SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 19
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและเป็นยุคสารสนเทศ ไม่ว่าเรา
จะทาอะไรก็สะดวกสบายไปเสียหมด จะติดตามข่าวสารต่างๆ ก็
สะดวกสบายขึ้น การติดต่อสื่อสารก็ง่ายขึ้น ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทา
ให้ทุกอย่างนั้นสะดวกขึ้นเป็นอย่างมาก แม้กระทั่งการทางานของเราก็
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
สะดวกขึ้น เพราะปัจจุบันนี้ ในการทางานก็มีเทคโนโลยีเข้ามา
เกี่ยวข้อง ที่เห็นง่ายๆ เลย ก็คือ การนาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในหน่วยงาน ไม่ว่า
จะเป็นหน่วยงานราชการหรือหน่วยงานเอกชนล้วนแล้วแต่นาคอมพิวเตอร์เข้ามา
เป็นส่วนหนึ่งในการทางานทั้งนั้น แล้วรู้กันหรือไหมว่า คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่
ทุกวันนั้นมีส่วนประกอบอะไรบ้าง และมีความสาคัญอย่างไร วันนี้เรามารู้จักกับ
คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่เราใช้งานกัน
อยู่ดีกว่า
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์หลักๆ
รู้กันมั้ยว่าส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง คอมพิวเตอร์นั้นมีส่วนประกอบ
หลักๆ อยู่ 4 ส่วนด้วยกัน เริ่มจาก
1. โปรเซสเซอร์ (Processor) นั่นก็คือหน่วยประผลกลางหรือที่รู้จักกันในนามของซีพียู
(CPU) นั่นเอง หรือเรียกว่าซิป ซึ่งส่วนนี้มีความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะว่ามี
หน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้ อนเข้ามา ซึ่งซีพียูนั้นมีรุ่นต่างๆ ออกมาวางขายตาม
ท้องตลาดมากมาย ซึ่งแต่ละรุ่นก็ราคาแตกต่างกันออกไป
2. หน่วยความจา (Memory) หรือ RAM นั่นเอง ซึ่ง RAM นั้นเป็นหน่วยความจา
หลักที่จาเป็นในการเก็บข้อมูลต่างๆ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าหน่วยความจาสารองนั่นเอง
ก็คือจะเก็บข้อมูลชั่วคราว ซึ่งหน่วยความจาแรมจะทาหน้าที่เก็บชุดคาสั่งและข้อมูลที่ระบบ
คอมพิวเตอร์กาลังทางานอยู่ด้วย
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์หลักๆ
3. ส่วนอินพุต/เอาต์พุต (Input/Output) ก็คืออุปกรณ์ที่ทาให้คอมพิวเตอร์
สามารถสัมผัสและรับรู้สิ่งต่าง ๆ เช่น เครื่องอ่านบัตร คีย์บอร์ด เมาส์ สแกนเนอร์
และอุปกรณ์ Output ก็ได้แก่พวก เครื่องพิมพ์ จอภาพ
4. สื่อจัดเก็บข้อมูล (Storage) นั่นก็คือสื่อที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล เช่น
ฮาร์ดดิสก์ ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
จอภาพ หรือ monitor เป็นอุปกรณ์การแสดงผลที่สาคัญที่สุด จะเป็น
ส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง เพราะเราสามารถมองเห็นข้อมูลที่ที่แสดง
ผลได้โดยผ่านจอภาพของเรา จอภาพของคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2
แบบ คือจอแบบซีอาร์ที และจอแบบแอลซีดี ซึ่งจอภาพ 2 แบบนี้มีลักษณะ
ที่แตกต่างกันในเรื่องของรูปแบบ นั้นก็คือจอแบบซีอาร์ที (CRT) ส่วน
ใหญ่เป็นจอภาพที่นิยมใช้สาหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ มีขนาดใหญ่คล้าย
โทรทัศน์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
เมื่อก่อนได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แต่เมื่อจอภาพแบบแอล
ซีดี (LCD) เข้ามาแทน จอภาพแบบซีอาร์ทีก็เริ่มมีน้อยลงจนใน
ปัจจุบันนี้เราแทบไม่เห็นร้านขายคอมพิวเตอร์มีจอแบบนี้วางขายอีก
แล้ว ส่วนจอภาพแบบแอลซีดีนั้นมีทั้งแบบที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ตั้ง
โต๊ะและในแบบของโน๊ตบุ๊ค เนื่องจากเป็นจอภาพที่มีขนาดรูปร่างที่
บางทาให้สะดวกสาหรับการพกพาไปไหนมาไหน แต่จอภาพแบบ
แอลซีดีนี้ก็มีราคาที่แพงกว่าจอภาพแบบซีอาร์ที
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
เคส (case) คือ กล่องหรือ
โครงสร้างสาหรับเก็บประกอบ
อุปกรณ์ต่างๆ คอมพิวเตอร์ไว้
ภายในนั้น ซึ่งขนาดของเคสก็จะ
แตกต่างกันออกไป แล้วแต่การใช้
งานหรือความเหมาะสมในการใช้
งานของแต่ละคนรวมทั้งสถานที่
เก็บอุปกรณ์เหล่านั้นด้วยว่ามี
ขนาดพื้นที่มากน้อยเพียงใด และ
ในตัวเคสก็จะมีในส่วนของพาว
เวอร์ซัพพลายติดมาด้วย
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
พาวเวอร์ซัพพลาย (Power
Supply) เ ป็ น อุป ก ร ณ์ ที่ ท า
หน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้ า
ให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์
ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อ
พวงเยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอม
ไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ ก็ควรเลือกพาว
เวอร์ซัพพลายที่มีจานวนวัตต์สูง
เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแสไฟได้
เพียงพอต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
คีย์บอร์ดหรือแป้ นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง
