SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 34
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การสร้ างคําในภาษาไทย
              นางนันทวรรณ สามคํา
          กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
     โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
สํ านักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต๓๖
                ้ ่
คํามูล
            คํามูล เป็ นคําที่มีความหมายชัดเจนในตัว อาจเป็ นคําพยางค์
เดียวหรื อหลายพยางค์ เป็ นคําไทยแท้หรื อคําที่ยมมาจากภาษาอื่นก็ได้
                                                 ื
สําหรับคํามูลที่ยมมาจากภาษาอื่น ไม่คานึงว่าคําเดิมเป็ นคําที่
                     ื                      ํ
ประกอบด้วยคําอื่นอยูก่อนหรื อไม่เมื่อนํามาใช้ใน ภาษาไทยจัดเป็ นคํา
                           ่
มูลทั้งสิ้ น คํามูลหลายพยางค์อาจประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมาย
หรื อมีความหมายทั้งหมด หรื ออาจประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมาย
กับพยางค์ที่ไม่มีความหมาย แต่อย่างไรก็ดีเมื่อพยางค์ดงกล่าวรวมกัน
                                                        ั
เป็ นคําแล้ว ย่ อมเกิดความหมายใหม่ โดยไม่ เกียวเนื่องกับความหมาย
                                               ่
ของพยางค์ เดิม
ลักษณะของคํามูล
          คํามูลหลายพยางค์ ทเี่ กิดจากพยางค์ ทไม่ มีความหมาย
                                                ี่
เช่น กิ้งก่า ฉํ่าฉ่า ไฉไล
          คํามูลหลายพยางค์ ทเี่ กิดจากพยางค์ ทมความหมาย
                                                   ี่ ี
เช่น กะลาสี นาที สับปะรด
          คํามูลหลายพยางค์ ทเี่ กิดจากพยางค์ ทมความหมายและไม่ มี
                                              ี่ ี
ความหมาย เช่น จิปาถะ กํามะลอ นาฬิกา

                           มองอะไรกันจ๊ ะ เด็ก ๆ
ทีมาของคํามูล อาจเป็ นคําไทยแท้หรื อเป็ นคํายืมก็ได้
           ่
         คํามูลพยางค์ เดียวทีเ่ ป็ นคําไทยแท้ เช่น พ่อ แม่ หู ตา ดิน นํ้า
ถ้วย ชาม มีด จอบ กิน นอน ใหญ่ เล็ก ผอม ดํา แดง
         คํามูลหลายพยางค์ ทเี่ ป็ นคําไทยแท้ เช่น กระตือรื อร้น
โพนทะนา สาละวน
         คํามูลพยางค์ เดียวทีเ่ ป็ นคํายืม เช่น กิจ ขันธ์ คช ชอล์ก ฟรี เก๋
เพ็ญ เดิน เซ้ง โกรธ โธ่
         คํามูลหลายพยางค์ ทเ่ี ป็ นคํายืม เช่น บิดา มารดา จักษุ ศีรษะ
จรัส ไผท กะลาสี ปะการัง ฟุตบอล ไมโครฟิ ล์ม
ข้ อสั งเกตคํามูล
                        ่
คํามูลหลายพยางค์ ควรดูวาในคําหลายพยางค์น้ นมีความหมายทุก
                                            ั
พยางค์หรื อไม่ ถ้ามีความหมายบ้างไม่มีความหมายบ้างเป็ นคํามูล
หลายพยางค์ เช่น
มะละกอ = คํามูล 3 พยางค์       นาฬิ กา = คํามูล 3 พยางค์
    มะ = ไม่มีความหมาย          นา = มีความหมาย
    ละ = ไม่มีความหมาย          ฬิ = ไม่มีความหมาย
    กอ = มีความหมาย            กา = มีความหมาย
คําประสม
          คําประสม คือ การนําคํามูลที่มีใช้ในภาษาไทยมารวมกัน
ตั้งแต่ 2 คําขึ้นไปทําให้เกิดคําใหม่ มีความหมายใหม่
          การสร้างคําประสม เป็ นวิธีการสร้างคําในภาษาไทย มี
ลักษณะดังนี้คือ
          1. คําประสมที่นาคํามูลมาประสมกันแล้วมีความหมายเป็ นอีก
                               ํ
อย่างหนึ่งแต่ยงคงเค้าความหมายเดิมของคํามูลอยู่ เช่น
                 ั
          แม่ + นํ้า = แม่น้ า หมายถึง แหล่งรวมของสายนํ้าหลัก
                             ํ
          แม่ + ยาย = แม่ยาย หมายถึง แม่ของภรรยาที่ลูกเรี ยกว่ายาย
          เล็บ + มือ + นาง = เล็บมือนาง หมายถึง ชื่อดอกไม้ ,ขนม
2. คําประสมที่นาคํามูลมาประสมกันแล้ว ความหมายเปลี่ยน
                         ํ
ไปจากความหมายของคํามูลเดิม เช่น
      เสี ย + ใจ = เสี ยใจ หมายถึง รู ้สึกไม่สบายใจเพราะมีเรื่ องไม่
สมประสงค์
      ขาย + หน้า = ขายหน้า หมายถึง อับอาย

                        สู ้ตายครับ ...ไม่ยาก
                              หรอกครับ
3. คําประสมที่นาคํามูลมาประสมกับคํามูลที่ยอข้อความ
                            ํ                                   ่
ยาวๆให้ส้ นเข้า ได้แก่คาเหล่านี้ เช่น
          ั               ํ
       ช่าง - ช่างเขียน ช่างทอง ช่างปูน ช่างไม้ ช่างเหล็ก
       ชาว - ชาวเมือง ชาวบ้าน ชาวนา ชาวชนบท ชาววัง
       เครื่ อง - เครื่ องใช้ เครื่ องครัว เครื่ องเขียน เครื่ องบิน
       นัก - นักเรี ยน นักประพันธ์ นักร้อง นักศึกษา
       หมอ - หมอความ หมองู หมอลํา หมอดู หมอยา
       ของ - ของรัก ของเล่น ของใช้ ของกิน ของคาว
       ที่ - ที่นอน ที่อยู่ ที่ราบ ที่ดิน ที่เล่น
       การ - การบ้าน การสงคราม การประปา การเมือง
       ความ - ความแพ่ง ความอาญา ความวัว ความควาย
4. คําประสมทีสร้ างขึนจะนําคําไทยประสมกับคําไทยหรือคํา
                        ่      ้
ภาษาอืนมาประสมกับคําไทยก็ได้ เช่ น
      ่
คําไทย + คําเขมร เช่น ของขลัง นายตรวจ ดาวประกายพรึ ก
คําไทย + คําจีน เช่น กินโต๊ะ เข้าหุน บะหมี่แห้ง นายห้าง
                                   ้
คําไทย + คําอังกฤษ เช่น เรี ยงเบอร์ แป๊ บนํ้า นํ้าก๊อก พวงหรี ด
คําไทย + คําบาลีหรือสั นสกฤต เช่น รถไฟ เครื่ องคิดเลข ตูนิรภัย
                                                           ้
แม่พิมพ์
5. คําประสมทีสร้ างขึนโดยนําคําไทยกับคําบาลีสันสกฤต
                     ่       ้
หรือคําเขมรมาประสมกันและอ่ านออกเสี ยงต่ อเนื่องเหมือนอ่ าน
คําสมาสในภาษาบาลีและสั นสกฤต เช่น พลเมือง ผลไม้ คุณค่า
ทุนทรัพย์

