ตอ) ซึ่งเปนการแนะนําแนวทางการบูรณาการโครงขาย ความเร็วสูง (Network Infrastructure) เพื่อใหบริการชองทางการเชื่อมโยงขอมูลสารสนเทศและ สื่อการเรียนรูระหวางองคกรหลัก หนวยงาน และสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ  บทที่ 6. การบริหารจัดการและกํากับติดตาม ซึ่งเปนแนวทางการบริหารระบบเครือขาย และการ บริการจัดการดานอื่น ในรูปแบบของคณะกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อ การศึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทํางาน รวมทั้งปจจัยเกื้อหนุนตอความสําเร็จ
  • 11. บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 9 บทที่ 2. ทิศทางการการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การวางแผนยกระดับพัฒนาคุณภาพการศึกษา และสรางโอกาสทางการศึกษาใหประชาชนไดเรียนรูตลอด ชีวิต ใหมีความพรอมทั้งทางรางกาย จิตใจ สติปญญา มีจิตสํานึกของความเปนไทย มีความเปนพลเมืองที่ดี ตระหนัก และรูคุณคาของขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมที่ดีงาม มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง และตอบสนองตอ ทิศทางการพัฒนาประเทศ การจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 โดยมีเปาหมายที่จะตอบสนองทุกฝายที่เกี่ยวของ (Stakeholders) ทั้งในดาน การบริหารจัดการและการเรียนการสอน ซึ่งเอื้อตอการเขาถึงสารสนเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ สะดวก ปลอดภัย มี ความนาเชื่อถือ สามารถลดเวลาและความซ้ําซอนในการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษา สงเสริมแลกเปลี่ยน เรียนรูและการเรียนการสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การอาชีวศึกษา การอุดมศึกษา การศึกษาตามอัธยาศัยหรือ การเรียนรูตลอดชีวิต (Life Long Learning) จึงไดมีการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ เพื่อความสอดคลองตอการ ดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในภาพรวมของประเทศ ซึ่งในที่นี้จะคัดกรองและนําเสนอ เฉพาะสาระสําคัญที่เกี่ยวของกับการพัฒนาระบบ ICT เพื่อการศึกษา พอสรุปไดดังนี้ 1. การบูรณาการยุทธศาสตรประเทศ (Country Strategy) ในประเด็นการลดความเหลื่อมล้ํา (Inclusive Growth) โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพการศึกษา กําหนดให กระทรวงศึกษาธิการเปนผูรับผิดชอบในการปฏิรูปการศึกษา (ครู หลักสูตร เทคโนโลยี การดูแลเด็กกอนวัยเรียน และ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในระบบการศึกษา เชน แท็บเล็ต และอินเทอรเน็ตไรสาย เปนตน)  แผนพัฒนากําลังคนของประเทศ (ขาราชการ นักศึกษา แรงงาน)  แผนพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการศึกษา เปาหมาย/ตัวชี้วัด  ปการศึกษาเฉลี่ยอยูที่ 15 ป  อัตราการอานออกเขียนไดอยูที่รอยละ 100  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้นรอยละ 4 ตอป  สถานศึกษาผานการรับรองคุณภาพมาตรฐานจาก สมศ. รอยละ 100  สัดสวนผูเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษา : สามัญศึกษา เปน 50:50 2. ยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตรที่ 4 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อใหมีมาตรฐานการศึกษาอาเซียน รวมทั้งทักษะ ฝมือ และภาษา โดยพัฒนา/สนับสนุนการใชเทคโนโลยี ICT เพื่อเปนเครื่องมือในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการเรียนรู แนวทางการดําเนินงานดานการศึกษา