จะต้องมี เนื่องจากตัวคีย์บอร์ดใช้สาหรับการพิมพ์หรือป้ อมข้อมูลต่างลงไปในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ในตัวคีย์บอร์ดจะมีทั้งที่เป็นตัวอักษรที่เป็นภาษาหลักของแต่ละประเทศ
รวมทั้งภาษาหลักอย่างภาษาอังกฤษอยู่ด้วย และยังมีข้อมูลทั้งตัวเลขและฟังก์ชัน
ต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับการใช้งานและอื่นๆ อีก เพื่อใช้สาหรับลงข้อมูลในตัวเครื่องของ
เรา โดยส่วนใหญ่แล้วคีย์บอร์ดมีลักษณะที่เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือมีลักษณะที่
ใกล้เคียงกัน แต่ในปัจจุบันก็อาจมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป แล้วแต่ความคิด
สร้างสรรค์ของคนออกแบบนั้นเอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) เป็นอุปกรณ์
ที่ใช้สาหรับบันทึกข้อมูลหรือเก็บข้อมูล
ของคอมพิวเตอร์ และเป็นอุปกรณ์ที่ติด
มาพร้อมกันกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่ง
ตัวฮาร์ดดิสก์จะมีลักษณะเป็ นรูป
สี่เหลี่ยมและมีแผงวงจรสาหรับควบคุม
การทางานอยู่ด้านล่างและช่องสาหรับ
เสียบสายไฟเลี้ยงและสายสัญญาณ
ต่างๆ โดยที่ส่วนประกอบภายในจะปิด
ไว้อย่างมิดชิดเพื่อป้ องกันอันตรายที่จะ
เกิดขึ้น
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
เมนบอร์ด (Main board) เป็นแผ่นวงจรไฟฟ้ าแผ่นใหญ่ที่รวมเอา
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญๆ ไว้ด้วยกัน ซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุม การ
ทางานของ อุปกรณ์ต่างๆ ภายในพีชีทั้งหมด
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
ซีพียู (CPU) มีหน้าที่ในการประมวลผลหรือเรียกว่าโปรเซสเซอร์
หรือชิป เป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมากเนื่องจากมีหน้าที่ในการ
ประมวลผลจากการป้ อนข้อมูลลงไป
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
การ์ดแสดงผล (Display Card) หลักการทางานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้น
ขึ้น เมื่อโปรแกรมต่างๆ ส่งข้อมูลมาประมวลผลที่ ซีพียูเมื่อซีพียูประมวลผล เสร็จแล้ว ก็จะส่ง
ข้อมูลที่จะนามาแสดงผลบนจอภาพมาที่การ์ดแสดงผล จากนั้น การ์ดแสดงผล ก็จะส่ง
ข้อมูลนี้มาที่จอภาพ ตามข้อมูลที่ได้รับมา การ์ดแสดงผลรุ่นใหม่ๆ ที่ออกมาส่วนใหญ่ ก็จะมี
วงจร ในการเร่งความเร็วการแสดงผลภาพสามมิติ และมีหน่วยความจามาให้มากพอสมควร
โดยที่การ์ดบางรุ่นสามารถประมวลผลได้ในตัวการ์ด ซึ่งจะช่วยแบ่งเบาภาระการ
ประมวลผลให้ซีพียู จึงทาให้การทางานของคอมพิวเตอร์นั้นเร็วขึ้นด้วย ซึ่งตัวการ์ดแสดงผล
นั้นจะมีหน่วยความจาในตัวของมันเอง ถ้าตัวการ์ดมีหน่วยความจามาก ก็จะรับข้อมูลจาก
ซีพียูได้มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้การแสดงผลบนจอภาพมีความเร็วสูงขึ้นด้วย
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
เมาส์ (Mouse) จะเป็นอุปกรณ์ที่ให้ความรู้สึกที่ดีต่อการใช้งาน ช่วยให้การ
ใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ไปยังตาแหน่งต่าง ๆ บนจอภาพ หรือเรียก
ง่ายๆ ว่าตัวชี้ตาแหน่งนั่นเอง ในขณะที่สายตาจับอยู่ที่จอภาพก็สามารถใช้มือลาก
เมาส์ไปมาได้ ระยะทางและทิศตจะสัมพันธ์และเป็นไปในแนวทางเดียวกับการ
เลื่อนเมาส์เมาส์แบ่งได้เป็นสองแบบคือ แบบทางกลและแบบใช้แสง แบบทางกล
เป็นแบบที่ใช้ลูกกลิ้งกลม ที่มีน้าหนักและแรงเสียดทานพอดี เมื่อเลื่อนเมาส์ไปใน
ทิศทางใดจะทาให้ลูกกลิ้งเคลื่อนไปมาในทิศทางนั้น แต่ในปัจจุบันเมาส์แบบ
ลูกกลิ้งไม่ค่อยนิยมนามาใช้กันแล้ว
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
แรม (RAM)
เป็นหน่วยความจาของระบบ มี
หน้าที่รับข้อมูลเพื่อส่งไปให้
CPU ประมวลผล แรมเป็น
หน่วยความจาหลักของระบบ
คอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเก็บข้อมูล
เมื่อมีกระแสไฟหล่อเลี้ยง
เท่านั้น โดยถ้ าเกิดไฟฟ้ า
กระพริบหรือดับ ข้อมูลที่ถูก
บันทึกไว้ในหน่วยความจาจะ
หายไปทันที
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
CD Drive / DVD Drive / CD-RW Drive / DVD-RW Drive เป็น
ไดรฟ์ สาหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรอม หรือดีวีดีรอม ซึ่งถ้าหากต้องการบันทึกข้อมูลลง
บนแผ่นจะต้องใช้ไดรฟ์ ที่สามารถเขียนแผ่นได้เมื่อไดรฟ์ ซีดีรอมเริ่มทางานมอเตอร์จะเริ่ม
หมุนด้วยความเร็ว หลายค่า ทั้งนี้เพื่อให้อัตราเร็วในการอ่านข้อมูลจากซีดีรอมคงที่
สม่าเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเซ็กเตอร์ ที่อยู่รอบนอกหรือวงในก็ตาม จากนั้นแสง
เลเซอร์จะฉายลงซีดีรอม โดยลาแสงจะถูกโฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตาแหน่งได้ โดยการ
ทางานของขดลวด ลาแสงเลเซอร์จะทะลุผ่านไปที่ซีดีรอมแล้วถูกสะท้อนกลับ
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ
CD-ROM / DVD-ROM ภายในซีดีรอม หรือดีวีดีรอมจะแบ่งเป็น
แทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่เซ็กเตอร์ในซีดีรอม หรือดีวีดี
รอมจะมีขนาดเท่ากัน ทุกเซ็กเตอร์ ทาให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ชลดา-ชคพ2-2

