SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 14
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
(ร่าง) กรอบแนวคิดการออกแบบพัฒนาห้องสมุด
สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
กรอบแนวคิด.........................................................................................................................................................3
วิสัยทัศน์ (ร่าง)................................................................................................................................................4
พันธกิจ (ร่าง)..................................................................................................................................................4
หน้าที่ของห้องสมุด (ร่าง)...............................................................................................................................5
โครงสร้างการบริหารจัดการ (ร่าง)..................................................................................................................6
งาน............................................................................................................................................................6
งาน............................................................................................................................................................6
งาน............................................................................................................................................................6
ทรัพยากรที่ต้องจัดหา............................................................................................................................................7
วัสดุตีพิมพ์......................................................................................................................................................7
วัสดุไม่ตีพิมพ์..................................................................................................................................................8
การดาเนินการเกี่ยวกับทรัพยากรขององค์กร...................................................................................................9
แนวปฏิบัติด้านการผลิต............................................................................................................................9
แนวปฏิบัติด้านการจัดเก็บ.......................................................................................................................10
แนวปฏิบัติด้านการลงรายการ.................................................................................................................10
แนวปฏิบัติด้านการให้บริการ..................................................................................................................11
การดาเนินการจัดซื้อทรัพยากรจากท้องตลาด ...............................................................................................11
ระบบบริหารจัดการห้องสมุด..............................................................................................................................12
2
ILS: Integrated Library System และ Digital Library...................................................................................12
Library Website............................................................................................................................................13
Online Database............................................................................................................................................13
ความร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่าย....................................................................................................................14
3
กรอบแนวคิด
การจัดทาห้องสมุดในยุคปัจจุบัน จาเป็นต้องกาหนดกรอบแนวคิดให้เหมาะสมทั้งต่อบริบทการ
ให้บริการตามความต้องการของหน่วยงาน รวมถึงบริบทอื่นๆ ดังนี้