                ไม่ได้เป่ าปี่ ใส่ หูใครนะครับ
ข้ อสั งเกตคําประสม
1. คําประสมจะเป็ นวิทยาการสมัยใหม่ เช่น เตารี ด หม้อหุ งข้าวไฟฟ้ า
เครื่ องปรับอากาศ พัดลม ตูเ้ ย็น เครื่ องอบผ้า เครื่ องซักผ้า ฯลฯ
2. คําประสมเป็ นคําเดียวกันจะแยกออกจากกันไม่ได้ ความหมายจะไม่
เหมือนเดิม เช่น นางแบบ รับรอง มนุษย์กบ
3. วิธีสงเกตคําประสมมักจะมีลกษณนามให้เห็นอย่างเด่นชัด เช่น
         ั                       ั
ใบนี้ คนนี้ ชุดนี้ ฯลฯ เช่น วันนี้ไม่มีคนใช้คนนี้ เลย (คําประสม) 4.
คําประสมที่ข้ ึนตนด้วยคําว่า “ลูก, แม่” ต้องหมายถึงคนจึงจะเป็ นคํา
ประสม เช่น ลูกเสื อ (คน) แม่มด (คน) ถ้าเป็ นลูกของเสื อ
แม่ของมด จะเป็ นคําเรี ยงกันธรรมดา ยกเว้น ลูกนํ้าเป็ นคําประสม
เพราะมีความหมายเปลี่ยนไป ไม่ใช่ลูกของนํ้า แต่เป็ นลูกของยุง
คําซ้ อน
         คําซ้ อน คือ การนําคําที่มีความหมายเหมือนกัน หรื อคล้าย กัน
หรื อประเภทเดียวกันมาเรี ยงซ้อนกัน เมื่อ ซ้อนคําแล้วทําให้เกิด
ความหมายใหม่ข้ ึน แต่ยงเค้าความหมายเดิมอยู่ หรื อความหมายอาจ
                         ั
ไม่เปลี่ยนไป แต่ความหมายของคําหน้าจะชัดเจนยิงขึ้น เช่น รู ปภาพ
                                                 ่
บ้านเรื อน ทรัพย์สิน คับแคบ เป็ นต้น
คําซ้อน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
(1.) คําซ้ อนเพือความหมาย มีลกษณะเป็ นการนําคําที่มีความหมาย
                ่               ั
สมบูรณ์มาซ้อนกัน และคําที่นามาซ้อนกันมีความหมายคล้ายกันหรื อ
                              ํ
ใกล้เคียงกัน หรื อเป็ นไปในทํานองเดียวกัน คําที่ซอนกันจะมีลกษณะ
                                                 ้           ั
ดังนี้
   1. คําไทยซ้อนคําไทย เนื่องจากคําไทยเป็ นภาษาคําโดด เพื่อให้ได้
ความหมายแน่นอนจึงนําคําไทยที่มีความหมายใกล้เคียงกันมาซ้อนกัน
  เช่น ใหญ่โต เรื อแพ เติบโต เสื่ อสาด มากมาย อ้วนพี ยืนยัน เป็ นต้น

    อะไรกันนี่ครับพี่นอง
                      ้
2. คําไทยซ้ อนคําต่ างประเทศ เป็ นการนําคําไทยซ้อนกับภาษาบาลี,
สันสกฤต,เขมรหรื อภาษาอื่น เช่น
         คําไทยซ้อนคําบาลีและสันสกฤต เช่น ซากศพ รู ปร่ าง
ทรัพย์สิน ข้าทาส จิตใจ ซื่ อสัตย์ นัยน์ตา สู ญหาย สาปแช่ง แก่นสาร
         คําไทยซ้อนคําเขมร เช่น เขียวขจี เงียบสงัด แบบฉบับ ถนน
หนทาง ทรวงอก แสวงหา ยกเลิก
         คําไทยซ้อนคําจีน เช่น กักตุน ต้มตุ๋น นังจ๋ อ หุนส่ วน ชื่อแซ่
                                                ่       ้
ห้างร้าน
         คําไทยซ้อนภาษาอังกฤษ เช่น แบบแปลน แบบฟอร์ม
3. คําต่ างประเทศซ้ อนคําต่ างประเทศ เช่น
           คําบาลีกบคําสันสกฤต เช่น อิทธิฤทธิ์ มิตรสหาย เหตุการณ์
                   ั
ทรัพย์สมบัติ
           คําเขมรกับคําบาลีหรื อสันสกฤต เช่น สรงสนาน สุ ขสงบ
เสบียงอาหาร
           คําเขมรกับคําเขมร เช่น สงบเสงี่ยม เลอเลิศ เฉลิมฉลอง
(2.) คําซ้ อนเพือเสี ยง เป็ นการนําคําที่มีความหมายคล้ายคลึงกันมา
                ่
ซ้อนกัน เพื่อให้ออกเสี ยงง่ายขึ้นและมีเสี ยงคล้องจองกันทําให้เกิด
ความไพเราะขึ้น คําซ้อนเพื่อเสี ยงนี้บางทีเรี ยกว่าคําคู่ หรื อคําควบคู่