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศKrunee Thitthamon
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพJakarin Damrak
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศhs8zlb
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศwilaiporntoey
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารiamopg
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมMooAuan_Mini
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการdollar onohano
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemAdul Yimngam
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Kasamesak Posing
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Kasamesak Posing
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Kasamesak Posing
 

Was ist angesagt? (13)

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรมโครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
โครงงาน ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
 
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer System
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 

Andere mochten auch

Scholarship in the Digital World
Scholarship in the Digital WorldScholarship in the Digital World
Scholarship in the Digital WorldDavid De Roure
 
Priit Kaasik and Heldin Rikk - It’s Like Continuous Improvement, Only Better
Priit Kaasik and Heldin Rikk - It’s Like Continuous Improvement, Only BetterPriit Kaasik and Heldin Rikk - It’s Like Continuous Improvement, Only Better
Priit Kaasik and Heldin Rikk - It’s Like Continuous Improvement, Only BetterAgile Lietuva
 
Profesor III Edición Seminario Credit Management. Instituto de Empresa
Profesor III Edición Seminario Credit Management. Instituto de EmpresaProfesor III Edición Seminario Credit Management. Instituto de Empresa
Profesor III Edición Seminario Credit Management. Instituto de EmpresaCarlos Isidro G
 