  • 12. บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 10 1. การพัฒนาและยกระดับทักษะภาษา ทั้งภาษาอังกฤษ ภาษาตางประเทศอื่น และการจัดทํา มาตรฐานการใชภาษาไทย และหลักเกณฑการทับศัพทภาษาของประเทศในกลุมอาเซียน 2. การสรางความตระหนักรูและการเสริมสรางอัตลักษณความเปนประชาคมอาเซียน 3. การรณรงคเพื่อการรูหนังสือเพื่อแกไขปญหาการอานออกเขียนไดของประชากรอาเซียน 4. การพัฒนาและยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ และสรางเครือขายความรวมมือ เพื่อสรางความเขมแข็งทางวิชาการ และรองรับการแลกเปลี่ยน/ถายโอนหนวยการเรียน และ เปดเสรีและการลงทุนดานการศึกษาในอาเซียน 5. การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตและสราง/สงเสริมสนับสนุนศูนยการเรียนรูในอาเซียน 6. การผลิตและพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีทักษะความรูและสมรรถนะในการประกอบอาชีพที่ เชื่อมโยงกับโครงสรางการผลิตและบริการตามความตองการของตลาดแรงงาน เปาหมาย/ตัวชี้วัด  ทุกคนสามารถอานออกเขียนไดและไดรับการพัฒนาศักยภาพดานทักษะภาษาอังกฤษและ ภาษาตางประเทศอื่นไดเพิ่มขึ้น  คนไทยมีความรูความเขาใจความหลากหลายทางวัฒนธรรม และเรียนรูที่จะอยูรวมกันภายใต กลุมประชาคมอาเซียนเพิ่มขึ้น  สถานศึกษามีคุณภาพและมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้งมาตรฐานการศึกษาของไทยไดรับการ ยอมรับในระดับอาเซียนและระดับสากล  ผูเรียนมีทักษะความรูและสมรรถนะที่สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานในกลุม ประชาคมอาเซียน แนวทางดําเนินงานดานแรงงาน ขอ 3. การพัฒนาระบบมาตรฐานฝมือแรงงานและมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพที่สอดคลองกับ มาตรฐานสากล เปาหมาย/ตัวชี้วัด  ระบบมาตรฐานฝมือแรงงานและระบบคุณวุฒิวิชาชีพไดรับการพัฒนาเทียบเทามาตรฐานสากล 3. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 – 2559 กระทรวงศึกษาธิการมุงเนนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และสรางโอกาสทางการศึกษาใหคนไทยไดเรียนรูตลอด ชีวิต เพื่อใหคนไทยทุกกลุมทุกวัยมีคุณภาพ มีความพรอมทั้งทางรางกาย จิตใจ สติปญญา มีจิตสํานึกของความเปน ไทย มีความเปนพลเมืองที่ดี ตระหนักและรูคุณคาของขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมที่ดีงาม มีภูมิคุมกัน ตอการเปลี่ยนแปลง และตอบสนองตอทิศทางการพัฒนาประเทศ จึงไดจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ.2555 – 2559 เพื่อใชเปนกรอบแนวทางการดําเนินงาน ซึ่งมีสาระสําคัญดังนี้ วิสัยทัศน “คนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ เปนคนดี มีความสุข มีภูมิคุมกัน รูเทาทัน ในเวทีโลก” พันธกิจ 1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาสูสากล 2. เสริมสรางโอกาสทางการศึกษาใหแกประชาชนอยางทั่วถึงเทาเทียม
  • 13. บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 11 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล และสงเสริมการมีสวนรวมของทุก ภาคสวน วัตถุประสงค 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและคุณภาพคนไทย ใหมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลงและการ พัฒนาประเทศในอนาคต 2. เพื่อผลิตและพัฒนากําลังคนรองรับการพัฒนา และเสริมสรางศักยภาพการแขงขันของประเทศ 3. เพื่อสรางองคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน 4. เพื่อใหคนไทยไดเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต 5. เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาใหมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมีสวน รวมของทุกภาคสวน