                           วิธีซ้อนคําเพือเสี ยง
                                         ่
1. นําคําที่มีพยัญชนะตัวเดียวกัน แตกต่างกันที่เสี ยงสระ นํามาซ้อน
หรื อควบคู่กน เช่น เรอร่ า เซ่อซ่า อ้อแอ้ จูจ้ ี เงอะงะ เหนอะหนะ จอแจ
               ั                            ้
ร่ อแร่ เตาะแตะ ชิงชังจริ งจัง ตูมตาม ตึงตัง อึกอัก ทึกทัก โฉ่งฉ่าง
หมองหมาง อุยอ้าย โอ้กอ้าก
                 ้
2. นําคําแรกที่มีความหมายมาซ้อนกับคําหลัง ซึ่ งไม่มีความหมาย
เพื่อให้คล้องจองและออกเสี ยงได้สะดวก โดยเสริ มคําข้างหน้าหรื อข้าง
หลังก็ได้ ทําให้เน้นความเน้นเสี ยงได้หนักแน่ โดยมากใช้ในภาษาพูด
เช่น กวาดแกวด กินแกน พูดเพิด ดีเดอ เดินแดน มอมแมม ดีเด่ ไปเปย
มองเมิง หูเหื อง ชามแชม กระดูกกระเดี้ยว
3. นําคําที่มีพยัญชนะต้นต่างกันแต่เสี ยงสระเดียวกันมาซ้อนกันหรื อ
ควบคู่กน เช่นเบ้อเร่ อ แร้นแค้น จิ้มลิ้ม ออมซอม อ้างว้าง
         ั
4. นําคําที่มีพยัญชนะต้นเหมือนกัน สระเสี ยงเดียวกัน แต่ตวสะกด
                                                         ั
ต่างกันมาซ้อนกัน หรื อควบคู่กน เช่น ลักลัน อัดอั้น หย็อกหย็อย
                               ั            ่
5. คําซ้อนบางคํา ใช้คาที่มีความหมายใกล้เคียงกันมาซ้อนกันและเพิ่ม
                       ํ
พยางค์ เพื่อให้ออกเสี ยงสมดุลกัน เช่น ขโมยโจร เป็ นขโมยขโจร
สะกิดเกา เป็ น สะกิดสะเกา
6. คําซ้อนบางคําอาจจะเป็ นคําซ้อนที่เป็ นคําคู่ ซึ่ งมี 4 คํา และมีสมผัสคู่
                                                                    ั
กลางหรื อคําที่ 1 และคําที่ 3 ซํ้ากัน คําซ้อนในลักษณะนี้เป็ นสํานวน
ไทยความหมายของคําจะปรากฏที่คาหน้าหรื อคําท้าย หรื อปรากฏที่คา
                                       ํ                                ํ
ข้างหน้า 2 คํา ส่ วนคําท้าย 2 ตัว ไม่ปรากฏความหมาย เช่น เกะกะ
ระราน กระโดดโลดเต้น บ้านช่องห้องหอ เรื อแพนาวา ข้าเก่าเต่าเลี้ยง
กตัญญูรู้คุณ ผลหมากรากไม้ โกหกพกลม ติดอกติดใจ เข้าไต้เข้าไฟ ถึง
พริ กถึงขิง ร้อนอกร้อนใจ
คําซํ้า
         คําซํ้า คือ คําที่เกิดจากคํามูลซํ้ากัน มีความหมายใหม่ อาจ
เน้นหนักหรื อเบาลงไปหรื อเปลี่ยนเป็ นอย่างอื่น คําซํ้าจะถือว่าเป็ นคํา
ประสมชนิดหนึ่งก็ได้
ลักษณะของคําซํ้ามีลกษณะสํ าคัญดังนี้
                        ั
1. อาจเป็ นคําชนิดใดและทําหน้าที่ใดก็ได้ เช่น นาม สรรพนาม กริ ยา
วิเศษณ์
2. นําคําหนึ่ง ๆ มาซํ้ากันสองครั้ง เช่น เด็ก ๆ เล็ก ๆ เล่น ๆ
3. นําคําซ้อนมาแยกซํ้ากัน เช่น ลูบคลํา เป็ น ลูบ ๆ คลํา ๆ
เปรอะเปื้ อน เป็ น เปรอะ ๆ เปื้ อน ๆ นุ่มนิ่ม เป็ น นุ่ม ๆ นิ่ม ๆ
4. นําคําซํ้ามาประสมกัน เช่น งู ๆ ปลา ๆ ไป ๆ มา ๆ ชัว ๆ ดี ๆ
                                                         ่
ความหมายของคําซํ้า คําซํ้าเปลียนไปจากคําเดิมได้ ต่าง ๆ เช่น
                                  ่
1. บอกพหูพจน์ คําเดิมอาจเป็ นเอกพจน์หรื อพหูพจน์ กลายเป็ นพหูพจน์
อย่างเดียว เช่น เขาเล่นกับเพื่อน (เอกพจน์หรื อพหูพจน์)
เขาเล่นกับเพื่อน ๆ (พหูพจน์)
      ่                                         ่
พี่อยูในห้อง (เอกพจน์หรื อพหูพจน์) พี่ ๆ อยูในห้อง (พหูพจน์)
2. บอกความเน้นหนัก วิเศษณ์บางคําเมื่อเป็ นคําซํ้ามีความหมาย
เน้นหนักกว่าเดิม โดยมากเปลี่ยนเสี ยงคําแรกเป็ นเสี ยงดนตรี
สวย ๆ เป็ น ซ้วยสวย            ดี ๆ เป็ น ดี๊ดี
ใหญ่ ๆ เป็ น ไย้ใหญ่          แดง ๆ เป็ น แด๊งแดง
3. บอกความไม่เน้นหนัก วิเศษณ์บางคําเมื่อเป็ นคําซํ้าความหมาย
คลายความเน้นหนักกว่าเดิม คําซํ้าประเภทนี้ไม่เปลี่ยนเสี ยงวรรณยุกต์
ของคําแรก เช่น สวย (สวยจริ ง) สวย ๆ (ไม่สวยทีเดียว)
ดี (ดีจริ ง) ดี ๆ (ไม่ดีทีเดียว)
4. บอกคําสัง วิเศษณ์ที่เป็ นคําซํ้าเมื่อประกอบกริ ยา จะเน้นความและ
               ่
บอกคําสัง เช่น อยูเ่ งียบ (วลี) อยูเ่ งียบ ๆ (ประโยคคําสัง)
            ่                                            ่
พูดดัง (วลี) พูดดัง ๆ (ประโยคคําสัง)     ่
5. เปลี่ยนความหมายใหม่ คําซํ้าบางคําเปลี่ยนความหมายใหม่โดยไม่
มีเค้าของความหมายเดิม เช่น กล้วย ๆ (ง่าย) ไล่ ๆ (ใกล้เคียง)
น้อง ๆ (เกือบ,ใกล้,คล้าย) หมู ๆ (ง่าย)
คําสมาส
คําสมาส คือ คําที่สร้างขึ้นใหม่โดยดัดแปลงจากหลักไวยากรณ์บาลี
และสันสกฤต เพื่อให้มีคาใช้มากขึ้นเช่นเดียวกับคําประสม
                          ํ
ลักษณะของคําสมาส
1. เกิดจากคํามูลตั้งแต่สองคําขึ้นไป
2. ต้องเป็ นคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต
3. พยางค์สุดท้ายของคําหน้าประวิสรรชนียหรื อเป็ นตัวการันต์ไม่ได้
                                          ์
เช่น
ธุระ + กิจ = ธุรกิจ         พละ + ศึกษา = พลศึกษา
ยุทธ์ + วิธี = ยุทธวิธี     แพทย์ + ศาสตร์ = แพทยศาสตร์
4. ในการแปลความหมายจะแปลจากคําหลังไปยังคําหน้า เช่น
ราชการ = ราช + การ แปลว่า งานของพระเจ้าแผ่นดิน
พุทธศาสนา = พุทธ + ศาสนา แปลว่า ศาสนาของพระพุทธเจ้า
5. ส่ วนมากออกเสี ยงพยางค์ทายของคําหน้า ถึงแม้ไม่มีรูปสระกํากับ
                           ้
จะต้องออกเสี ยงสระอะ เช่น
ชลประทาน อ่านว่า ชน - ละ - ประ - ทาน
เทพบุตร อ่านว่า เทบ - พะ - บุด
คําสมาสบางคําไม่ออกเสี ยงสระตรงพยางค์ทายของคําหน้า เช่น
                                        ้
รสนิยม อ่านว่า รด - นิ - ยม
สมัยนิยม อ่านว่า สะ - ไหม - นิ - ยม
เกตุมาลา อ่านว่า เกด - มา - ลา
6. คําบาลีสนสกฤตที่มีคา พระ ซึ่ งกลายเสี ยงมาจากคําบาลีสนสกฤต
           ั             ํ                                     ั
วร ประกอบข้างหน้า ถึงแม้คา พระ จะประวิสรรชนียกเ็ ป็ นคําสมาส
                              ํ                          ์
ด้วย เช่น พระกรรณ พระขรรค์ พระคทา พระจันทร์ พระฉวี
คําประสมและวลีซ่ ึ งมีลกษณะคล้ายคําสมาส เช่น เรี ยงคําขยายไว้
                       ั
ข้างหน้า ออกเสี ยงพยางค์ทายของคําขยาย มีคา พระ ประกอบข้าง
                           ้                    ํ
               ็
หน้าหรื อไม่กประกอบคําขึ้นจากคําที่มาจากภาษาบาลีสนสกฤต     ั
ทั้งหมด แต่อย่างไรก็ดี คําหรื อกลุ่มคําเหล่านี้ไม่จดเป็ นคําสมาส เพราะ
                                                   ั
ขาดคุณสมบัติสาคัญบางประการของคําสมาส คือไม่ใช่คาที่มาจาก
                 ํ                                           ํ
ภาษาบาลีสนสกฤตทั้งหมด เช่น เทพเจ้า เจ้า เป็ นคํา ไทย
             ั
                                 ่
ผลไม้ ไม้ เป็ นคํา ไทย คําตั้งอยูหน้าคําขยายถึงแม้มาจากภาษาบาลี
สันสกฤต เช่น การแพทย์ นายกสภา คดีโลก คดีธรรม ผลผลิต
คําสนธิ
คําสนธิ คือ คําที่สร้างขึ้นใหม่โดยดัดแปลงจากหลักไวยากรณ์บาลี
สันสกฤต เพื่อให้มีคาใช้มากขึ้นเช่นเดียวกับคําสมาส
                       ํ
ลักษณะคําสนธิ
1. เกิดจากคํามูลตั้งแต่ 2 คําขึ้นไป
2. ต้องเป็ นคําที่มาจากภาษาบาลีสนสกฤต
                                    ั
3. มีการเชื่อมคําโดยเปลี่ยนแปลงสระ พยัญชนะหรื อนฤคหิ ตของคําเดิม
4. ส่ วนมากเรี ยงคําที่มีความหมายหลักหรื อคําตั้งไว้หลังคําขยายไว้หน้า
ในการแปลความหมายแปลจากหลังไปยังคําหน้า
การสนธิในภาษาไทย มี 3 วิธี คือ
1. สระสนธิ คือ การเชื่อมเสี ยงของเสี ยงสระหลังของคําหน้ากับสระ
หน้าของคําหลังให้กลมกลืนกัน เช่น
วิทย+อาลัย เป็ น วิทยาลัย       มหา + โอฬาร เป็ น มโหฬาร
ธนู + อาคม เป็ น ธันวาคม        นร + อินทร เป็ น นเรนทร์
ราช + อุปถัมภ์ เป็ น ราชูปถัมภ์ สุ ข + อุทย เป็ น สุ โขทัย
                                           ั

