SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 13
Downloaden Sie, um offline zu lesen
                                                 1	
  



                                    หลักธรรมของนักบริหาร

         หลักธรรม หรือคําสั่งสอนของพระพุทธเจานั้น ถึงแมวาจะมีมาตั้งแตสมัยพุทธกาล นับถึงป
จจุบันเปนเวลา 2540 กวาปแลว แตทุกหลักธรรมยังคงทันสมัยอยูเสมอ สามารถนําไปประยุกตใช
เปนเครื่องดําเนินชีวิตและแนวทางในการบริหารงานไดเปนอยางดี ที่เปนเชนนี้ ก็เพราะหลักธรรมดังกลาว
เปนความจริงที่ สามารถพิสูจนไดที่เรียกวา “สัจธรรม” ปฏิบัติไดเห็นผลไดอยางแทจริงอยูที่เราจะนํา
หลักธรรมขอใดมาใชใหเหมาะสมกับตัวเรามากที่สุด สําหรับนักบริหารก็มีหลักธรรมสําหรับยึดถือ
และปฏิบัติอยางมากมาย ซึ่งไดนําเสนอไวบาง เรื่องที่สําคัญดังตอไปนี้




พรหมวิหาร 4

       เปนหลักธรรมของผูใหญ(ผูบังคับบัญชา) ที่ควรถือปฏิบัติเปนนิตย มี 4 ประการ คือ

       1.   เมตตา      ความรักใคร ปราถนาจะใหผูอื่นมีความสุข
       2.   กรุณา     ความสงสาร คิดชวยเหลือผูอื่นใหพนทุกข
       3.   มุทิตา    ความพลอยยินดีเมื่อผูอื่นไดดีมีสุข
       4.   อุเบกขา   วางตนเปนกลาง ไมดีใจ ไมเสียใจ เมื่อผูอื่นถึงวิบัติ มีทุกข
                                             2	
  




อคติ 4

       อคติ หมายความวา การกระทําอันทําใหเสียความเที่ยงธรรม มี 4 ประการ
       1. ฉันทาคติ ลําเอียงเพราะรักใคร
       2. โทสาคติ ลําเอียงเพราะโกรธ
       3. โมหาคติ ลําเอียงเพราะเขลา
       4. ภยาคติ ลําเอียงเพราะกลัว

       อคติ 4 นี้ ผูบริหาร/ผูใหญ ไมควรประพฤติเพราะเปนทางแหงความเสื่อม
                                              3	
  


สังคหวัตถุ 4

      เปนหลักธรรมอันเปนเครื่องยึดเหนี่ยวน้ําใจของกันและกันเห็นเหตุใหตนเอง และหมูคณะกาวไ
ปสูความเจริญรุงเรือง

          1.ทาน           ใหปนสิ่งของแกคนที่ควรให
          2.ปยวาจา       เจรจาดวยถอยคําไพเราะออนหวาน
          3.อัตถจริยา     ประพฤติในสิงที่เปนประโยชน
                                       ่
          4.สมานนัตตตา    วางตนใหเหมาะสมกับฐานะของตน




       อิทธิบาท 4

          เปนหลักธรรมถือใหเกิดความสําเร็จ
            1.ฉันทะ ความพึงพอใจในงาน
           2.วิริยะ ความขยันมั่นเพียร
           3.จิตตะ ความมีใจฝกใฝเอาใจใสในงาน
           4.วิมังสา ไตรตรองหาเหตุผล
                                           4	
  


ทศพิธราชธรรม 10 ประการ

    เปนหลักธรรมสําหรับพระมหากษัตริยจะพึงถือปฏิบัติมาแตโบราณกาลแดนักบริหาร เชน
สรรพสามิตจังหวัด สรรพสามิตอําเภอ ก็นาจะนําไปอนุโลมถือปฏิบัติได

        หลักทศพิธราชธรรม 10 ประการ มีอยูดังนี้

        1. ทาน คือ การใหปน ซึ่งอาจเปนการใหเพื่อบูชาคุณหรือใหเพื่อเปนการอนุเคราะห
         2. ศีล ไดแกการสํารวม กาย วาจา ใจ ใหเรียบรอยสะอาดดีงาม
         3. บริจาค ไดแก การใหทรัพยสิ่งของเพื่อเปนการชวยเหลือหรือความทุกขยากเดือดรอน
                    ของผูอื่นหรือเปนการเสียสละเพื่อหวังใหผูรับไดรับความสุข
         4. อาชวะ ไดแก ความมีอัธยาศัยซื่อตรงมั่นในความสุจริตธรรม
         5. มัทวะ ไดแก ความมีอัธยาศัยดีงาม ละมุนละไม ออนโยน สุภาพ
         6. ตบะ ไดแก การบําเพ็ญเพียรเพื่อขจัดหรือทําลายอกุศลกรรมใหสิ้นสูญ
         7. อโกรธะ ไดแก ความสามารถระงับหรือขจัดเสียไดซึ่งความโกรธ
         8. อวิหิงสา ไดแก การไมเบียดเบียนคนอื่น
         9. ขันติ ไดแก ความอดกลั้นไมปลอยกาย วาจา ใจ ตามอารมณหรือกิเลสที่เกิดมีขึ้นนั้น
       10. อวิโรธนะไดแก การธํารงครักษาไวซึ่งความยุติธรรม
                                            5	
  