ยุทธศาสตรที่ 1 ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานผูเรียน ครู คณาจารย บุคลากรทางการศึกษาและ สถานศึกษา กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน 1. เรงรัดพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผูเรียน 1.4 สงเสริมการผลิตสื่อการเรียนการสอน ตําราเรียนที่มีคุณภาพ รวมทั้งสื่อและตําราเรียน อิเล็กทรอนิกส ที่มีเนื้อหาสาระที่ทันสมัยในทุกระดับ/ประเภทการศึกษา เพื่อใหผูเรียน ศึกษาไดดวยตนเอง 1.5 พัฒนาสื่อการเรียนการสอนตนแบบทุกสาขาวิชาหลัก และทุกระดับการศึกษา เพื่อใช เปนตนแบบในการจัดการเรียนการสอนในทุกสถานศึกษาใหมีคุณภาพและมาตรฐาน ใกลเคียงกัน ยุทธศาสตรที่ 3สงเสริมการวิจัยและพัฒนา ถายทอดองคความรูเทคโนโลยี นวัตกรรม กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน 1. สงเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา สรางองคความรูเทคโนโลยี นวัตกรรมเพื่อการพัฒนา สังคมและประเทศ 1.1 สรางกลไกการวิจัยและถายทอดองคความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรมระหวางภาคธุรกิจ สถานประกอบการกับสถาบันการศึกษา 1.2 สงเสริมการวิจัยและพัฒนาในระดับอุดมศึกษา เพื่อสรางสรรค องคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรมตอบสนองความตองการของชุมชน สังคมและประเทศ 1.3 พัฒนามหาวิทยาลัยใหมีศักยภาพดานการวิจัยและพัฒนาขั้นสูง 1.4 สงเสริม สนับสนุนการจัดตั้งศูนยบมเพาะวิสาหกิจในสถาบันการศึกษา และพัฒนาศูนย ความเปนเลิศ เพื่อเปนหนวยวิจัยและพัฒนาองคความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ จําเปนตอการพัฒนาประเทศ 1.5 สงเสริมการวิจัย ถายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมเพิ่มขึ้น 2. สรางเครือขายความรวมมือดานการศึกษาวิจัยกับองคกร/หนวยงานทั้งในและตางประเทศ 2.1 สงเสริม สนับสนุนใหนักเรียนนักศึกษา ครู คณาจารยในสถาบันการศึกษาดําเนินการ วิจัยและพัฒนาสรางองคความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรม
  • 14. บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 12 2.2 สงเสริม สนับสนุนการสรางความรวมมือระหวางภาครัฐ และเอกชนในการสรางงานวิจัย เชิงพาณิชย การถายทอดเทคโนโลยีที่ทันสมัยหรือตอยอดเทคโนโลยี 2.3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู นําเสนอผลงานวิจัยระหวางสถาบันการศึกษาทั้งในและ ตางประเทศ 3. สงเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อใหบริการรักษาพยาบาลและสงเสริมสุขภาพ 3.1 สงเสริม สนับสนุนการศึกษา วิจัย และสรางองคความรูเกี่ยวกับ การรักษาพยาบาลและ การสงเสริมสุขภาพ 3.2 สงเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาดานสาธารณสุขใน มหาวิทยาลัยในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการความรู 4.1 สงเสริม สนับสนุนใหทุกหนวยงานดําเนินการจัดการความรู อยางเปนระบบ นําไปสูการ เปนองคกรแหงการเรียนรู 4.2 พัฒนาระบบจัดเก็บ รวบรวม ขอมูลองคความรู และการใหบริการทางวิชาการ หรือ เผยแพรองคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรมสูสาธารณชนอยางทั่วถึง 4.3 สงเสริม สนับสนุนการถายทอด ถอดองคความรูที่มีอยูในบุคคล ใหเปนองคความรูของ องคกรหรือหนวยงานอยางตอเนื่อง 5. พัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัย 5.1 พัฒนาศักยภาพนักวิจัย 5.2 สรางเครือขายนักวิจัย 5.3 สงเสริมการวิจัยที่สรางองคความรูใหมทางวิชาการ 5.4 กําหนดทิศทางการวิจัยที่กอใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาความรูใหม 5.5 สนับสนุนการนําองคความรู จากการวิจัยไปใชประโยชนในการพัฒนาสังคม ประเทศ หรือตอยอดในเชิงพาณิชย ยุทธศาสตรที่ 4ขยายโอกาสการเขาถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน 3. พัฒนาคุณภาพเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา 3.1 สงเสริมใหผูเรียน สถานศึกษา และหนวยงานทางการศึกษา ทุกระดับ/ประเภท การศึกษาเขาถึงระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยอยาง ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 3.2 พัฒนาระบบฐานขอมูลกลางทางการศึกษาใหเปนเอกภาพ มีมาตรฐานเดียวกัน โดย เชื่อมโยงขอมูลการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา 3.3 นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใชพัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร จัดการและการเรียนรูอยางเปนระบบ 3.4 จัดใหมีศูนยกลางในการจัดเก็บ รวบรวม และเผยแพรขอมูลสื่อ การเรียนการสอนที่มี คุณภาพ ทันสมัย ไดมาตรฐาน และใชเปนแหลงแลกเปลี่ยนเรียนรู ของผูเรียน ครูและ คณาจารย
  • 15. บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 13 3.5 รณรงค สงเสริมใหเด็ก เยาวชนและประชาชนเขาถึงและใชประโยชนจากเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการเรียนรูไดอยางทั่วถึง สรางสรรค และ มีประสิทธิภาพ 3.6 ปรับปรุงหองปฏิบัติการและจัดหาเครื่องคอมพิวเตอรใหกับผูเรียนอยางเพียงพอ ทั่วถึง และเหมาะสมกับการแสวงหาความรูดวยตนเองอยางตอเนื่อง ยุทธศาสตรที่ 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการ และสงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการจัดการศึกษา กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน 3. พัฒนาระบบการวางแผน งบประมาณ ตรวจติดตามและประเมินผลการศึกษาใหได มาตรฐาน 3.4 พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร สําหรับการติดตามและประเมินผลแผนงาน /โครงการ 3.5 สรางเครือขายเชื่อมโยงฐานขอมูลโดยใชเทคโนโลยีในการจัดทําฐานขอมูล 4. แผนการศึกษาแหงชาติ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ปรับปรุงครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2555-2559) วัตถุประสงคของแผน 1. พัฒนาคนอยางรอบดานและสมดุลเพื่อเปนฐานหลักของการพัฒนาอยางยั่งยืน 2. สรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญานวัตกรรม และการเรียนรู ประชาคมอาเซียน ประชาคมโลก แนวนโยบาย 2.5 สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางทุนปญญาของชาติ นวัตกรรม พัฒนาระบบบริหาร จัดการความรู และสรางกลไกการนําผลการวิจัยไปใชประโยชน 3. พัฒนาสภาพแวดลอมของสังคมใหเปนฐานในการพัฒนาคน และสรางสังคมคุณธรรม ภูมิปญญา นวัตกรรม การเรียนรู แนวนโยบาย 3.1 พัฒนาและนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการพัฒนาคุณภาพ เพิ่มโอกาสทางการศึกษา และการเรียนรูตลอดชีวิต พัฒนาการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (ICT in Education)  สงเสริมใหมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษามาใชมากขึ้นหลากหลายรูปแบบอยางมี ประสิทธิภาพ ไดแกนักเรียนในโรงเรียนทุกชั้นเรียน ทุกสังกัดไดใชคอมพิวเตอรแบบพกพา (Tablet) เชิงสรางสรรคอยางชาญฉลาด มีระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกสแหงชาติ เพื่อ การศึกษาไดกวางขวาง นํารองหองเรียนอิเล็กทรอนิกสอินเตอรเน็ตไรสายที่มีคุณภาพ  พัฒนาครูและผูบริหารใหสามารถใชและพัฒนาสาระเพื่อบรรจุในคอมพิวเตอรแบบพกพา (Tablet) ไดอยางมีประสิทธิภาพ  พัฒนาเครือขายสารสนเทศเพื่อการศึกษาพัฒนาระบบไซเบอรโฮม  สงเสริมใหกองทุนเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเรียนรู ดําเนินการตามภารกิจ อยางมีประสิทธิภาพและประเมินผลการบริหารกองทุน 5. (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สําหรับการศึกษาของประเทศไทย พ.ศ. 2556 – 2563 สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