                         ถ้าไม่ต้ งใจเรี ยน เดี๋ยว
                                  ั
                         จะเป็ นเหมือนผมนะ
2. พยัญชนะสนธิ คือ การเชื่อมเสี ยงพยัญชนะสุ ดท้ายของคําหน้ากับ
พยัญชนะหรื อสระหน้าของคําหลัง เช่น
มนัส + ภาพ เป็ น มโนภาพ รหัส + ฐาน เป็ น รโหฐาน
นิส + ทุกข์ เป็ น นิรทุกข์ กามน + เทว เป็ น กามเทพ
มนัส + ธรรม เป็ น มโนธรรม ศิรัส + เพฐน์ เป็ น ศิโรเพฐน์
3. นฤคหิ ตสนธิ คือ การเชื่อมเสี ยงสุ ดท้ายของคําหน้าที่เป็ นนฤคหิ ต
กับเสี ยงหน้าของคําหลังที่เป็ นสระหรื อพยัญชนะให้กลมกลืนกัน เช่น
ส + อาทาน เป็ น สมาทาน            ส + อาคม เป็ น สังคม
ส + จร เป็ น สัญจร
                      ศึกษาเนื้อหาจบแล้ว
                      เดี๋ยวมาทําแบบทดสอบ
                                      ั
                      ประเมินความรู ้กนนะ
                      ขอรับ
แบบทดสอบ
                เรื่อง การสร้ างคําในภาษาไทย
คําชี้แจง ให้นกเรี ยนเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้ว
                ั
ทําเครื่ องหมาย           ลงในกระดาษคําตอบ
1. คําคู่ใดต้องใช้เป็ นคําซํ้าเท่านั้น
      ก. งกๆ เงิ่นๆ
      ข. ชัวๆ ดีๆ
           ่
      ค. ข้างๆ คูๆ
      ง. หลบๆ ซ่อนๆ
2. คําซ้อนทุกคําในข้อใดมีโครงสร้างเช่นเดียวกับคําซ้อน
“ ใหญ่โตโอฬาร ”
     ก. ร้องรําทําเพลง , ปวดหัวตัวร้อน
     ข. แก้วแหวนเงินทอง , ข้าทาสบริ วาร
     ค. เหล้ายาปลาปิ้ ง , แม่น้ าลําคลอง
                                ํ
     ง. ภูตผีปีศาจ , เยือใยไมตรี
                        ่
3. ข้อใดไม่ ใช่ การสร้างคําใหม่ในภาษาไทย
     ก. ซํ้าคํา
     ข. ซ้อนคํา
     ค. ประสมคํา
     ง. สมาส สนธิ
4. คําประสมทุกคําในข้อใดมีส่วนประกอบเหมือนคําว่า
“คนพิมพ์ดีด”
      ก. เครื่ องตัดหญ้า รถลอยฟ้ า
      ข. ห้องนังเล่น ผ้ากันเปื้ อน
                 ่
      ค. คนเก็บขยะ นักการเมือง
      ง. หัวก้าวหน้า ผูใจบุญ
                          ้
 5. ข้อใดเป็ นคําซ้อนทั้งหมด
       ก . ข่มแหง โธ่ถง ั
       ข. ถ้วยชาม ครู บา
       ค. เลื่องลือ คลุกคลี
       ง. ตอบแทน ท้อแท้
6. ข้อใดมีคาซํ้าที่ใช้เป็ นคําเดี่ยวไม่ได้
               ํ
                         ่
   ก. กําลังเดิน ๆ อยูฝนก็ตก
   ข. เรื่ องนี้เกิดขึ้นจริ ง ๆ เชื่อฉันสิ
   ค. เปิ ดพัดลมเบา ๆ เดี๋ยวจะไม่สบาย
   ง. นักมวยฝ่ ายนํ้าเงินทําหน้างง ๆ เมื่อถูกจับแพ้
7. ข้อใดเป็ นคําซ้อนเพื่อเสี ยงทุกคํา
   ก. กะรุ่ งกะริ่ ง กระวีกระวาด หลุกหลิก
   ข. หนุงหนิง เหนอะหนะ ซ่อนเร้น
   ค. เกะกะ ทุกที อบรม
   ง. ทิ้งขว้าง ดูแล เลี้ยงดู
8. ข้อใดเป็ นคําสมาส
       ก. ผลไม้                  ข. ผลผลิต
       ค. ผลิตผล                 ง. ผลกรรม
 9. ข้อใดไม่ ใช่ คาซ้อนเพื่อความหมาย
                  ํ
       ก. กว้างขวาง              ข. เลือกสรร
       ค. คัดเลือก               ง. ฝึ กหัด
10. ข้อใดเป็ นคําซ้อนที่มีความหมายตรงกันข้าม
       ก. คํ่าคืน                ข. เท็จจริ ง
       ค. ดอกดวง                 ง. ซอกซอย
เฉลยแบบทดสอบ
ข้ อ 1.   ค             ข้ อ 6. ค
ข้ อ 2.   ง             ข้ อ 7. ก
ข้ อ 3.   ง             ข้ อ 8. ค
ข้ อ 4.   ข             ข้ อ 9. ก
ข้ อ 5.   ข             ข้ อ 10. ข

               ไม่ ยากใช่ ไหม ขยันอ่ าน
              หมดกองนีกฉลาดเองครับ
                          ้็