บริบทแรก คือ Modern Library เป็นแนวคิดการจัดห้องสมุดให้ทันสมัยอยู่เสมอสอดคล้องกับยุคสมัยที่
เปลี่ยนแปลงไป เพื่อดึงดูดความสนใจให้ผู้ใช้เข้ามาใช้บริการของห้องสมุดมากขึ้น อย่างเช่น ลักษณะการจัด
ห้องสมุดซึ่งนับเป็นสิ่งแรกที่ผู้ใช้มองเห็น จึงถือว่าเป็นสิ่งที่ดึงดูดให้ผู้ใช้มาใช้บริการห้องสมุด นอกจากนี้ยังถือ
ว่าเป็นความประทับใจแรกที่ผู้ใช้พบเห็นอีกด้วย จึงควรให้ความสนใจกับภาพลักษณ์ภายนอกนี้เป็นพิเศษ ทั้งนี้
ยังรวมถึงการจัดภูมิทัศน์ภายในห้องสมุดที่ให้ความรู้สึกปลอดโปร่ง บรรยากาศดี มีการจัดแสง เฟอร์นิเจอร์ที่
เหมาะสมภายใต้การใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ และเน้นความสะดวกของการให้ใช้งาน
Smart Library เป็นอีกแนวคิดที่มุ่งเน้นความสะดวกสบายของผู้ใช้งาน มีการให้บริการเบ็ดเสร็จแบบจุด
เดียวทั้งการให้บริการสืบค้น การยืมคืน การให้บริการตอบคาถาม ทั้งในรูปแบบปกติและการบริการผ่านสื่อ
ออนไลน์ อย่างเช่นเว็บไซต์ มีการนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ และการสื่อสารมาบูรณาการกับการ
ให้บริการต่างๆ เพื่อเสริมจุดแข็ง ทาให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทุกจุดในห้องสมุดผ่านเทคโนโลยีที่
เหมาะสม เช่น RFID
4
Digital Library มีการแปลงผัน (Digitized) ทรัพยากรต่างๆ ให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล สามารถเข้าถึงได้
ผ่านคอมพิวเตอร์ทุกรูปแบบ รวมทั้ง Smart Phone และ Tablet PC ทั้งนี้การแปลงผันอาจจะเป็นการดาเนินการ
เองจากทรัพยากรที่หน่วยงานเป็นเจ้าของ หรือการว่าจ้าง หรือการจัดซื้อจัดหาทรัพยากรจากผู้ให้บริการด้าน
ข้อมูลก็ได้
Living Library การจัดพื้นที่และสภาพแวดล้อมของห้องสมุด เพื่ออานวยความสะดวกให้ผู้ใช้บริการ
เข้าถึงทรัพยากรในรูปแบบที่หลากหลาย อาทิ ห้องสัมมนากลุ่ม ห้องอ่านหนังสือ ห้องแนะนาการเรียนการสอน
วิชาห้องสมุด ห้องพักผ่อน และบริการสาหรับผู้ที่มีความบกพร่องประเภทต่างๆ
จากกรอบแนวคิดข้างต้น การจัดทาห้องสมุดสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การ
มหาชน) จึงควรพิจารณาถึงความเป็นไปได้ในทุกบริบทให้ผสมผสานสอดคล้องกัน โดยเริ่มจากการกาหนด
วิสัยทัศน์ของห้องสมุดฯ ตลอดทั้งพันธกิจเพื่อเป็นแนวทางการจัดทาห้องสมุดต่อไป
วิสัยทัศน์ (ร่าง)
แหล่งรวมความรู้ด้านกฎหมายและข้อมูลต่างๆ เพื่อพัฒนาส่งเสริม และสนับสนุนการทาธุรกรรมหรือ
การให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ
พันธกิจ (ร่าง)
 ศูนย์กลางข้อมูลระบบธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัย ครบถ้วนสมบูรณ์ของประเทศโดยผ่าน
กระบวนการรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้องตามมาตรฐานสากล
 ห้องสมุดที่พร้อมให้บริการด้วยทรัพยากรสารสนเทศที่ทันสมัยผ่านอุปกรณ์และเทคโนโลยีที่
เหมาะสม ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เป็นมิตร
 ผู้นาการสร้างพันธมิตรและเครือข่ายการจัดการองค์ความรู้ด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อก้าว
สู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
5
หน้าที่ของห้องสมุด (ร่าง)
1. จัดทาและดาเนินการแผนงานบริการสารสนเทศด้านระบบธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้สอดคล้อง
กับนโยบายของ สพธอ.
2. รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับระบบธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐานสากล
3. รวบรวมเอกสาร ผลงานต่างๆ ของ สพธอ. (ETDA Repository)
4. บริหารจัดการงานจดหมายเหตุของ สพธอ.
5. จัดหาและทาทะเบียนทรัพยากรสารสนเทศสาหรับฐานข้อมูลและห้องสมุด เพื่อให้บริการแก่บุคคล
ผู้สนใจจากทั้งภายในและภายนอก
6. บริการฐานข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องรวมถึงบริการห้องสมุดเพื่อสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา
7. สร้างพันธมิตรและเครือข่ายการจัดการองค์ความรู้ด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อก้าวสู่สังคม
แห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
6
โครงสร้างการบริหารจัดการ (ร่าง)
งาน....
1. หน้าที่
2. หน้าที่
งาน....
1. หน้าที่
2. หน้าที่
งาน....
1. หน้าที่
2. หน้าที่
7
ทรัพยากรที่ต้องจัดหา
การดาเนินการห้องสมุด จาเป็นต้องจัดหาทรัพยากรเพื่อการบริการที่เหมาะสม ทั้งนี้แบ่งกลุ่มทรัพยากร
ที่ต้องจัดหา ไว้ดังนี้
วัสดุตีพิมพ์
 หนังสือที่เกี่ยวกับกฎหมายทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