บารมี 6

      เปนหลักธรรมอันสําคัญที่จะนิยมมาซึ่งความรักใครนับถือ นับวาเปนหลักธรรมที่เหมาะมาก
สําหรับนักบริหารจะพึงยึดถือปฎิบัติ มีอยู 6 ประการคือทาน

       1. ทาน     การใหเปนสิ่งที่ควรให
       2. ศีล     การประพฤติในทางที่ชอบ
        3. ขันติ ความอดทนอดกลั้น
        4. วิริยะ ความขยันหมั่นเพียร
        5. ฌาน การเพงพิจารณาใหเห็นของจริง
        6. ปรัชญา ความมีปญญารอบรู




ขันติโสรัจจะ

       เปนหลักธรรมอันทําใหบุคคลเปนผูงาม (ธรรมทําใหงาม)

        1. ขันติ คือ ความอดทน มีลักษณะ 3 ประการ
                     1.1 อดใจทนไดตอกําลังแหงความโกรธแคนไมแสดงอาการ กาย วาจา ที่ไมนารัก
                         ออกมาใหเปนที่ปรากฏแกผูอื่น
                    1.2 อดใจทนไดตอความลําบากตรากตรําหรือความเหน็ดเหนื่อย
        2. โสรัจจะ ความสงบเสงี่ยม ทําจิตใจใหแชมชื่นไมขุนหมอง
                                             6	
  


ธรรมโลกบาล

       เปนหลักธรรมที่ชวยคุมครองโลก หรือมวลมนุษยใหอยูความรมเย็นเปนสุข มี 2 ประการคือ

       1. หิริ    ความละอายในตนเอง
       2. โอตัปปะ ความเกรงกลัวตอทุกข และความเสื่อมแลวไมกระทําความชั่ว

อธิฐานธรรม 4

        เปนหลักธรรมที่ควรตั้งไวในจิตใจเปนนิตย เพื่อเปนเครื่องนิยมนําจิตใจใหเกิดความรอบรูความจริง
รูจักเสียสละ และบังเกิดความสงบ มี 4 ประการ

     1. ปญญา ความรูในสิ่งที่ควรรู รูในวิชา
      2. สัจจะ     ความจริง คือประพฤติสิ่งใดก็ใหไดจริงไมทําอะไรจับจด
     3. จาคะ       สละสิ่งที่เปนขาศึกแหงความจริงใจ คือ สละความเกียจคราน หรือความหวาดกลัว
ตอความยุงยาก ลําบาก
     4. อุปสมะ สงบใจจากสิ่งที่เปนขาศึกตอความสงบ คือ ยับยั้งใจมิใหปนปวนตอความพอใจ
รักใคร และความขัดเคืองเปนตน
                                             7	
  


คหบดีธรรม 4

       เปนหลักธรรมของผูครองเรือนพึงยึดถือปฏิบัติ มี 4 ประการ คือ
       1. ความหมั่น
       2. ความโอบออมอารี
       3. ความไมตื่นเตนมัวเมาในสมบัติ
       4. ความไมเศราโศกเสียใจเมื่อเกิดภัยวิบัติ




ราชสังคหวัตถุ 4

     เปนหลักธรรมอันเปนเครื่องชวยในการวางนโยบายบริหารบานเมืองใหดําเนินไปดวยดี
มี 4 ประการ คือ

     1. ลัสเมธัง     ความเปนผูฉลาดปรีชาในการพิจารณาถึงผลิตผลอันเกิดขึ้นในแผนดิน แลว
พิจารณาผอนผันจัดเก็บเอาแตบางสวนแหงสิ่งนั้น
                                           8	
  


    2. ปุริสเมธัง ความเปนผูฉลาดในการดูคนสามารถเลือกแตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงใน
ความถูกตองและเหมาะสม
    3. สัมมาปาลัง การบริหารงานใหตองใจประชาชน
    4. วาจาเปยยัง ความเปนบุคคลมีวาจาไพเราะรูจักผอนสั้นผอนยาวตามเหตุการณ
ตามฐานะและตามความเปนธรรม

สติสัมปชัญญะ

       เปนหลักธรรมอันอํานวยประโยชนแกผูประพฤติเปนอันมาก
       1.สติ         คือ ความระลึกไดกอนทํา กอนบูชา กอนคัด คนมีสติจะไมเลินเลอ เผลอตน
       2.สัมปชัญญะ คือ ความรูตัวในเวลากําลังทํา กําลังพูด กําลังคิด