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
ssuser456899
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
sukuman139
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ssuser456899
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
พัน พัน
 

Was ist angesagt? (20)

แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
เครื่องหมายวรรคตอน
เครื่องหมายวรรคตอนเครื่องหมายวรรคตอน
เครื่องหมายวรรคตอน
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพยสำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 

Andere mochten auch (11)

Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
คำ
คำคำ
คำ
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 

Ähnlich wie การสร้างคำในภาษาไทย

การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
Thanit Lawyer
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
Anan Pakhing
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
Thanit Lawyer
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
Kittitus Sa-admoang
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
Nook Kanokwan
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 

Ähnlich wie การสร้างคำในภาษาไทย (20)

การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
 
1276933222 morpheme
1276933222 morpheme1276933222 morpheme
1276933222 morpheme
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
Unit 1 nouns & articles
Unit 1   nouns & articlesUnit 1   nouns & articles
Unit 1 nouns & articles
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 

การสร้างคำในภาษาไทย

  • 1. การสร้ างคําในภาษาไทย นางนันทวรรณ สามคํา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย สํ านักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต๓๖ ้ ่
  • 2. คํามูล คํามูล เป็ นคําที่มีความหมายชัดเจนในตัว อาจเป็ นคําพยางค์ เดียวหรื อหลายพยางค์ เป็ นคําไทยแท้หรื อคําที่ยมมาจากภาษาอื่นก็ได้ ื สําหรับคํามูลที่ยมมาจากภาษาอื่น ไม่คานึงว่าคําเดิมเป็ นคําที่ ื ํ ประกอบด้วยคําอื่นอยูก่อนหรื อไม่เมื่อนํามาใช้ใน ภาษาไทยจัดเป็ นคํา ่ มูลทั้งสิ้ น คํามูลหลายพยางค์อาจประกอบด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมาย หรื อมีความหมายทั้งหมด หรื ออาจประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมาย กับพยางค์ที่ไม่มีความหมาย แต่อย่างไรก็ดีเมื่อพยางค์ดงกล่าวรวมกัน ั เป็ นคําแล้ว ย่ อมเกิดความหมายใหม่ โดยไม่ เกียวเนื่องกับความหมาย ่ ของพยางค์ เดิม
  • 3. ลักษณะของคํามูล คํามูลหลายพยางค์ ทเี่ กิดจากพยางค์ ทไม่ มีความหมาย ี่ เช่น กิ้งก่า ฉํ่าฉ่า ไฉไล คํามูลหลายพยางค์ ทเี่ กิดจากพยางค์ ทมความหมาย ี่ ี เช่น กะลาสี นาที สับปะรด คํามูลหลายพยางค์ ทเี่ กิดจากพยางค์ ทมความหมายและไม่ มี ี่ ี ความหมาย เช่น จิปาถะ กํามะลอ นาฬิกา มองอะไรกันจ๊ ะ เด็ก ๆ
  • 4. ทีมาของคํามูล อาจเป็ นคําไทยแท้หรื อเป็ นคํายืมก็ได้ ่ คํามูลพยางค์ เดียวทีเ่ ป็ นคําไทยแท้ เช่น พ่อ แม่ หู ตา ดิน นํ้า ถ้วย ชาม มีด จอบ กิน นอน ใหญ่ เล็ก ผอม ดํา แดง คํามูลหลายพยางค์ ทเี่ ป็ นคําไทยแท้ เช่น กระตือรื อร้น โพนทะนา สาละวน คํามูลพยางค์ เดียวทีเ่ ป็ นคํายืม เช่น กิจ ขันธ์ คช ชอล์ก ฟรี เก๋ เพ็ญ เดิน เซ้ง โกรธ โธ่ คํามูลหลายพยางค์ ทเ่ี ป็ นคํายืม เช่น บิดา มารดา จักษุ ศีรษะ จรัส ไผท กะลาสี ปะการัง ฟุตบอล ไมโครฟิ ล์ม
  • 5. ข้ อสั งเกตคํามูล ่ คํามูลหลายพยางค์ ควรดูวาในคําหลายพยางค์น้ นมีความหมายทุก ั พยางค์หรื อไม่ ถ้ามีความหมายบ้างไม่มีความหมายบ้างเป็ นคํามูล หลายพยางค์ เช่น มะละกอ = คํามูล 3 พยางค์ นาฬิ กา = คํามูล 3 พยางค์ มะ = ไม่มีความหมาย นา = มีความหมาย ละ = ไม่มีความหมาย ฬิ = ไม่มีความหมาย กอ = มีความหมาย กา = มีความหมาย
  • 6. คําประสม คําประสม คือ การนําคํามูลที่มีใช้ในภาษาไทยมารวมกัน ตั้งแต่ 2 คําขึ้นไปทําให้เกิดคําใหม่ มีความหมายใหม่ การสร้างคําประสม เป็ นวิธีการสร้างคําในภาษาไทย มี ลักษณะดังนี้คือ 1. คําประสมที่นาคํามูลมาประสมกันแล้วมีความหมายเป็ นอีก ํ อย่างหนึ่งแต่ยงคงเค้าความหมายเดิมของคํามูลอยู่ เช่น ั แม่ + นํ้า = แม่น้ า หมายถึง แหล่งรวมของสายนํ้าหลัก ํ แม่ + ยาย = แม่ยาย หมายถึง แม่ของภรรยาที่ลูกเรี ยกว่ายาย เล็บ + มือ + นาง = เล็บมือนาง หมายถึง ชื่อดอกไม้ ,ขนม