Guest Speaker Babette Pepaj's PowerPoint
Guest Speaker Babette Pepaj's PowerPointGuest Speaker Babette Pepaj's PowerPoint
Guest Speaker Babette Pepaj's PowerPointSocialMediaUCLA
 
recursos disponibles para implementacion de las tic en mexico.(micompu.mx)
recursos disponibles para implementacion de las tic en mexico.(micompu.mx)recursos disponibles para implementacion de las tic en mexico.(micompu.mx)
recursos disponibles para implementacion de las tic en mexico.(micompu.mx)Yury Pipicano
 
Trompavo: ¿un taco nutritivo?
Trompavo: ¿un taco nutritivo?Trompavo: ¿un taco nutritivo?
Trompavo: ¿un taco nutritivo?usapeec_mexico
 
L. Byla. Teritorijų planavimas su QGIS. GIS - paprasta ir atvira 2015.
L. Byla. Teritorijų planavimas su QGIS. GIS - paprasta ir atvira 2015.L. Byla. Teritorijų planavimas su QGIS. GIS - paprasta ir atvira 2015.
L. Byla. Teritorijų planavimas su QGIS. GIS - paprasta ir atvira 2015.opengislt
 
DESIGNING A INTERNAL BRAND THAT INSPIRES EMPLOYEES
DESIGNING A INTERNAL BRAND THAT INSPIRES EMPLOYEESDESIGNING A INTERNAL BRAND THAT INSPIRES EMPLOYEES
DESIGNING A INTERNAL BRAND THAT INSPIRES EMPLOYEESChantel Botha
 
ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์พ่อ อาชีวะ
 
Apresentação Animais da África
Apresentação Animais da ÁfricaApresentação Animais da África
Apresentação Animais da Áfricadanielagazafi
 
Jogo da Memória_ Instrumentos Musicais Africanos
Jogo da Memória_ Instrumentos Musicais AfricanosJogo da Memória_ Instrumentos Musicais Africanos
Jogo da Memória_ Instrumentos Musicais Africanosvanessadantas.tec
 
Carta gantt
Carta ganttCarta gantt
Carta ganttSya Niza
 
Vlsi ii project presentation
Vlsi ii project presentationVlsi ii project presentation
Vlsi ii project presentationRedwan Islam
 
Strategic Planning for Bahasa Inggeris
Strategic Planning for Bahasa InggerisStrategic Planning for Bahasa Inggeris
Strategic Planning for Bahasa InggerisWes Mirid
 

Andere mochten auch (19)

Scholarship in the Digital World
Scholarship in the Digital WorldScholarship in the Digital World
Scholarship in the Digital World
 
Zune
ZuneZune
Zune
 
E - 158 Project
E - 158 ProjectE - 158 Project
E - 158 Project
 
Priit Kaasik and Heldin Rikk - It’s Like Continuous Improvement, Only Better
Priit Kaasik and Heldin Rikk - It’s Like Continuous Improvement, Only BetterPriit Kaasik and Heldin Rikk - It’s Like Continuous Improvement, Only Better
Priit Kaasik and Heldin Rikk - It’s Like Continuous Improvement, Only Better
 
Profesor III Edición Seminario Credit Management. Instituto de Empresa
Profesor III Edición Seminario Credit Management. Instituto de EmpresaProfesor III Edición Seminario Credit Management. Instituto de Empresa
Profesor III Edición Seminario Credit Management. Instituto de Empresa
 
Guest Speaker Babette Pepaj's PowerPoint
Guest Speaker Babette Pepaj's PowerPointGuest Speaker Babette Pepaj's PowerPoint
Guest Speaker Babette Pepaj's PowerPoint
 
Aicha
AichaAicha
Aicha
 
recursos disponibles para implementacion de las tic en mexico.(micompu.mx)
recursos disponibles para implementacion de las tic en mexico.(micompu.mx)recursos disponibles para implementacion de las tic en mexico.(micompu.mx)
recursos disponibles para implementacion de las tic en mexico.(micompu.mx)
 
Trompavo: ¿un taco nutritivo?
Trompavo: ¿un taco nutritivo?Trompavo: ¿un taco nutritivo?
Trompavo: ¿un taco nutritivo?
 
El ábaco
El ábacoEl ábaco
El ábaco
 
L. Byla. Teritorijų planavimas su QGIS. GIS - paprasta ir atvira 2015.
L. Byla. Teritorijų planavimas su QGIS. GIS - paprasta ir atvira 2015.L. Byla. Teritorijų planavimas su QGIS. GIS - paprasta ir atvira 2015.
L. Byla. Teritorijų planavimas su QGIS. GIS - paprasta ir atvira 2015.
 