อกุศลมูล 3

        อกุศลมูล คือ รากเหงาของความชั่ว มี 3 ประการคือ
       1. โลภะ ความอยากได
       2. โทสะ ความคิดประทุษรายเขา
       3. โมหะ ความหลงไมรูจริง




นิวรณ 5

       นิวรณ แปลวา ธรรมอันกลั้นจิตใจไมใหบรรลุความดี มี 5 ประการ
       1. กามฉันท พอใจรักใครในอารมณ มีพอใจในรูป เปนตน
                                               9	
  


       2. พยาบาท ปองรายผูอื่น
       3. ถีนมิทธะ ความที่จิตใจหดหูและเคลิบเคลิ้ม
       4. อุธัจจะกุกกุจจะ ความฟุงซานและรําคาญ
       5. วิจิกิจฉา ความลังเลไมตกลงใจได

ผูกําจัดหรือบรรเทานิวรณได ยอมไดนิสงส 5 ประการคือ

       1.   ไมของติดอยูในกายตนหรือผูอื่นจนเกินไป
       2.   มีจิตประกอบดวยเมตตา
       3.   มีจิตอาจหาญในการประพฤติความดี
       4.   มีความพินิจและความอดทน
       5.   ตัดสินใจในทางดีไดแนนอนและถูกตอง




เวสารัชชกรณะ 5

       เวสารัชชกรณะ แปลวา ธรรมที่ยังความกลาหาญใหเกิดขึ้นมี 5 ประการ คือ
       1. ศรัทธา เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ
       2. ศีล       ประพฤติการวาจาเรียบรอย
       3. พาหุสัจจะ ความเปนผูศึกษามาก
       4. วิริยารัมภะ ตั้งใจทําความพากเพียร
       5. ปญญา        รอบรูสิ่งที่ควรรู
                                              10	
  


อริยทรัพย 7

       1. ศรัทธา เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ
       2. ศีล     ประพฤติการวาจาเรียบรอย
       3. หิริ    ความละอายตอบาปทุจริต
       4. โอตัปปะ ความสะดุงกลัวตอบาปทุจริต
       5. พาหุสัจจะ ความเปนคนไดยินไดฟงมามาก
       6. จาคะ การใหปนสิ่งของแกคนที่ควรให
       7. ปญญา ความรอบรูทั้งสิ่งที่เปนประโยชนและสิ่งที่เปนไท




สัปปุริสธรรม 7

       เปนหลักธรรมอันเปนของคนดี (ผูประพฤติชอบ) มี 7 ประการ

       1.   ธัมมัญุตา    ความเปนผูรูวาเปนเหตุ
       2.   อัตถัญุตา    ความเปนผูรูจักผล
       3.   อัตตัญุตา    ความเปนผูรูจักตน
       4.   มัตตัญุตา    ความเปนผูรูจักประมาณ
       5.   กาลัญุตา     ความเปนผูรูจักกาลเวลาอันเหมาะสม
       6.   ปุริสัญุตา   ความเปนผูรูจักสังคม
                                           11	
  


       7. บุคคลโรปรัชญุตา ความเปนผูรูจักคบคน

คุณธรรมของผูบริหาร 6

       ผูบริหาร นอกจากจะมีคุณวุฒิในทางวิชาการตาง ๆ แลวยังจําเปนตองมีคุณธรรมอีก 6 ประการ

       1.   ขมา       มีความอดทนเกง
       2.   ชาตริยะ ระวังระไว
       3.   อุฎฐานะ หมั่นขยัน
       4.   สังวิภาคะ เอื้อเฟอเผื่อแผ
       5.   ทยา เอ็นดู กรุณา
       6.   อิกขนา หมั่นเอาใจใสตรวจตราหรือติดตาม




ยุติธรรม 5

     นักบริหารหรือผูนํามักจะประสบปญหาหรือรองเรียนขอความเปนธรรมอยูเปนประจํา
หลักตัดสินความเพื่อใหเกิดความ “ยุติธรรม” มี 5 ประการ คือ

       1. สัจจวา แนะนําดวยความจริงใจ
       2. บัณฑิตะ ฉลาดและแนะนําความจริงและความเสื่อม
                                            12	
  


       3. อสาหะเสนะ ตัดสินดวยปญญาไมตัดสินดวยอารมณผลุนผลัน
       4. เมธาวี นึกถึงธรรม (ยุติธรรม) เปนใหญไมเห็นแกอามิสสินจาง
        5. ธัมมัฎฐะ ไมริษยาอาฆาต ไมตอเวร

ธรรมเครื่องใหกาวหนา 7

   นักบริหารในตําแหนงตาง ยอมหวังความเจริญกาวหนาไดรับการเลื่อนชั้นเลื่อนตําแหนงสูงขึ้น
พระพุทธองคทรงตรัสธรรมเครื่องเจริญยศ (ความกาวหนา) ไว 7 ประการ คือ