  • 16. บทที่ 2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ราง) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559 14 วิสัยทัศนการศึกษา คนไทยทุกคนสามารถเขาสูการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพได จากการสงเสริมการเขาถึงของ ICT ที่ชวยสนับสนุนการบริหารจัดการระบบขอมูลทางการศึกษาใหดียิ่งขึ้น และใชประโยชนจาก ICT เปนเครื่องมือสําหรับการเรียนรู และการติดตอสื่อสาร ยุทธศาสตรการพัฒนา 1. พัฒนาทักษะการเรียนรูของผูเรียนใหสอดรับกับระบบเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีในศตวรรษ ที่ 21 2. ยกระดับคุณภาพ มาตรฐานของระบบการเรียน การสอน การประเมินผลและระบบบริหารจด การการศึกษา 3. กระตุนใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการพัฒนาและใชประโยชนจาก ICT เพื่อการศึกษาอยาง ยั่งยืน 4. พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และการเขาถึง ICT สําหรับการศึกษาที่มีความมั่นคงปลอดภัย สามรถ ใชงานไดแมในสถานการณฉุกเฉิน 5. สงเสริมการพัฒนาขอมูลดิจิตอล สื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส ทั้งในเชิงคุณภาพและ ปริมาณ 6. กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ประเทศไทย (IT2020) ประเทศไทยในป พ.ศ. 2563 จะมีการพัฒนาอยางฉลาด การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมจะอยูบน พื้นฐานของความรูและปญญา โดยใหโอกาสแกประชาชนทุกคนในการมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาอยางเสมอภาค นําไปสูการเติบโตอยางสมดุล และยั่งยืน ตามวิสัยทัศน (Smart Thailand 2020) ที่ระบุวา “ICT เปนพลังขับเคลื่อนสําคัญในการนําพาคนไทย สูความรูและปญญา เศรษฐกิจไทยสูการเติบโตอยางยั่งยืน สังคมไทยสูความเสมอภาค” โดยมีเปาหมายหลักของการพัฒนา ดังนี้ 1. มีโครงสรางพื้นฐาน ICT ความเร็วสูง (Broadband) ที่กระจายอยางทั่วถึง ประชาชนสามารถ เขาถึงไดอยางเทาเทียมกัน เสมือนการเขาถึงบริการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานทั่วไป โดยใหรอย ละ 80 ของประชากรทั่วประเทศ สามารถเขาถึงโครงขายโทรคมนาคมและอินเทอรเน็ตความเร็ว สูงภายในป พ.ศ. 2558 และ รอยละ 95 ภายในป พ.ศ. 2563 2. มีทุนมนุษยที่มีคุณภาพ ในปริมาณที่เพียงพอตอการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสูเศรษฐกิจฐาน บริการและฐานเศรษฐกิจสรางสรรคไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยประชาชนไมนอยกวารอยละ 75 มีความรอบรู เขาถึง สามารถพัฒนาและใชประโยชนจากสารสนเทศไดอยางรูเทาทัน และเพิ่ม การจางงานบุคลากร ICT (ICT Professional) เปนไมต่ํากวารอยละ 3 ของการจางงานทั้งหมด 3. เพิ่มบทบาทและความสําคัญของอุตสาหกรรม ICT (โดยเฉพาะในกลุมอุตสาหกรรมสรางสรรค) ตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยใหมีสัดสวนมูลคาเพิ่มของอุตสาหกรรม ICT (รวม อุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต) ตอ GDP ไมนอยกวารอยละ 18 4. ยกระดับความพรอมดาน ICT โดยรวมของประเทศไทย โดยใหประเทศไทยอยูในกลุมประเทศที่ มีการพัฒนาสูงที่สุดรอยละ 25 (Top quartile) ของ Networked Readiness Index