  • 7. 2. คําประสมที่นาคํามูลมาประสมกันแล้ว ความหมายเปลี่ยน ํ ไปจากความหมายของคํามูลเดิม เช่น เสี ย + ใจ = เสี ยใจ หมายถึง รู ้สึกไม่สบายใจเพราะมีเรื่ องไม่ สมประสงค์ ขาย + หน้า = ขายหน้า หมายถึง อับอาย สู ้ตายครับ ...ไม่ยาก หรอกครับ
  • 8. 3. คําประสมที่นาคํามูลมาประสมกับคํามูลที่ยอข้อความ ํ ่ ยาวๆให้ส้ นเข้า ได้แก่คาเหล่านี้ เช่น ั ํ ช่าง - ช่างเขียน ช่างทอง ช่างปูน ช่างไม้ ช่างเหล็ก ชาว - ชาวเมือง ชาวบ้าน ชาวนา ชาวชนบท ชาววัง เครื่ อง - เครื่ องใช้ เครื่ องครัว เครื่ องเขียน เครื่ องบิน นัก - นักเรี ยน นักประพันธ์ นักร้อง นักศึกษา หมอ - หมอความ หมองู หมอลํา หมอดู หมอยา ของ - ของรัก ของเล่น ของใช้ ของกิน ของคาว ที่ - ที่นอน ที่อยู่ ที่ราบ ที่ดิน ที่เล่น การ - การบ้าน การสงคราม การประปา การเมือง ความ - ความแพ่ง ความอาญา ความวัว ความควาย
  • 9. 4. คําประสมทีสร้ างขึนจะนําคําไทยประสมกับคําไทยหรือคํา ่ ้ ภาษาอืนมาประสมกับคําไทยก็ได้ เช่ น ่ คําไทย + คําเขมร เช่น ของขลัง นายตรวจ ดาวประกายพรึ ก คําไทย + คําจีน เช่น กินโต๊ะ เข้าหุน บะหมี่แห้ง นายห้าง ้ คําไทย + คําอังกฤษ เช่น เรี ยงเบอร์ แป๊ บนํ้า นํ้าก๊อก พวงหรี ด คําไทย + คําบาลีหรือสั นสกฤต เช่น รถไฟ เครื่ องคิดเลข ตูนิรภัย ้ แม่พิมพ์
  • 10. 5. คําประสมทีสร้ างขึนโดยนําคําไทยกับคําบาลีสันสกฤต ่ ้ หรือคําเขมรมาประสมกันและอ่ านออกเสี ยงต่ อเนื่องเหมือนอ่ าน คําสมาสในภาษาบาลีและสั นสกฤต เช่น พลเมือง ผลไม้ คุณค่า ทุนทรัพย์ ไม่ได้เป่ าปี่ ใส่ หูใครนะครับ
  • 11. ข้ อสั งเกตคําประสม 1. คําประสมจะเป็ นวิทยาการสมัยใหม่ เช่น เตารี ด หม้อหุ งข้าวไฟฟ้ า เครื่ องปรับอากาศ พัดลม ตูเ้ ย็น เครื่ องอบผ้า เครื่ องซักผ้า ฯลฯ 2. คําประสมเป็ นคําเดียวกันจะแยกออกจากกันไม่ได้ ความหมายจะไม่ เหมือนเดิม เช่น นางแบบ รับรอง มนุษย์กบ 3. วิธีสงเกตคําประสมมักจะมีลกษณนามให้เห็นอย่างเด่นชัด เช่น ั ั ใบนี้ คนนี้ ชุดนี้ ฯลฯ เช่น วันนี้ไม่มีคนใช้คนนี้ เลย (คําประสม) 4. คําประสมที่ข้ ึนตนด้วยคําว่า “ลูก, แม่” ต้องหมายถึงคนจึงจะเป็ นคํา ประสม เช่น ลูกเสื อ (คน) แม่มด (คน) ถ้าเป็ นลูกของเสื อ แม่ของมด จะเป็ นคําเรี ยงกันธรรมดา ยกเว้น ลูกนํ้าเป็ นคําประสม เพราะมีความหมายเปลี่ยนไป ไม่ใช่ลูกของนํ้า แต่เป็ นลูกของยุง
  • 12. คําซ้ อน คําซ้ อน คือ การนําคําที่มีความหมายเหมือนกัน หรื อคล้าย กัน หรื อประเภทเดียวกันมาเรี ยงซ้อนกัน เมื่อ ซ้อนคําแล้วทําให้เกิด ความหมายใหม่ข้ ึน แต่ยงเค้าความหมายเดิมอยู่ หรื อความหมายอาจ ั ไม่เปลี่ยนไป แต่ความหมายของคําหน้าจะชัดเจนยิงขึ้น เช่น รู ปภาพ ่ บ้านเรื อน ทรัพย์สิน คับแคบ เป็ นต้น
  • 13. คําซ้อน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ (1.) คําซ้ อนเพือความหมาย มีลกษณะเป็ นการนําคําที่มีความหมาย ่ ั สมบูรณ์มาซ้อนกัน และคําที่นามาซ้อนกันมีความหมายคล้ายกันหรื อ ํ ใกล้เคียงกัน หรื อเป็ นไปในทํานองเดียวกัน คําที่ซอนกันจะมีลกษณะ ้ ั ดังนี้ 1. คําไทยซ้อนคําไทย เนื่องจากคําไทยเป็ นภาษาคําโดด เพื่อให้ได้ ความหมายแน่นอนจึงนําคําไทยที่มีความหมายใกล้เคียงกันมาซ้อนกัน เช่น ใหญ่โต เรื อแพ เติบโต เสื่ อสาด มากมาย อ้วนพี ยืนยัน เป็ นต้น อะไรกันนี่ครับพี่นอง ้
  • 14. 2. คําไทยซ้ อนคําต่ างประเทศ เป็ นการนําคําไทยซ้อนกับภาษาบาลี, สันสกฤต,เขมรหรื อภาษาอื่น เช่น คําไทยซ้อนคําบาลีและสันสกฤต เช่น ซากศพ รู ปร่ าง ทรัพย์สิน ข้าทาส จิตใจ ซื่ อสัตย์ นัยน์ตา สู ญหาย สาปแช่ง แก่นสาร คําไทยซ้อนคําเขมร เช่น เขียวขจี เงียบสงัด แบบฉบับ ถนน หนทาง ทรวงอก แสวงหา ยกเลิก คําไทยซ้อนคําจีน เช่น กักตุน ต้มตุ๋น นังจ๋ อ หุนส่ วน ชื่อแซ่ ่ ้ ห้างร้าน คําไทยซ้อนภาษาอังกฤษ เช่น แบบแปลน แบบฟอร์ม
  • 15. 3. คําต่ างประเทศซ้ อนคําต่ างประเทศ เช่น คําบาลีกบคําสันสกฤต เช่น อิทธิฤทธิ์ มิตรสหาย เหตุการณ์ ั ทรัพย์สมบัติ คําเขมรกับคําบาลีหรื อสันสกฤต เช่น สรงสนาน สุ ขสงบ เสบียงอาหาร คําเขมรกับคําเขมร เช่น สงบเสงี่ยม เลอเลิศ เฉลิมฉลอง