 หนังสือที่เกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
 หนังสือทั่วไปทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
 หนังสืออ้างอิงทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
 วารสาร จุลสาร หนังสือพิมพ์ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
o Business Law and Human Resources
o Customs Magazine
o Tax & Business Law Magazine
o คาพิพากษาฎีกา
o คาพิพากษาศาลฎีกา
o จุลนิติ
o ดุลพาห
o เทศาภิบาล
o เนชั่นสุดสัปดาห์
o บทบัณฑิตย์
o ราชกิจจานุเบกษา
o วารสารกฎหมายใหม่
o วารสารนิติศาสตร์
o วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน
o วารสารวิชาการศาลปกครอง
o วารสารศาลยุติธรรมปริทัศน์
o วารสารศาลรัฐธรรมนูญ
o วารสารสภาทนายความคิด
8
o วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช
o วารสารอนุญาโตตุลาการ
o สยามรัฐสัปดาห์วิจารย์
o สรรพากรสาส์น
o หลากกฎหมายหลายธุรกิจ
o อนุสาร อ.ส.ท.
o เอกสารภาษีอากร
o บ้านและสวน
o บันทึกคุณแม่
o Food of Life
วัสดุไม่ตีพิมพ์
 แผนที่/ลูกโลก
 หุ่นจาลอง ของตัวอย่าง
 เกม วัสดุเสริมทักษะ
 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 วารสารอิเล็กทรอนิกส์
 บทเรียนคอมพิวเตอร์
 CD DVD
 iPad Apps
 Androids Apps
ทั้งนี้การดาเนินการจัดหาทรัพยากรเพื่อให้บริการ แบ่งได้ 2 รูปแบบ ดังนี้
 การดาเนินการเกี่ยวกับทรัพยากรขององค์กร
 การดาเนินการจัดซื้อทรัพยากรจากท้องตลาด
9
การดาเนินการเกี่ยวกับทรัพยากรขององค์กร
สืบเนื่องจาก สพธอ. มีการผลิตเอกสาร คู่มือ บทความอย่างสม่าเสมอ ดังนั้นเอกสารทั้งหมดที่ผลิตจึง
ควรเป็นทรัพยากรของห้องสมุดโดยปริยาย โดยกาหนดแนวปฏิบัติการผลิต การจัดเก็บ การลงรายการ และการ
ให้บริการอย่างเหมาะสม ดังนี้
แนวปฏิบัติด้านการผลิต
1. กาหนดแม่แบบเอกสารทั้งเอกสารงานพิมพ์สื่อนาเสนอ แผ่นพับ โปสเตอร์ให้ชัดเจน โดย
ครอบคลุมทั้งแบบอักษร (ฟอนต์) ตราสัญลักษณ์ที่เป็นดิจิทัลไฟล์ (Digital Logo) สีประจา
หน่วยงานและหรือชุดสีที่หน่วยงานกาหนดให้ใช้ (Digital Color) โดยคานึงถึงประเด็น
ทรัพย์สินทางปัญญา และกาหนดให้บุคลากรใช้แม่แบบเอกสารที่กาหนดในการสร้างสรรค์
เอกสาร
2. การจัดเก็บต้นฉบับเอกสารที่มีความสาคัญต่อองค์กร จะต้องดาเนินการจัดเก็บแบบอักษรที่
เกี่ยวข้องโดยเทคนิคการฝังฟอนต์ (Font Embedded) รวมไปกับแฟ้มเอกสาร และหรือด้วย
กระบวนการอื่นๆ ที่เหมาะสมตามลักษณะของการสร้างสรรค์
10
3. มีการกาหนดเมทาดาทากากับโดยผู้สร้างสรรค์ ภายใต้แนวปฏิบัติที่หน่วยงานกาหนด
4. จัดส่งเอกสารที่สร้างสรรค์และพร้อมเผยแพร่ในรูปแบบที่เหมาะสม เช่นเอกสารตัวเล่ม หรือ
PDF แบบฝังฟอนต์หรือ ePub ให้กับห้องสมุดเพื่อเข้าสู่กระบวนการการจัดเก็บ การลงรายการ
และการให้บริการต่อไป
5. กรณีที่เป็นการว่าจ้างหน่วยงานภายนอกดาเนินการจัดทา ควรกาหนดรายละเอียดการว่าจ้างให้
ชัดเจน เช่น ความรับผิดชอบประเด็นทรัพย์สินทางปัญญา การส่งมอบผลงานที่ต้องมี
ครอบคลุมทั้งเอกสารสิ่งพิมพ์แฟ้มดิจิทัลเอกสารฉบับที่เหมือนตัวเล่ม แฟ้มเอกสารดิจิทัล
พร้อมเผยแพร่ในรูปแบบ PDF แบบฝังฟอนต์ที่มีความละเอียดสูง และฟอร์แมต ePub
แนวปฏิบัติด้านการจัดเก็บ
1. เอกสารที่สร้างสรรค์ ควรจัดเก็บทั้งตัวเล่ม แฟ้มเอกสารดิจิทัลต้นฉบับ และแฟ้มเอกสารดิจิทัล
พร้อมเผยแพร่แบบความละเอียดสูง โดยจัดเก็บด้วยผู้สร้างสรรค์เป็นหลัก ทั้งนี้เอกสารใด
ประเมินว่าสามารถให้บริการต่อผู้ใช้ให้จัดส่งแฟ้มเอกสารดิจิทัลพร้อมเผยแพร่ให้กับห้องสมุด
เพื่อดาเนินการจัดเก็บและลงรายการต่อไป
2. ห้องสมุดควรจัดทาคลังเอกสถาบัน (Institutional Repository: IR) เพื่อจัดเก็บเอกสารที่
สร้างสรรค์โดยบุคลากร สพธอ. และเป็นช่องทางเพื่อการให้บริการต่อผู้ใช้ รวมทั้งเป็นช่องทาง
เชื่อมระบบกับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. สพธอ. ควรกาหนดแนวปฏิบัติด้านลิขสิทธิ์ของผลงานให้ชัดเจน ทรัพยากรประเภทใดเป็น
Copyright ทรัพยากรประเภทใดเป็น CreativeCommons และเป็น CreativeCommons ลักษณะ
ใด
แนวปฏิบัติด้านการลงรายการ
1. เอกสารที่สร้างสรรค์โดยบุคลากร สพธอ. ที่จัดส่งให้ห้องสมุด ควรกาหนดแนวปฏิบัติการลง
รายการให้เหมาะสมกับประเภทของทรัพยากร เช่น ทรัพยากรที่เป็นหนังสือ ให้ดาเนินการลง
รายการทั้งระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ด้วยชุดเมทาดาทา MARC พร้อมกับลงรายการในระบบ IR
ด้วยชุดเมทาดาทา Dublin Core
2. การลงรายการ ควรกาหนดเกณฑ์วิธีการลงรายการที่เหมาะสม และมุ่งเน้นการให้บริการโดย
ผู้ใช้เป็นหลัก ควบคู่กับหลักการวิชาการด้านบรรณารักษศาสตร์