       1. อุฎฐานะ หมั่นขยัน
       2. สติ มีความเฉลียว
       3. สุจิกัมมะ การงานสะอาด
       4. สัญญตะ ระวังดี
       5. นิสัมมการี ใครครวญพิจารณาแลวจึงธรรม
       6. ธัมมชีวี เลี้ยงชีพโดยธรรม
        7. อัปปมัตตะ ไมประมาท




ไตรสิกขา

     เพื่อเปนการสนับสนุนใหเกิดความตั้งใจดีและมีมือสะอาด นักบริหารตองประกอบตนไวใน
ไตรสิกขาขอที่ตองสําเหนียก 3 ประการ คือ

       1. ศีล
       2. สมาธิ
                                          13	
  


       3. ปญญา

ทั้งนี้เพราะ ศีล   เปนเครื่องสนับสนุนใหกาย (มือ) สะอาด
             สมาธิ เปนเครื่องสนับสนุนใหใจสงบ
             ปญญา เปนเครื่องทําใหใจสวาง รูถูก รูผิด




พระพุทธโอวาท 3

      นักบริหารที่ทํางานไดผลดี เนื่องจากได ”ตั้งใจดี” และ “มือสะอาด” พระพุทธองคไดวางแนว
ไว 3 ประการ ดังนี้

        1. เวนจากทุจริต การประพฤติชั่ว ทางกาย วาจา ใจ
        2. ประกอบสุจริต ประพฤติชอบ ทางกาย วาจา ใจ
        3. ทําใจของตนใหบริสุทธิ์สะอาด ไมโลภ ไมโกรธ ไมหลง

      การนําหลักธรรมที่ประเสริฐมาปฎิบัติ ยอมจักนําความเจริญ ตลอดจนความสุขกาย
สบายใจ ใหบังเกิดแกผูประพฤติทั้งสิ้น สมดังพุทธสุภาษิตที่วา “ ธัมโม หเว
รักขติ ธัมมจาริง” ธรรมะยอมคุมครองรักษาผูประพฤติธรรม
                                            

	
  

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
ขนิษฐา ทวีศรี
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
niralai
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
พัน พัน
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
teerachon
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
supaporn2516mw
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
supap6259
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
Sivagon Soontong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Jariya Huangjing
 
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติเรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
Duangjai Boonmeeprasert
 

Was ist angesagt? (20)

หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติเรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
 

Andere mochten auch

พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
Anchalee BuddhaBucha
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
sukanya56106930005
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Andere mochten auch (7)

พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
 
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
 

Ähnlich wie หลักธรรม ของ นักบริหาร

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
Taweedham Dhamtawee
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyle11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyle
etcenterrbru
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 

Ähnlich wie หลักธรรม ของ นักบริหาร (20)

การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรมทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรม
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyle11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyle
 
04 develop2
04 develop204 develop2
04 develop2
 
12 life
12 life12 life
12 life
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
13 life
13 life13 life
13 life
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
 
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
 
073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน073หลักธรรมพื้นฐาน
073หลักธรรมพื้นฐาน
 
Onet social
Onet socialOnet social
Onet social
 
Onet social
Onet socialOnet social
Onet social
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 

Mehr von Panuwat Beforetwo

พาเที่ยวงาน มหกรรม น้องอิ่มท้อง สมองแจ่มใส 2556 จัดโดย กระทรวงศึกษาธิการ
พาเที่ยวงาน มหกรรม น้องอิ่มท้อง สมองแจ่มใส 2556 จัดโดย กระทรวงศึกษาธิการพาเที่ยวงาน มหกรรม น้องอิ่มท้อง สมองแจ่มใส 2556 จัดโดย กระทรวงศึกษาธิการ
พาเที่ยวงาน มหกรรม น้องอิ่มท้อง สมองแจ่มใส 2556 จัดโดย กระทรวงศึกษาธิการ
Panuwat Beforetwo
 

Mehr von Panuwat Beforetwo (20)

บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
 
4 องค์ประกอบ ของ การตลาดสมัยใหม่
4 องค์ประกอบ ของ การตลาดสมัยใหม่4 องค์ประกอบ ของ การตลาดสมัยใหม่
4 องค์ประกอบ ของ การตลาดสมัยใหม่
 
Line ปล่อยฟีเจอร์เด็ด hidden chat ที่โพสต์แชตคุยแล้ว จะลบออกโดยอัตโนมัติ พร้อ...
Line ปล่อยฟีเจอร์เด็ด hidden chat ที่โพสต์แชตคุยแล้ว จะลบออกโดยอัตโนมัติ พร้อ...Line ปล่อยฟีเจอร์เด็ด hidden chat ที่โพสต์แชตคุยแล้ว จะลบออกโดยอัตโนมัติ พร้อ...
Line ปล่อยฟีเจอร์เด็ด hidden chat ที่โพสต์แชตคุยแล้ว จะลบออกโดยอัตโนมัติ พร้อ...
 