  • 16. (2.) คําซ้ อนเพือเสี ยง เป็ นการนําคําที่มีความหมายคล้ายคลึงกันมา ่ ซ้อนกัน เพื่อให้ออกเสี ยงง่ายขึ้นและมีเสี ยงคล้องจองกันทําให้เกิด ความไพเราะขึ้น คําซ้อนเพื่อเสี ยงนี้บางทีเรี ยกว่าคําคู่ หรื อคําควบคู่ วิธีซ้อนคําเพือเสี ยง ่ 1. นําคําที่มีพยัญชนะตัวเดียวกัน แตกต่างกันที่เสี ยงสระ นํามาซ้อน หรื อควบคู่กน เช่น เรอร่ า เซ่อซ่า อ้อแอ้ จูจ้ ี เงอะงะ เหนอะหนะ จอแจ ั ้ ร่ อแร่ เตาะแตะ ชิงชังจริ งจัง ตูมตาม ตึงตัง อึกอัก ทึกทัก โฉ่งฉ่าง หมองหมาง อุยอ้าย โอ้กอ้าก ้
  • 17. 2. นําคําแรกที่มีความหมายมาซ้อนกับคําหลัง ซึ่ งไม่มีความหมาย เพื่อให้คล้องจองและออกเสี ยงได้สะดวก โดยเสริ มคําข้างหน้าหรื อข้าง หลังก็ได้ ทําให้เน้นความเน้นเสี ยงได้หนักแน่ โดยมากใช้ในภาษาพูด เช่น กวาดแกวด กินแกน พูดเพิด ดีเดอ เดินแดน มอมแมม ดีเด่ ไปเปย มองเมิง หูเหื อง ชามแชม กระดูกกระเดี้ยว 3. นําคําที่มีพยัญชนะต้นต่างกันแต่เสี ยงสระเดียวกันมาซ้อนกันหรื อ ควบคู่กน เช่นเบ้อเร่ อ แร้นแค้น จิ้มลิ้ม ออมซอม อ้างว้าง ั 4. นําคําที่มีพยัญชนะต้นเหมือนกัน สระเสี ยงเดียวกัน แต่ตวสะกด ั ต่างกันมาซ้อนกัน หรื อควบคู่กน เช่น ลักลัน อัดอั้น หย็อกหย็อย ั ่
  • 18. 5. คําซ้อนบางคํา ใช้คาที่มีความหมายใกล้เคียงกันมาซ้อนกันและเพิ่ม ํ พยางค์ เพื่อให้ออกเสี ยงสมดุลกัน เช่น ขโมยโจร เป็ นขโมยขโจร สะกิดเกา เป็ น สะกิดสะเกา 6. คําซ้อนบางคําอาจจะเป็ นคําซ้อนที่เป็ นคําคู่ ซึ่ งมี 4 คํา และมีสมผัสคู่ ั กลางหรื อคําที่ 1 และคําที่ 3 ซํ้ากัน คําซ้อนในลักษณะนี้เป็ นสํานวน ไทยความหมายของคําจะปรากฏที่คาหน้าหรื อคําท้าย หรื อปรากฏที่คา ํ ํ ข้างหน้า 2 คํา ส่ วนคําท้าย 2 ตัว ไม่ปรากฏความหมาย เช่น เกะกะ ระราน กระโดดโลดเต้น บ้านช่องห้องหอ เรื อแพนาวา ข้าเก่าเต่าเลี้ยง กตัญญูรู้คุณ ผลหมากรากไม้ โกหกพกลม ติดอกติดใจ เข้าไต้เข้าไฟ ถึง พริ กถึงขิง ร้อนอกร้อนใจ
  • 19. คําซํ้า คําซํ้า คือ คําที่เกิดจากคํามูลซํ้ากัน มีความหมายใหม่ อาจ เน้นหนักหรื อเบาลงไปหรื อเปลี่ยนเป็ นอย่างอื่น คําซํ้าจะถือว่าเป็ นคํา ประสมชนิดหนึ่งก็ได้ ลักษณะของคําซํ้ามีลกษณะสํ าคัญดังนี้ ั 1. อาจเป็ นคําชนิดใดและทําหน้าที่ใดก็ได้ เช่น นาม สรรพนาม กริ ยา วิเศษณ์ 2. นําคําหนึ่ง ๆ มาซํ้ากันสองครั้ง เช่น เด็ก ๆ เล็ก ๆ เล่น ๆ 3. นําคําซ้อนมาแยกซํ้ากัน เช่น ลูบคลํา เป็ น ลูบ ๆ คลํา ๆ เปรอะเปื้ อน เป็ น เปรอะ ๆ เปื้ อน ๆ นุ่มนิ่ม เป็ น นุ่ม ๆ นิ่ม ๆ 4. นําคําซํ้ามาประสมกัน เช่น งู ๆ ปลา ๆ ไป ๆ มา ๆ ชัว ๆ ดี ๆ ่
  • 20. ความหมายของคําซํ้า คําซํ้าเปลียนไปจากคําเดิมได้ ต่าง ๆ เช่น ่ 1. บอกพหูพจน์ คําเดิมอาจเป็ นเอกพจน์หรื อพหูพจน์ กลายเป็ นพหูพจน์ อย่างเดียว เช่น เขาเล่นกับเพื่อน (เอกพจน์หรื อพหูพจน์) เขาเล่นกับเพื่อน ๆ (พหูพจน์) ่ ่ พี่อยูในห้อง (เอกพจน์หรื อพหูพจน์) พี่ ๆ อยูในห้อง (พหูพจน์) 2. บอกความเน้นหนัก วิเศษณ์บางคําเมื่อเป็ นคําซํ้ามีความหมาย เน้นหนักกว่าเดิม โดยมากเปลี่ยนเสี ยงคําแรกเป็ นเสี ยงดนตรี สวย ๆ เป็ น ซ้วยสวย ดี ๆ เป็ น ดี๊ดี ใหญ่ ๆ เป็ น ไย้ใหญ่ แดง ๆ เป็ น แด๊งแดง
  • 21. 3. บอกความไม่เน้นหนัก วิเศษณ์บางคําเมื่อเป็ นคําซํ้าความหมาย คลายความเน้นหนักกว่าเดิม คําซํ้าประเภทนี้ไม่เปลี่ยนเสี ยงวรรณยุกต์ ของคําแรก เช่น สวย (สวยจริ ง) สวย ๆ (ไม่สวยทีเดียว) ดี (ดีจริ ง) ดี ๆ (ไม่ดีทีเดียว) 4. บอกคําสัง วิเศษณ์ที่เป็ นคําซํ้าเมื่อประกอบกริ ยา จะเน้นความและ ่ บอกคําสัง เช่น อยูเ่ งียบ (วลี) อยูเ่ งียบ ๆ (ประโยคคําสัง) ่ ่ พูดดัง (วลี) พูดดัง ๆ (ประโยคคําสัง) ่ 5. เปลี่ยนความหมายใหม่ คําซํ้าบางคําเปลี่ยนความหมายใหม่โดยไม่ มีเค้าของความหมายเดิม เช่น กล้วย ๆ (ง่าย) ไล่ ๆ (ใกล้เคียง) น้อง ๆ (เกือบ,ใกล้,คล้าย) หมู ๆ (ง่าย)
  • 22. คําสมาส คําสมาส คือ คําที่สร้างขึ้นใหม่โดยดัดแปลงจากหลักไวยากรณ์บาลี และสันสกฤต เพื่อให้มีคาใช้มากขึ้นเช่นเดียวกับคําประสม ํ ลักษณะของคําสมาส 1. เกิดจากคํามูลตั้งแต่สองคําขึ้นไป 2. ต้องเป็ นคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต 3. พยางค์สุดท้ายของคําหน้าประวิสรรชนียหรื อเป็ นตัวการันต์ไม่ได้ ์ เช่น ธุระ + กิจ = ธุรกิจ พละ + ศึกษา = พลศึกษา ยุทธ์ + วิธี = ยุทธวิธี แพทย์ + ศาสตร์ = แพทยศาสตร์
  • 23. 4. ในการแปลความหมายจะแปลจากคําหลังไปยังคําหน้า เช่น ราชการ = ราช + การ แปลว่า งานของพระเจ้าแผ่นดิน พุทธศาสนา = พุทธ + ศาสนา แปลว่า ศาสนาของพระพุทธเจ้า 5. ส่ วนมากออกเสี ยงพยางค์ทายของคําหน้า ถึงแม้ไม่มีรูปสระกํากับ ้ จะต้องออกเสี ยงสระอะ เช่น ชลประทาน อ่านว่า ชน - ละ - ประ - ทาน เทพบุตร อ่านว่า เทบ - พะ - บุด คําสมาสบางคําไม่ออกเสี ยงสระตรงพยางค์ทายของคําหน้า เช่น ้ รสนิยม อ่านว่า รด - นิ - ยม สมัยนิยม อ่านว่า สะ - ไหม - นิ - ยม เกตุมาลา อ่านว่า เกด - มา - ลา