11
แนวปฏิบัติด้านการให้บริการ
1. การให้บริการควรยึดแนวปฏิบัติด้านลิขสิทธิ์ของทรัพยากรรายชิ้น
2. มีการกาหนดระบบการเข้าถึงอย่างเหมาะสม
การดาเนินการจัดซื้อทรัพยากรจากท้องตลาด
สาหรับทรัพยากรจากท้องตลาด ควรดาเนินการสารวจความต้องการการใช้งานทรัพยากรของบุคลากร
ภายใน สพธอ. ควบคู่ไปกับการประเมินความต้องการของผู้ใช้ภายนอก และกาหนดเกณฑ์การจัดซื้อให้
เหมาะสม จากนั้นจัดทาบัญชีผู้จัดจาหน่ายพร้อมเปรียบเทียบราคา แล้วจึงดาเนินการจัดซื้อต่อไป ทั้งนี้บริษัทที่
พิจารณาควรมีการให้บริการหนังสือในรูปแบบดิจิทัลพร้อมๆ กับการจาหน่ายตัวเล่ม
ทรัพยากรด้านไอที
นอกจากทรัพยากรที่เป็นหนังสือ ควรพิจารณาถึงอุปกรณ์ไอทีอื่นๆ ที่จาเป็นต่อการให้บริการ เช่น
Tablet PC รุ่นต่างๆ พร้อมทั้งแท่นวาง และตัวล็อคยึดกับที่ เพื่อการให้บริการด้วยอุปกรณ์ไอซีทีสมบูรณ์แบบ
12
ระบบบริหารจัดการห้องสมุด
ระบบบริหารจัดการห้องสมุดที่เหมาะสม ควรแบ่งประเภทตามลักษณะการให้บริการ โดยสามารถ
กาหนดได้ดังนี้
 ILS: Integrated Library System หรือระบบห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ
 Digital Library หรือ Institutional Repository ระบบห้องสมุดดิจิทัล หรือคลังเอกสารดิจิทัลของ
หน่วยงาน
 Online Database ระบบฐานข้อมูลออนไลน์ทั้งที่จัดซื้อ และพัฒนาเอง
 Library Website หน้าเว็บไซต์ห้องสมุด สพธอ.
ILS: Integrated Library System และ Digital Library
ILS: Integrated Library System หรือระบบห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ เป็นระบบหลักที่ห้องสมุด
จะต้องมี โดยจะมุ่งการบริหารจัดการทรัพยากรทั้งที่เป็นสิ่งพิมพ์ตัวเล่มอันได้แก่ การลงรายการ การบริหาร
จัดการสมาชิก และการยืมคืน ในขณะที่ Digital Library จะเป็นระบบที่มุ่งเน้นบริหารจัดการทรัพยากรรูปแบบ
ดิจิทัล อย่างไรก็ดีในปัจจุบันสามารถพัฒนาให้มีความสามารถผสมผสานทั้ง ILS และ Digital Library ร่วม
ด้วยกันในระบบเดียว อันจะช่วยให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างสะดวก และสอดคล้องกับความต้องการของ
ผู้ใช้ ระบบห้องสมุดที่แนะนา คือ DIMDATA Semesta http://www.dimdata.com/th/semesta
13
Library Website
ด้วยเหตุผลที่ว่าระบบ ILS ที่ตรงใจผู้ใช้ยังไม่มีในท้องตลาด สพธอ. จึงควรดาเนินการ 2 ลักษณะคือ การ
จัดซื้อระบบ ILS ที่ตรงกับความต้องการของ สพธอ. และดาเนินการว่าจ้างบริษัทมาจัดทาหน้าสืบค้นแสดงผล
ครอบระบบ ILS อีกชั้นหนึ่ง โดยหน้าสืบค้นดังกล่าวเป็นฟังก์ชันหนึ่งของระบบเว็บไซต์ของ สพธอ. นั่นเอง
Online Database
ฐานข้อมูลออนไลน์ นับเป็นอีกทรัพยากรที่ห้องสมุดควรจัดหา โดยพิจารณาจากความต้องการใช้งาน
เป็นหลักเพราะราคาฐานข้อมูลออนไลน์จะมีราคาสูงมาก
 Westlaw International เป็นฐานข้อมูลออนไลน์ที่ให้บริการสารสนเทศทางกฎหมาย ข่าว ข้อมูลทาง
ธุรกิจ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ครอบคลุมเนื้อหาจากประเทศต่างๆ ทั่วโลก และจากสานักพิมพ์ชั้นนา
ทางด้านกฎหมาย เช่น
o Sweet & Maxwell
o ELLIS Publication
o Thomson West
o Lawbook Co and Carswell
 Lexis – Nexis ฐานข้อมูลที่ให้เอกสารฉบับเต็ม (Full text) ประกอบด้วยข้อมูลที่ตีพิมพ์ในวารสาร
กฎหมาย ตัวบทกฎหมายต่างๆ คาพิพากษาของศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา ของประเทศต่างๆ
ด้านกฎหมายและสาขาที่เกี่ยวข้อง ให้ข้อมูลย้อนหลังโดยเฉลี่ยตั้งแต่ปี 1980 ครอบคลุมเนื้อหาทั้งใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศในแถบยุโรป ได้แก่ ฝรั่งเศส เป็นต้น ประเทศในเครือจักรภพ
อังกฤษ ได้แก่ มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน เป็นต้น
 ProQuest Dissertations & Theses ฐานข้อมูลที่รวบรวมวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท และปริญญา
เอก ของสถาบันการศึกษาที่ได้รับการรับรองจากประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา รวมถึงบาง
สถาบันการศึกษาจากทวีปยุโรป ออสเตรเลีย เอเชีย และแอฟริกา มากกว่า 1,000 แห่ง ประกอบไป
ด้วยข้อมูลมากกว่า 2 ล้านระเบียน
14
ความร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่าย
ห้องสมุด สพธอ. ควรดาเนินการจัดทาความร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่ายเพื่อการให้บริการที่เป็นเลิศ
เช่น ห้องสมุดสถาบันการศึกษา ห้องสมุดเฉพาะด้าน รวมทั้งการเข้าร่วมเป็นสมาชิกชมรมห้องสมุดเฉพาะ
สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie 201403 etda-library

ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSkunkrooyim
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timssNaughtily NaRee
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.rubtumproject.com
 
ใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานKrooIndy Csaru
 
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์Nirut Uthatip
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษแบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษสมใจ จันสุกสี
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2Surapong Jakang
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยNang Ka Nangnarak
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการKittiphat Chitsawang
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาtassanee chaicharoen
 
Sar ครู..
Sar ครู..Sar ครู..
Sar ครู..krunoony
 
แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่มแบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่มKhemjira_P
 
แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่มแบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่มKhemjira_P
 
คำนำ สารบัญ 2003
คำนำ สารบัญ 2003คำนำ สารบัญ 2003
คำนำ สารบัญ 2003charinruarn
 

Ähnlich wie 201403 etda-library (20)

ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.
 
ใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงานใบงานโครงงาน
ใบงานโครงงาน
 
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษแบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
 
Powerpoint2007
Powerpoint2007Powerpoint2007
Powerpoint2007
 
Microsoft Office PowerPoint 2007
Microsoft Office PowerPoint 2007Microsoft Office PowerPoint 2007
Microsoft Office PowerPoint 2007
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
 
Sar ครู..
Sar ครู..Sar ครู..
Sar ครู..
 
แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่มแบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
 
แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่มแบบประเมินการทำงานกลุ่ม
แบบประเมินการทำงานกลุ่ม
 
Microsoft Office Word 2007
Microsoft Office Word 2007Microsoft Office Word 2007
Microsoft Office Word 2007
 
633 1
633 1633 1
633 1
 
คำนำ สารบัญ 2003
คำนำ สารบัญ 2003คำนำ สารบัญ 2003
คำนำ สารบัญ 2003
 

Mehr von Boonlert Aroonpiboon

20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4Boonlert Aroonpiboon
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesBoonlert Aroonpiboon
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesBoonlert Aroonpiboon
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Boonlert Aroonpiboon
 