ทำไม ถึงต้องเปิดร้าน Line shop - สถิติสำคัญ ของ line ในไทย ปี 2013
ทำไม ถึงต้องเปิดร้าน Line shop - สถิติสำคัญ ของ line ในไทย ปี 2013 ทำไม ถึงต้องเปิดร้าน Line shop - สถิติสำคัญ ของ line ในไทย ปี 2013
ทำไม ถึงต้องเปิดร้าน Line shop - สถิติสำคัญ ของ line ในไทย ปี 2013
 
คู่มือ ขั้นตอน เปิดร้านบน Line shop ฟรี อย่างละเอียด
คู่มือ ขั้นตอน เปิดร้านบน Line shop ฟรี อย่างละเอียดคู่มือ ขั้นตอน เปิดร้านบน Line shop ฟรี อย่างละเอียด
คู่มือ ขั้นตอน เปิดร้านบน Line shop ฟรี อย่างละเอียด
 
7 วิธี การเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า สำหรับธุรกิจออนไลน์ของคุณ
7 วิธี การเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า สำหรับธุรกิจออนไลน์ของคุณ7 วิธี การเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า สำหรับธุรกิจออนไลน์ของคุณ
7 วิธี การเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า สำหรับธุรกิจออนไลน์ของคุณ
 
นิทาน ทำดีตามคำพ่อ
นิทาน ทำดีตามคำพ่อนิทาน ทำดีตามคำพ่อ
นิทาน ทำดีตามคำพ่อ
 
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผลขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์อย่างไร...ให้ได้ผล
 
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 7
ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 7ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 7
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 7
 
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 6
ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 6ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 6
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 6
 
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 5
ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 5ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 5
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 5
 
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 4
ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 4ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 4
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 4
 
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 3
ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 3ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 3
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 3
 
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 8
ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 8ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 8
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 8
 
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 2
ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 2ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 2
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 2
 
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 1
ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 1ข้อสอบ กพ  พร้อมเฉลย 1
ข้อสอบ กพ พร้อมเฉลย 1
 
ความมุ่งหมาย ของ การฟังธรรม
ความมุ่งหมาย ของ การฟังธรรมความมุ่งหมาย ของ การฟังธรรม
ความมุ่งหมาย ของ การฟังธรรม
 
พาเที่ยวงาน มหกรรม น้องอิ่มท้อง สมองแจ่มใส 2556 จัดโดย กระทรวงศึกษาธิการ
พาเที่ยวงาน มหกรรม น้องอิ่มท้อง สมองแจ่มใส 2556 จัดโดย กระทรวงศึกษาธิการพาเที่ยวงาน มหกรรม น้องอิ่มท้อง สมองแจ่มใส 2556 จัดโดย กระทรวงศึกษาธิการ
พาเที่ยวงาน มหกรรม น้องอิ่มท้อง สมองแจ่มใส 2556 จัดโดย กระทรวงศึกษาธิการ
 
King’s cup elephant polo 2013 V.1
King’s cup elephant polo 2013 V.1 King’s cup elephant polo 2013 V.1
King’s cup elephant polo 2013 V.1
 
มาดูความน่ารัก ของ ช้าง ในการแข่งขันโปโลช้าง คิงส์คัพ 2556 @Hua Hin v.1
มาดูความน่ารัก ของ ช้าง ในการแข่งขันโปโลช้าง คิงส์คัพ 2556 @Hua Hin v.1มาดูความน่ารัก ของ ช้าง ในการแข่งขันโปโลช้าง คิงส์คัพ 2556 @Hua Hin v.1
มาดูความน่ารัก ของ ช้าง ในการแข่งขันโปโลช้าง คิงส์คัพ 2556 @Hua Hin v.1
 