  • 24. 6. คําบาลีสนสกฤตที่มีคา พระ ซึ่ งกลายเสี ยงมาจากคําบาลีสนสกฤต ั ํ ั วร ประกอบข้างหน้า ถึงแม้คา พระ จะประวิสรรชนียกเ็ ป็ นคําสมาส ํ ์ ด้วย เช่น พระกรรณ พระขรรค์ พระคทา พระจันทร์ พระฉวี คําประสมและวลีซ่ ึ งมีลกษณะคล้ายคําสมาส เช่น เรี ยงคําขยายไว้ ั ข้างหน้า ออกเสี ยงพยางค์ทายของคําขยาย มีคา พระ ประกอบข้าง ้ ํ ็ หน้าหรื อไม่กประกอบคําขึ้นจากคําที่มาจากภาษาบาลีสนสกฤต ั ทั้งหมด แต่อย่างไรก็ดี คําหรื อกลุ่มคําเหล่านี้ไม่จดเป็ นคําสมาส เพราะ ั ขาดคุณสมบัติสาคัญบางประการของคําสมาส คือไม่ใช่คาที่มาจาก ํ ํ ภาษาบาลีสนสกฤตทั้งหมด เช่น เทพเจ้า เจ้า เป็ นคํา ไทย ั ่ ผลไม้ ไม้ เป็ นคํา ไทย คําตั้งอยูหน้าคําขยายถึงแม้มาจากภาษาบาลี สันสกฤต เช่น การแพทย์ นายกสภา คดีโลก คดีธรรม ผลผลิต
  • 25. คําสนธิ คําสนธิ คือ คําที่สร้างขึ้นใหม่โดยดัดแปลงจากหลักไวยากรณ์บาลี สันสกฤต เพื่อให้มีคาใช้มากขึ้นเช่นเดียวกับคําสมาส ํ ลักษณะคําสนธิ 1. เกิดจากคํามูลตั้งแต่ 2 คําขึ้นไป 2. ต้องเป็ นคําที่มาจากภาษาบาลีสนสกฤต ั 3. มีการเชื่อมคําโดยเปลี่ยนแปลงสระ พยัญชนะหรื อนฤคหิ ตของคําเดิม 4. ส่ วนมากเรี ยงคําที่มีความหมายหลักหรื อคําตั้งไว้หลังคําขยายไว้หน้า ในการแปลความหมายแปลจากหลังไปยังคําหน้า
  • 26. การสนธิในภาษาไทย มี 3 วิธี คือ 1. สระสนธิ คือ การเชื่อมเสี ยงของเสี ยงสระหลังของคําหน้ากับสระ หน้าของคําหลังให้กลมกลืนกัน เช่น วิทย+อาลัย เป็ น วิทยาลัย มหา + โอฬาร เป็ น มโหฬาร ธนู + อาคม เป็ น ธันวาคม นร + อินทร เป็ น นเรนทร์ ราช + อุปถัมภ์ เป็ น ราชูปถัมภ์ สุ ข + อุทย เป็ น สุ โขทัย ั ถ้าไม่ต้ งใจเรี ยน เดี๋ยว ั จะเป็ นเหมือนผมนะ
  • 27. 2. พยัญชนะสนธิ คือ การเชื่อมเสี ยงพยัญชนะสุ ดท้ายของคําหน้ากับ พยัญชนะหรื อสระหน้าของคําหลัง เช่น มนัส + ภาพ เป็ น มโนภาพ รหัส + ฐาน เป็ น รโหฐาน นิส + ทุกข์ เป็ น นิรทุกข์ กามน + เทว เป็ น กามเทพ มนัส + ธรรม เป็ น มโนธรรม ศิรัส + เพฐน์ เป็ น ศิโรเพฐน์
  • 28. 3. นฤคหิ ตสนธิ คือ การเชื่อมเสี ยงสุ ดท้ายของคําหน้าที่เป็ นนฤคหิ ต กับเสี ยงหน้าของคําหลังที่เป็ นสระหรื อพยัญชนะให้กลมกลืนกัน เช่น ส + อาทาน เป็ น สมาทาน ส + อาคม เป็ น สังคม ส + จร เป็ น สัญจร ศึกษาเนื้อหาจบแล้ว เดี๋ยวมาทําแบบทดสอบ ั ประเมินความรู ้กนนะ ขอรับ
  • 29. แบบทดสอบ เรื่อง การสร้ างคําในภาษาไทย คําชี้แจง ให้นกเรี ยนเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้ว ั ทําเครื่ องหมาย ลงในกระดาษคําตอบ 1. คําคู่ใดต้องใช้เป็ นคําซํ้าเท่านั้น ก. งกๆ เงิ่นๆ ข. ชัวๆ ดีๆ ่ ค. ข้างๆ คูๆ ง. หลบๆ ซ่อนๆ
  • 30. 2. คําซ้อนทุกคําในข้อใดมีโครงสร้างเช่นเดียวกับคําซ้อน “ ใหญ่โตโอฬาร ” ก. ร้องรําทําเพลง , ปวดหัวตัวร้อน ข. แก้วแหวนเงินทอง , ข้าทาสบริ วาร ค. เหล้ายาปลาปิ้ ง , แม่น้ าลําคลอง ํ ง. ภูตผีปีศาจ , เยือใยไมตรี ่ 3. ข้อใดไม่ ใช่ การสร้างคําใหม่ในภาษาไทย ก. ซํ้าคํา ข. ซ้อนคํา ค. ประสมคํา ง. สมาส สนธิ
  • 31. 4. คําประสมทุกคําในข้อใดมีส่วนประกอบเหมือนคําว่า “คนพิมพ์ดีด” ก. เครื่ องตัดหญ้า รถลอยฟ้ า ข. ห้องนังเล่น ผ้ากันเปื้ อน ่ ค. คนเก็บขยะ นักการเมือง ง. หัวก้าวหน้า ผูใจบุญ ้ 5. ข้อใดเป็ นคําซ้อนทั้งหมด ก . ข่มแหง โธ่ถง ั ข. ถ้วยชาม ครู บา ค. เลื่องลือ คลุกคลี ง. ตอบแทน ท้อแท้
  • 32. 6. ข้อใดมีคาซํ้าที่ใช้เป็ นคําเดี่ยวไม่ได้ ํ ่ ก. กําลังเดิน ๆ อยูฝนก็ตก ข. เรื่ องนี้เกิดขึ้นจริ ง ๆ เชื่อฉันสิ ค. เปิ ดพัดลมเบา ๆ เดี๋ยวจะไม่สบาย ง. นักมวยฝ่ ายนํ้าเงินทําหน้างง ๆ เมื่อถูกจับแพ้ 7. ข้อใดเป็ นคําซ้อนเพื่อเสี ยงทุกคํา ก. กะรุ่ งกะริ่ ง กระวีกระวาด หลุกหลิก ข. หนุงหนิง เหนอะหนะ ซ่อนเร้น ค. เกะกะ ทุกที อบรม ง. ทิ้งขว้าง ดูแล เลี้ยงดู
  • 33. 8. ข้อใดเป็ นคําสมาส ก. ผลไม้ ข. ผลผลิต ค. ผลิตผล ง. ผลกรรม 9. ข้อใดไม่ ใช่ คาซ้อนเพื่อความหมาย ํ ก. กว้างขวาง ข. เลือกสรร ค. คัดเลือก ง. ฝึ กหัด 10. ข้อใดเป็ นคําซ้อนที่มีความหมายตรงกันข้าม ก. คํ่าคืน ข. เท็จจริ ง ค. ดอกดวง ง. ซอกซอย
  • 34. เฉลยแบบทดสอบ ข้ อ 1. ค ข้ อ 6. ค ข้ อ 2. ง ข้ อ 7. ก ข้ อ 3. ง ข้ อ 8. ค ข้ อ 4. ข ข้ อ 9. ก ข้ อ 5. ข ข้ อ 10. ข ไม่ ยากใช่ ไหม ขยันอ่ าน หมดกองนีกฉลาดเองครับ ้็