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandBoonlert Aroonpiboon
 

Mehr von Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
 

201403 etda-library

  • 1. 1 (ร่าง) กรอบแนวคิดการออกแบบพัฒนาห้องสมุด สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กรอบแนวคิด.........................................................................................................................................................3 วิสัยทัศน์ (ร่าง)................................................................................................................................................4 พันธกิจ (ร่าง)..................................................................................................................................................4 หน้าที่ของห้องสมุด (ร่าง)...............................................................................................................................5 โครงสร้างการบริหารจัดการ (ร่าง)..................................................................................................................6 งาน............................................................................................................................................................6 งาน............................................................................................................................................................6 งาน............................................................................................................................................................6 ทรัพยากรที่ต้องจัดหา............................................................................................................................................7 วัสดุตีพิมพ์......................................................................................................................................................7 วัสดุไม่ตีพิมพ์..................................................................................................................................................8 การดาเนินการเกี่ยวกับทรัพยากรขององค์กร...................................................................................................9 แนวปฏิบัติด้านการผลิต............................................................................................................................9 แนวปฏิบัติด้านการจัดเก็บ.......................................................................................................................10 แนวปฏิบัติด้านการลงรายการ.................................................................................................................10 แนวปฏิบัติด้านการให้บริการ..................................................................................................................11 การดาเนินการจัดซื้อทรัพยากรจากท้องตลาด ...............................................................................................11 ระบบบริหารจัดการห้องสมุด..............................................................................................................................12
  • 2. 2 ILS: Integrated Library System และ Digital Library...................................................................................12 Library Website............................................................................................................................................13 Online Database............................................................................................................................................13 ความร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่าย....................................................................................................................14
  • 3. 3 กรอบแนวคิด การจัดทาห้องสมุดในยุคปัจจุบัน จาเป็นต้องกาหนดกรอบแนวคิดให้เหมาะสมทั้งต่อบริบทการ ให้บริการตามความต้องการของหน่วยงาน รวมถึงบริบทอื่นๆ ดังนี้ บริบทแรก คือ Modern Library เป็นแนวคิดการจัดห้องสมุดให้ทันสมัยอยู่เสมอสอดคล้องกับยุคสมัยที่ เปลี่ยนแปลงไป เพื่อดึงดูดความสนใจให้ผู้ใช้เข้ามาใช้บริการของห้องสมุดมากขึ้น อย่างเช่น ลักษณะการจัด ห้องสมุดซึ่งนับเป็นสิ่งแรกที่ผู้ใช้มองเห็น จึงถือว่าเป็นสิ่งที่ดึงดูดให้ผู้ใช้มาใช้บริการห้องสมุด นอกจากนี้ยังถือ ว่าเป็นความประทับใจแรกที่ผู้ใช้พบเห็นอีกด้วย จึงควรให้ความสนใจกับภาพลักษณ์ภายนอกนี้เป็นพิเศษ ทั้งนี้ ยังรวมถึงการจัดภูมิทัศน์ภายในห้องสมุดที่ให้ความรู้สึกปลอดโปร่ง บรรยากาศดี มีการจัดแสง เฟอร์นิเจอร์ที่ เหมาะสมภายใต้การใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ และเน้นความสะดวกของการให้ใช้งาน Smart Library เป็นอีกแนวคิดที่มุ่งเน้นความสะดวกสบายของผู้ใช้งาน มีการให้บริการเบ็ดเสร็จแบบจุด เดียวทั้งการให้บริการสืบค้น การยืมคืน การให้บริการตอบคาถาม ทั้งในรูปแบบปกติและการบริการผ่านสื่อ ออนไลน์ อย่างเช่นเว็บไซต์ มีการนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ และการสื่อสารมาบูรณาการกับการ ให้บริการต่างๆ เพื่อเสริมจุดแข็ง ทาให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทุกจุดในห้องสมุดผ่านเทคโนโลยีที่ เหมาะสม เช่น RFID