หลักธรรม ของ นักบริหาร

  • 1.   1   หลักธรรมของนักบริหาร หลักธรรม หรือคําสั่งสอนของพระพุทธเจานั้น ถึงแมวาจะมีมาตั้งแตสมัยพุทธกาล นับถึงป จจุบันเปนเวลา 2540 กวาปแลว แตทุกหลักธรรมยังคงทันสมัยอยูเสมอ สามารถนําไปประยุกตใช เปนเครื่องดําเนินชีวิตและแนวทางในการบริหารงานไดเปนอยางดี ที่เปนเชนนี้ ก็เพราะหลักธรรมดังกลาว เปนความจริงที่ สามารถพิสูจนไดที่เรียกวา “สัจธรรม” ปฏิบัติไดเห็นผลไดอยางแทจริงอยูที่เราจะนํา หลักธรรมขอใดมาใชใหเหมาะสมกับตัวเรามากที่สุด สําหรับนักบริหารก็มีหลักธรรมสําหรับยึดถือ และปฏิบัติอยางมากมาย ซึ่งไดนําเสนอไวบาง เรื่องที่สําคัญดังตอไปนี้ พรหมวิหาร 4 เปนหลักธรรมของผูใหญ(ผูบังคับบัญชา) ที่ควรถือปฏิบัติเปนนิตย มี 4 ประการ คือ 1. เมตตา ความรักใคร ปราถนาจะใหผูอื่นมีความสุข 2. กรุณา ความสงสาร คิดชวยเหลือผูอื่นใหพนทุกข 3. มุทิตา ความพลอยยินดีเมื่อผูอื่นไดดีมีสุข 4. อุเบกขา วางตนเปนกลาง ไมดีใจ ไมเสียใจ เมื่อผูอื่นถึงวิบัติ มีทุกข
  • 2.   2   อคติ 4 อคติ หมายความวา การกระทําอันทําใหเสียความเที่ยงธรรม มี 4 ประการ 1. ฉันทาคติ ลําเอียงเพราะรักใคร 2. โทสาคติ ลําเอียงเพราะโกรธ 3. โมหาคติ ลําเอียงเพราะเขลา 4. ภยาคติ ลําเอียงเพราะกลัว อคติ 4 นี้ ผูบริหาร/ผูใหญ ไมควรประพฤติเพราะเปนทางแหงความเสื่อม
  • 3.   3   สังคหวัตถุ 4 เปนหลักธรรมอันเปนเครื่องยึดเหนี่ยวน้ําใจของกันและกันเห็นเหตุใหตนเอง และหมูคณะกาวไ ปสูความเจริญรุงเรือง 1.ทาน ใหปนสิ่งของแกคนที่ควรให 2.ปยวาจา เจรจาดวยถอยคําไพเราะออนหวาน 3.อัตถจริยา ประพฤติในสิงที่เปนประโยชน ่ 4.สมานนัตตตา วางตนใหเหมาะสมกับฐานะของตน อิทธิบาท 4 เปนหลักธรรมถือใหเกิดความสําเร็จ 1.ฉันทะ ความพึงพอใจในงาน 2.วิริยะ ความขยันมั่นเพียร 3.จิตตะ ความมีใจฝกใฝเอาใจใสในงาน 4.วิมังสา ไตรตรองหาเหตุผล
  • 4.   4   ทศพิธราชธรรม 10 ประการ เปนหลักธรรมสําหรับพระมหากษัตริยจะพึงถือปฏิบัติมาแตโบราณกาลแดนักบริหาร เชน สรรพสามิตจังหวัด สรรพสามิตอําเภอ ก็นาจะนําไปอนุโลมถือปฏิบัติได หลักทศพิธราชธรรม 10 ประการ มีอยูดังนี้ 1. ทาน คือ การใหปน ซึ่งอาจเปนการใหเพื่อบูชาคุณหรือใหเพื่อเปนการอนุเคราะห 2. ศีล ไดแกการสํารวม กาย วาจา ใจ ใหเรียบรอยสะอาดดีงาม 3. บริจาค ไดแก การใหทรัพยสิ่งของเพื่อเปนการชวยเหลือหรือความทุกขยากเดือดรอน ของผูอื่นหรือเปนการเสียสละเพื่อหวังใหผูรับไดรับความสุข 4. อาชวะ ไดแก ความมีอัธยาศัยซื่อตรงมั่นในความสุจริตธรรม 5. มัทวะ ไดแก ความมีอัธยาศัยดีงาม ละมุนละไม ออนโยน สุภาพ 6. ตบะ ไดแก การบําเพ็ญเพียรเพื่อขจัดหรือทําลายอกุศลกรรมใหสิ้นสูญ 7. อโกรธะ ไดแก ความสามารถระงับหรือขจัดเสียไดซึ่งความโกรธ 8. อวิหิงสา ไดแก การไมเบียดเบียนคนอื่น 9. ขันติ ไดแก ความอดกลั้นไมปลอยกาย วาจา ใจ ตามอารมณหรือกิเลสที่เกิดมีขึ้นนั้น 10. อวิโรธนะไดแก การธํารงครักษาไวซึ่งความยุติธรรม