  • 4. 4 Digital Library มีการแปลงผัน (Digitized) ทรัพยากรต่างๆ ให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล สามารถเข้าถึงได้ ผ่านคอมพิวเตอร์ทุกรูปแบบ รวมทั้ง Smart Phone และ Tablet PC ทั้งนี้การแปลงผันอาจจะเป็นการดาเนินการ เองจากทรัพยากรที่หน่วยงานเป็นเจ้าของ หรือการว่าจ้าง หรือการจัดซื้อจัดหาทรัพยากรจากผู้ให้บริการด้าน ข้อมูลก็ได้ Living Library การจัดพื้นที่และสภาพแวดล้อมของห้องสมุด เพื่ออานวยความสะดวกให้ผู้ใช้บริการ เข้าถึงทรัพยากรในรูปแบบที่หลากหลาย อาทิ ห้องสัมมนากลุ่ม ห้องอ่านหนังสือ ห้องแนะนาการเรียนการสอน วิชาห้องสมุด ห้องพักผ่อน และบริการสาหรับผู้ที่มีความบกพร่องประเภทต่างๆ จากกรอบแนวคิดข้างต้น การจัดทาห้องสมุดสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การ มหาชน) จึงควรพิจารณาถึงความเป็นไปได้ในทุกบริบทให้ผสมผสานสอดคล้องกัน โดยเริ่มจากการกาหนด วิสัยทัศน์ของห้องสมุดฯ ตลอดทั้งพันธกิจเพื่อเป็นแนวทางการจัดทาห้องสมุดต่อไป วิสัยทัศน์ (ร่าง) แหล่งรวมความรู้ด้านกฎหมายและข้อมูลต่างๆ เพื่อพัฒนาส่งเสริม และสนับสนุนการทาธุรกรรมหรือ การให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ พันธกิจ (ร่าง)  ศูนย์กลางข้อมูลระบบธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัย ครบถ้วนสมบูรณ์ของประเทศโดยผ่าน กระบวนการรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้องตามมาตรฐานสากล  ห้องสมุดที่พร้อมให้บริการด้วยทรัพยากรสารสนเทศที่ทันสมัยผ่านอุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ เหมาะสม ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เป็นมิตร  ผู้นาการสร้างพันธมิตรและเครือข่ายการจัดการองค์ความรู้ด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อก้าว สู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
  • 5. 5 หน้าที่ของห้องสมุด (ร่าง) 1. จัดทาและดาเนินการแผนงานบริการสารสนเทศด้านระบบธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้สอดคล้อง กับนโยบายของ สพธอ. 2. รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับระบบธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐานสากล 3. รวบรวมเอกสาร ผลงานต่างๆ ของ สพธอ. (ETDA Repository) 4. บริหารจัดการงานจดหมายเหตุของ สพธอ. 5. จัดหาและทาทะเบียนทรัพยากรสารสนเทศสาหรับฐานข้อมูลและห้องสมุด เพื่อให้บริการแก่บุคคล ผู้สนใจจากทั้งภายในและภายนอก 6. บริการฐานข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องรวมถึงบริการห้องสมุดเพื่อสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา 7. สร้างพันธมิตรและเครือข่ายการจัดการองค์ความรู้ด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อก้าวสู่สังคม แห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
  • 6. 6 โครงสร้างการบริหารจัดการ (ร่าง) งาน.... 1. หน้าที่ 2. หน้าที่ งาน.... 1. หน้าที่ 2. หน้าที่ งาน.... 1. หน้าที่ 2. หน้าที่
  • 7. 7 ทรัพยากรที่ต้องจัดหา การดาเนินการห้องสมุด จาเป็นต้องจัดหาทรัพยากรเพื่อการบริการที่เหมาะสม ทั้งนี้แบ่งกลุ่มทรัพยากร ที่ต้องจัดหา ไว้ดังนี้ วัสดุตีพิมพ์  หนังสือที่เกี่ยวกับกฎหมายทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ  หนังสือที่เกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ  หนังสือทั่วไปทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ  หนังสืออ้างอิงทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ  วารสาร จุลสาร หนังสือพิมพ์ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ o Business Law and Human Resources o Customs Magazine o Tax & Business Law Magazine o คาพิพากษาฎีกา o คาพิพากษาศาลฎีกา o จุลนิติ o ดุลพาห o เทศาภิบาล o เนชั่นสุดสัปดาห์ o บทบัณฑิตย์ o ราชกิจจานุเบกษา o วารสารกฎหมายใหม่ o วารสารนิติศาสตร์ o วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน o วารสารวิชาการศาลปกครอง o วารสารศาลยุติธรรมปริทัศน์ o วารสารศาลรัฐธรรมนูญ o วารสารสภาทนายความคิด
  • 8. 8 o วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช o วารสารอนุญาโตตุลาการ o สยามรัฐสัปดาห์วิจารย์ o สรรพากรสาส์น o หลากกฎหมายหลายธุรกิจ o อนุสาร อ.ส.ท. o เอกสารภาษีอากร o บ้านและสวน o บันทึกคุณแม่ o Food of Life วัสดุไม่ตีพิมพ์  แผนที่/ลูกโลก  หุ่นจาลอง ของตัวอย่าง  เกม วัสดุเสริมทักษะ  หนังสืออิเล็กทรอนิกส์  วารสารอิเล็กทรอนิกส์  บทเรียนคอมพิวเตอร์  CD DVD  iPad Apps  Androids Apps ทั้งนี้การดาเนินการจัดหาทรัพยากรเพื่อให้บริการ แบ่งได้ 2 รูปแบบ ดังนี้  การดาเนินการเกี่ยวกับทรัพยากรขององค์กร  การดาเนินการจัดซื้อทรัพยากรจากท้องตลาด
  • 9. 9 การดาเนินการเกี่ยวกับทรัพยากรขององค์กร สืบเนื่องจาก สพธอ. มีการผลิตเอกสาร คู่มือ บทความอย่างสม่าเสมอ ดังนั้นเอกสารทั้งหมดที่ผลิตจึง ควรเป็นทรัพยากรของห้องสมุดโดยปริยาย โดยกาหนดแนวปฏิบัติการผลิต การจัดเก็บ การลงรายการ และการ ให้บริการอย่างเหมาะสม ดังนี้ แนวปฏิบัติด้านการผลิต 1. กาหนดแม่แบบเอกสารทั้งเอกสารงานพิมพ์สื่อนาเสนอ แผ่นพับ โปสเตอร์ให้ชัดเจน โดย ครอบคลุมทั้งแบบอักษร (ฟอนต์) ตราสัญลักษณ์ที่เป็นดิจิทัลไฟล์ (Digital Logo) สีประจา หน่วยงานและหรือชุดสีที่หน่วยงานกาหนดให้ใช้ (Digital Color) โดยคานึงถึงประเด็น ทรัพย์สินทางปัญญา และกาหนดให้บุคลากรใช้แม่แบบเอกสารที่กาหนดในการสร้างสรรค์ เอกสาร 2. การจัดเก็บต้นฉบับเอกสารที่มีความสาคัญต่อองค์กร จะต้องดาเนินการจัดเก็บแบบอักษรที่ เกี่ยวข้องโดยเทคนิคการฝังฟอนต์ (Font Embedded) รวมไปกับแฟ้มเอกสาร และหรือด้วย กระบวนการอื่นๆ ที่เหมาะสมตามลักษณะของการสร้างสรรค์