  • 5.   5   บารมี 6 เปนหลักธรรมอันสําคัญที่จะนิยมมาซึ่งความรักใครนับถือ นับวาเปนหลักธรรมที่เหมาะมาก สําหรับนักบริหารจะพึงยึดถือปฎิบัติ มีอยู 6 ประการคือทาน 1. ทาน การใหเปนสิ่งที่ควรให 2. ศีล การประพฤติในทางที่ชอบ 3. ขันติ ความอดทนอดกลั้น 4. วิริยะ ความขยันหมั่นเพียร 5. ฌาน การเพงพิจารณาใหเห็นของจริง 6. ปรัชญา ความมีปญญารอบรู ขันติโสรัจจะ เปนหลักธรรมอันทําใหบุคคลเปนผูงาม (ธรรมทําใหงาม) 1. ขันติ คือ ความอดทน มีลักษณะ 3 ประการ 1.1 อดใจทนไดตอกําลังแหงความโกรธแคนไมแสดงอาการ กาย วาจา ที่ไมนารัก ออกมาใหเปนที่ปรากฏแกผูอื่น 1.2 อดใจทนไดตอความลําบากตรากตรําหรือความเหน็ดเหนื่อย 2. โสรัจจะ ความสงบเสงี่ยม ทําจิตใจใหแชมชื่นไมขุนหมอง
  • 6.   6   ธรรมโลกบาล เปนหลักธรรมที่ชวยคุมครองโลก หรือมวลมนุษยใหอยูความรมเย็นเปนสุข มี 2 ประการคือ 1. หิริ ความละอายในตนเอง 2. โอตัปปะ ความเกรงกลัวตอทุกข และความเสื่อมแลวไมกระทําความชั่ว อธิฐานธรรม 4 เปนหลักธรรมที่ควรตั้งไวในจิตใจเปนนิตย เพื่อเปนเครื่องนิยมนําจิตใจใหเกิดความรอบรูความจริง รูจักเสียสละ และบังเกิดความสงบ มี 4 ประการ 1. ปญญา ความรูในสิ่งที่ควรรู รูในวิชา 2. สัจจะ ความจริง คือประพฤติสิ่งใดก็ใหไดจริงไมทําอะไรจับจด 3. จาคะ สละสิ่งที่เปนขาศึกแหงความจริงใจ คือ สละความเกียจคราน หรือความหวาดกลัว ตอความยุงยาก ลําบาก 4. อุปสมะ สงบใจจากสิ่งที่เปนขาศึกตอความสงบ คือ ยับยั้งใจมิใหปนปวนตอความพอใจ รักใคร และความขัดเคืองเปนตน
  • 7.   7   คหบดีธรรม 4 เปนหลักธรรมของผูครองเรือนพึงยึดถือปฏิบัติ มี 4 ประการ คือ 1. ความหมั่น 2. ความโอบออมอารี 3. ความไมตื่นเตนมัวเมาในสมบัติ 4. ความไมเศราโศกเสียใจเมื่อเกิดภัยวิบัติ ราชสังคหวัตถุ 4 เปนหลักธรรมอันเปนเครื่องชวยในการวางนโยบายบริหารบานเมืองใหดําเนินไปดวยดี มี 4 ประการ คือ 1. ลัสเมธัง ความเปนผูฉลาดปรีชาในการพิจารณาถึงผลิตผลอันเกิดขึ้นในแผนดิน แลว พิจารณาผอนผันจัดเก็บเอาแตบางสวนแหงสิ่งนั้น
  • 8.   8   2. ปุริสเมธัง ความเปนผูฉลาดในการดูคนสามารถเลือกแตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงใน ความถูกตองและเหมาะสม 3. สัมมาปาลัง การบริหารงานใหตองใจประชาชน 4. วาจาเปยยัง ความเปนบุคคลมีวาจาไพเราะรูจักผอนสั้นผอนยาวตามเหตุการณ ตามฐานะและตามความเปนธรรม สติสัมปชัญญะ เปนหลักธรรมอันอํานวยประโยชนแกผูประพฤติเปนอันมาก 1.สติ คือ ความระลึกไดกอนทํา กอนบูชา กอนคัด คนมีสติจะไมเลินเลอ เผลอตน 2.สัมปชัญญะ คือ ความรูตัวในเวลากําลังทํา กําลังพูด กําลังคิด อกุศลมูล 3 อกุศลมูล คือ รากเหงาของความชั่ว มี 3 ประการคือ 1. โลภะ ความอยากได 2. โทสะ ความคิดประทุษรายเขา 3. โมหะ ความหลงไมรูจริง นิวรณ 5 นิวรณ แปลวา ธรรมอันกลั้นจิตใจไมใหบรรลุความดี มี 5 ประการ 1. กามฉันท พอใจรักใครในอารมณ มีพอใจในรูป เปนตน
  • 9.   9   2. พยาบาท ปองรายผูอื่น 3. ถีนมิทธะ ความที่จิตใจหดหูและเคลิบเคลิ้ม 4. อุธัจจะกุกกุจจะ ความฟุงซานและรําคาญ 5. วิจิกิจฉา ความลังเลไมตกลงใจได ผูกําจัดหรือบรรเทานิวรณได ยอมไดนิสงส 5 ประการคือ 1. ไมของติดอยูในกายตนหรือผูอื่นจนเกินไป 2. มีจิตประกอบดวยเมตตา 3. มีจิตอาจหาญในการประพฤติความดี 4. มีความพินิจและความอดทน 5. ตัดสินใจในทางดีไดแนนอนและถูกตอง เวสารัชชกรณะ 5 เวสารัชชกรณะ แปลวา ธรรมที่ยังความกลาหาญใหเกิดขึ้นมี 5 ประการ คือ 1. ศรัทธา เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ 2. ศีล ประพฤติการวาจาเรียบรอย 3. พาหุสัจจะ ความเปนผูศึกษามาก 4. วิริยารัมภะ ตั้งใจทําความพากเพียร 5. ปญญา รอบรูสิ่งที่ควรรู
  • 10.   10   อริยทรัพย 7 1. ศรัทธา เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ 2. ศีล ประพฤติการวาจาเรียบรอย 3. หิริ ความละอายตอบาปทุจริต 4. โอตัปปะ ความสะดุงกลัวตอบาปทุจริต 5. พาหุสัจจะ ความเปนคนไดยินไดฟงมามาก 6. จาคะ การใหปนสิ่งของแกคนที่ควรให 7. ปญญา ความรอบรูทั้งสิ่งที่เปนประโยชนและสิ่งที่เปนไท สัปปุริสธรรม 7 เปนหลักธรรมอันเปนของคนดี (ผูประพฤติชอบ) มี 7 ประการ 1. ธัมมัญุตา ความเปนผูรูวาเปนเหตุ 2. อัตถัญุตา ความเปนผูรูจักผล 3. อัตตัญุตา ความเปนผูรูจักตน 4. มัตตัญุตา ความเปนผูรูจักประมาณ 5. กาลัญุตา ความเปนผูรูจักกาลเวลาอันเหมาะสม 6. ปุริสัญุตา ความเปนผูรูจักสังคม
  • 11.   11   7. บุคคลโรปรัชญุตา ความเปนผูรูจักคบคน คุณธรรมของผูบริหาร 6 ผูบริหาร นอกจากจะมีคุณวุฒิในทางวิชาการตาง ๆ แลวยังจําเปนตองมีคุณธรรมอีก 6 ประการ 1. ขมา มีความอดทนเกง 2. ชาตริยะ ระวังระไว 3. อุฎฐานะ หมั่นขยัน 4. สังวิภาคะ เอื้อเฟอเผื่อแผ 5. ทยา เอ็นดู กรุณา 6. อิกขนา หมั่นเอาใจใสตรวจตราหรือติดตาม ยุติธรรม 5 นักบริหารหรือผูนํามักจะประสบปญหาหรือรองเรียนขอความเปนธรรมอยูเปนประจํา หลักตัดสินความเพื่อใหเกิดความ “ยุติธรรม” มี 5 ประการ คือ 1. สัจจวา แนะนําดวยความจริงใจ 2. บัณฑิตะ ฉลาดและแนะนําความจริงและความเสื่อม
  • 12.   12   3. อสาหะเสนะ ตัดสินดวยปญญาไมตัดสินดวยอารมณผลุนผลัน 4. เมธาวี นึกถึงธรรม (ยุติธรรม) เปนใหญไมเห็นแกอามิสสินจาง 5. ธัมมัฎฐะ ไมริษยาอาฆาต ไมตอเวร ธรรมเครื่องใหกาวหนา 7 นักบริหารในตําแหนงตาง ยอมหวังความเจริญกาวหนาไดรับการเลื่อนชั้นเลื่อนตําแหนงสูงขึ้น พระพุทธองคทรงตรัสธรรมเครื่องเจริญยศ (ความกาวหนา) ไว 7 ประการ คือ 1. อุฎฐานะ หมั่นขยัน 2. สติ มีความเฉลียว 3. สุจิกัมมะ การงานสะอาด 4. สัญญตะ ระวังดี 5. นิสัมมการี ใครครวญพิจารณาแลวจึงธรรม 6. ธัมมชีวี เลี้ยงชีพโดยธรรม 7. อัปปมัตตะ ไมประมาท ไตรสิกขา เพื่อเปนการสนับสนุนใหเกิดความตั้งใจดีและมีมือสะอาด นักบริหารตองประกอบตนไวใน ไตรสิกขาขอที่ตองสําเหนียก 3 ประการ คือ 1. ศีล 2. สมาธิ
  • 13.   13   3. ปญญา ทั้งนี้เพราะ ศีล เปนเครื่องสนับสนุนใหกาย (มือ) สะอาด สมาธิ เปนเครื่องสนับสนุนใหใจสงบ ปญญา เปนเครื่องทําใหใจสวาง รูถูก รูผิด พระพุทธโอวาท 3 นักบริหารที่ทํางานไดผลดี เนื่องจากได ”ตั้งใจดี” และ “มือสะอาด” พระพุทธองคไดวางแนว ไว 3 ประการ ดังนี้ 1. เวนจากทุจริต การประพฤติชั่ว ทางกาย วาจา ใจ 2. ประกอบสุจริต ประพฤติชอบ ทางกาย วาจา ใจ 3. ทําใจของตนใหบริสุทธิ์สะอาด ไมโลภ ไมโกรธ ไมหลง การนําหลักธรรมที่ประเสริฐมาปฎิบัติ ยอมจักนําความเจริญ ตลอดจนความสุขกาย สบายใจ ใหบังเกิดแกผูประพฤติทั้งสิ้น สมดังพุทธสุภาษิตที่วา “ ธัมโม หเว รักขติ ธัมมจาริง” ธรรมะยอมคุมครองรักษาผูประพฤติธรรม 