  • 10. 10 3. มีการกาหนดเมทาดาทากากับโดยผู้สร้างสรรค์ ภายใต้แนวปฏิบัติที่หน่วยงานกาหนด 4. จัดส่งเอกสารที่สร้างสรรค์และพร้อมเผยแพร่ในรูปแบบที่เหมาะสม เช่นเอกสารตัวเล่ม หรือ PDF แบบฝังฟอนต์หรือ ePub ให้กับห้องสมุดเพื่อเข้าสู่กระบวนการการจัดเก็บ การลงรายการ และการให้บริการต่อไป 5. กรณีที่เป็นการว่าจ้างหน่วยงานภายนอกดาเนินการจัดทา ควรกาหนดรายละเอียดการว่าจ้างให้ ชัดเจน เช่น ความรับผิดชอบประเด็นทรัพย์สินทางปัญญา การส่งมอบผลงานที่ต้องมี ครอบคลุมทั้งเอกสารสิ่งพิมพ์แฟ้มดิจิทัลเอกสารฉบับที่เหมือนตัวเล่ม แฟ้มเอกสารดิจิทัล พร้อมเผยแพร่ในรูปแบบ PDF แบบฝังฟอนต์ที่มีความละเอียดสูง และฟอร์แมต ePub แนวปฏิบัติด้านการจัดเก็บ 1. เอกสารที่สร้างสรรค์ ควรจัดเก็บทั้งตัวเล่ม แฟ้มเอกสารดิจิทัลต้นฉบับ และแฟ้มเอกสารดิจิทัล พร้อมเผยแพร่แบบความละเอียดสูง โดยจัดเก็บด้วยผู้สร้างสรรค์เป็นหลัก ทั้งนี้เอกสารใด ประเมินว่าสามารถให้บริการต่อผู้ใช้ให้จัดส่งแฟ้มเอกสารดิจิทัลพร้อมเผยแพร่ให้กับห้องสมุด เพื่อดาเนินการจัดเก็บและลงรายการต่อไป 2. ห้องสมุดควรจัดทาคลังเอกสถาบัน (Institutional Repository: IR) เพื่อจัดเก็บเอกสารที่ สร้างสรรค์โดยบุคลากร สพธอ. และเป็นช่องทางเพื่อการให้บริการต่อผู้ใช้ รวมทั้งเป็นช่องทาง เชื่อมระบบกับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. สพธอ. ควรกาหนดแนวปฏิบัติด้านลิขสิทธิ์ของผลงานให้ชัดเจน ทรัพยากรประเภทใดเป็น Copyright ทรัพยากรประเภทใดเป็น CreativeCommons และเป็น CreativeCommons ลักษณะ ใด แนวปฏิบัติด้านการลงรายการ 1. เอกสารที่สร้างสรรค์โดยบุคลากร สพธอ. ที่จัดส่งให้ห้องสมุด ควรกาหนดแนวปฏิบัติการลง รายการให้เหมาะสมกับประเภทของทรัพยากร เช่น ทรัพยากรที่เป็นหนังสือ ให้ดาเนินการลง รายการทั้งระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ด้วยชุดเมทาดาทา MARC พร้อมกับลงรายการในระบบ IR ด้วยชุดเมทาดาทา Dublin Core 2. การลงรายการ ควรกาหนดเกณฑ์วิธีการลงรายการที่เหมาะสม และมุ่งเน้นการให้บริการโดย ผู้ใช้เป็นหลัก ควบคู่กับหลักการวิชาการด้านบรรณารักษศาสตร์
  • 11. 11 แนวปฏิบัติด้านการให้บริการ 1. การให้บริการควรยึดแนวปฏิบัติด้านลิขสิทธิ์ของทรัพยากรรายชิ้น 2. มีการกาหนดระบบการเข้าถึงอย่างเหมาะสม การดาเนินการจัดซื้อทรัพยากรจากท้องตลาด สาหรับทรัพยากรจากท้องตลาด ควรดาเนินการสารวจความต้องการการใช้งานทรัพยากรของบุคลากร ภายใน สพธอ. ควบคู่ไปกับการประเมินความต้องการของผู้ใช้ภายนอก และกาหนดเกณฑ์การจัดซื้อให้ เหมาะสม จากนั้นจัดทาบัญชีผู้จัดจาหน่ายพร้อมเปรียบเทียบราคา แล้วจึงดาเนินการจัดซื้อต่อไป ทั้งนี้บริษัทที่ พิจารณาควรมีการให้บริการหนังสือในรูปแบบดิจิทัลพร้อมๆ กับการจาหน่ายตัวเล่ม ทรัพยากรด้านไอที นอกจากทรัพยากรที่เป็นหนังสือ ควรพิจารณาถึงอุปกรณ์ไอทีอื่นๆ ที่จาเป็นต่อการให้บริการ เช่น Tablet PC รุ่นต่างๆ พร้อมทั้งแท่นวาง และตัวล็อคยึดกับที่ เพื่อการให้บริการด้วยอุปกรณ์ไอซีทีสมบูรณ์แบบ
  • 12. 12 ระบบบริหารจัดการห้องสมุด ระบบบริหารจัดการห้องสมุดที่เหมาะสม ควรแบ่งประเภทตามลักษณะการให้บริการ โดยสามารถ กาหนดได้ดังนี้  ILS: Integrated Library System หรือระบบห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ  Digital Library หรือ Institutional Repository ระบบห้องสมุดดิจิทัล หรือคลังเอกสารดิจิทัลของ หน่วยงาน  Online Database ระบบฐานข้อมูลออนไลน์ทั้งที่จัดซื้อ และพัฒนาเอง  Library Website หน้าเว็บไซต์ห้องสมุด สพธอ. ILS: Integrated Library System และ Digital Library ILS: Integrated Library System หรือระบบห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ เป็นระบบหลักที่ห้องสมุด จะต้องมี โดยจะมุ่งการบริหารจัดการทรัพยากรทั้งที่เป็นสิ่งพิมพ์ตัวเล่มอันได้แก่ การลงรายการ การบริหาร จัดการสมาชิก และการยืมคืน ในขณะที่ Digital Library จะเป็นระบบที่มุ่งเน้นบริหารจัดการทรัพยากรรูปแบบ ดิจิทัล อย่างไรก็ดีในปัจจุบันสามารถพัฒนาให้มีความสามารถผสมผสานทั้ง ILS และ Digital Library ร่วม ด้วยกันในระบบเดียว อันจะช่วยให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างสะดวก และสอดคล้องกับความต้องการของ ผู้ใช้ ระบบห้องสมุดที่แนะนา คือ DIMDATA Semesta http://www.dimdata.com/th/semesta
  • 13. 13 Library Website ด้วยเหตุผลที่ว่าระบบ ILS ที่ตรงใจผู้ใช้ยังไม่มีในท้องตลาด สพธอ. จึงควรดาเนินการ 2 ลักษณะคือ การ จัดซื้อระบบ ILS ที่ตรงกับความต้องการของ สพธอ. และดาเนินการว่าจ้างบริษัทมาจัดทาหน้าสืบค้นแสดงผล ครอบระบบ ILS อีกชั้นหนึ่ง โดยหน้าสืบค้นดังกล่าวเป็นฟังก์ชันหนึ่งของระบบเว็บไซต์ของ สพธอ. นั่นเอง Online Database ฐานข้อมูลออนไลน์ นับเป็นอีกทรัพยากรที่ห้องสมุดควรจัดหา โดยพิจารณาจากความต้องการใช้งาน เป็นหลักเพราะราคาฐานข้อมูลออนไลน์จะมีราคาสูงมาก  Westlaw International เป็นฐานข้อมูลออนไลน์ที่ให้บริการสารสนเทศทางกฎหมาย ข่าว ข้อมูลทาง ธุรกิจ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ครอบคลุมเนื้อหาจากประเทศต่างๆ ทั่วโลก และจากสานักพิมพ์ชั้นนา ทางด้านกฎหมาย เช่น o Sweet & Maxwell o ELLIS Publication o Thomson West o Lawbook Co and Carswell  Lexis – Nexis ฐานข้อมูลที่ให้เอกสารฉบับเต็ม (Full text) ประกอบด้วยข้อมูลที่ตีพิมพ์ในวารสาร กฎหมาย ตัวบทกฎหมายต่างๆ คาพิพากษาของศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา ของประเทศต่างๆ ด้านกฎหมายและสาขาที่เกี่ยวข้อง ให้ข้อมูลย้อนหลังโดยเฉลี่ยตั้งแต่ปี 1980 ครอบคลุมเนื้อหาทั้งใน ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศในแถบยุโรป ได้แก่ ฝรั่งเศส เป็นต้น ประเทศในเครือจักรภพ อังกฤษ ได้แก่ มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน เป็นต้น  ProQuest Dissertations & Theses ฐานข้อมูลที่รวบรวมวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท และปริญญา เอก ของสถาบันการศึกษาที่ได้รับการรับรองจากประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา รวมถึงบาง สถาบันการศึกษาจากทวีปยุโรป ออสเตรเลีย เอเชีย และแอฟริกา มากกว่า 1,000 แห่ง ประกอบไป ด้วยข้อมูลมากกว่า 2 ล้านระเบียน
  • 14. 14 ความร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่าย ห้องสมุด สพธอ. ควรดาเนินการจัดทาความร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่ายเพื่อการให้บริการที่เป็นเลิศ เช่น ห้องสมุดสถาบันการศึกษา ห้องสมุดเฉพาะด้าน รวมทั้งการเข้าร่วมเป็นสมาชิกชมรมห้องสมุดเฉพาะ สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