DESIGNING A INTERNAL BRAND THAT INSPIRES EMPLOYEES
DESIGNING A INTERNAL BRAND THAT INSPIRES EMPLOYEESDESIGNING A INTERNAL BRAND THAT INSPIRES EMPLOYEES
DESIGNING A INTERNAL BRAND THAT INSPIRES EMPLOYEES
 
ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
 
Apresentação Animais da África
Apresentação Animais da ÁfricaApresentação Animais da África
Apresentação Animais da África
 
Jogo da Memória_ Instrumentos Musicais Africanos
Jogo da Memória_ Instrumentos Musicais AfricanosJogo da Memória_ Instrumentos Musicais Africanos
Jogo da Memória_ Instrumentos Musicais Africanos
 
Carta gantt
Carta ganttCarta gantt
Carta gantt
 
Vlsi ii project presentation
Vlsi ii project presentationVlsi ii project presentation
Vlsi ii project presentation
 
Strategic Planning for Bahasa Inggeris
Strategic Planning for Bahasa InggerisStrategic Planning for Bahasa Inggeris
Strategic Planning for Bahasa Inggeris
 
Magazyn THEY.PL - nr 4 (2013)
Magazyn THEY.PL - nr 4 (2013)Magazyn THEY.PL - nr 4 (2013)
Magazyn THEY.PL - nr 4 (2013)
 

Ähnlich wie ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ชลดา-ชคพ2-2

อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Achiraya Chomckam
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Achiraya Chomckam
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Achiraya Chomckam
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Achiraya Chomckam
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์Achiraya Chomckam
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมAtip19617
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
2.ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
2.ความสำคัญของคอมพิวเตอร์2.ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
2.ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ฉลาม แดนนาวิน
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAngkan Mahawan
 

Ähnlich wie ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ชลดา-ชคพ2-2 (20)

อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Technjologu
TechnjologuTechnjologu
Technjologu
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
Com
ComCom
Com
 
Computerbasic
ComputerbasicComputerbasic
Computerbasic
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
2.ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
2.ความสำคัญของคอมพิวเตอร์2.ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
2.ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ชลดา-ชคพ2-2

  • 1.
  • 2. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและเป็นยุคสารสนเทศ ไม่ว่าเรา จะทาอะไรก็สะดวกสบายไปเสียหมด จะติดตามข่าวสารต่างๆ ก็ สะดวกสบายขึ้น การติดต่อสื่อสารก็ง่ายขึ้น ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทา ให้ทุกอย่างนั้นสะดวกขึ้นเป็นอย่างมาก แม้กระทั่งการทางานของเราก็
  • 3. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ สะดวกขึ้น เพราะปัจจุบันนี้ ในการทางานก็มีเทคโนโลยีเข้ามา เกี่ยวข้อง ที่เห็นง่ายๆ เลย ก็คือ การนาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในหน่วยงาน ไม่ว่า จะเป็นหน่วยงานราชการหรือหน่วยงานเอกชนล้วนแล้วแต่นาคอมพิวเตอร์เข้ามา เป็นส่วนหนึ่งในการทางานทั้งนั้น แล้วรู้กันหรือไหมว่า คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่ ทุกวันนั้นมีส่วนประกอบอะไรบ้าง และมีความสาคัญอย่างไร วันนี้เรามารู้จักกับ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่เราใช้งานกัน อยู่ดีกว่า
  • 4. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์หลักๆ รู้กันมั้ยว่าส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง คอมพิวเตอร์นั้นมีส่วนประกอบ หลักๆ อยู่ 4 ส่วนด้วยกัน เริ่มจาก 1. โปรเซสเซอร์ (Processor) นั่นก็คือหน่วยประผลกลางหรือที่รู้จักกันในนามของซีพียู (CPU) นั่นเอง หรือเรียกว่าซิป ซึ่งส่วนนี้มีความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะว่ามี หน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้ อนเข้ามา ซึ่งซีพียูนั้นมีรุ่นต่างๆ ออกมาวางขายตาม ท้องตลาดมากมาย ซึ่งแต่ละรุ่นก็ราคาแตกต่างกันออกไป 2. หน่วยความจา (Memory) หรือ RAM นั่นเอง ซึ่ง RAM นั้นเป็นหน่วยความจา หลักที่จาเป็นในการเก็บข้อมูลต่างๆ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าหน่วยความจาสารองนั่นเอง ก็คือจะเก็บข้อมูลชั่วคราว ซึ่งหน่วยความจาแรมจะทาหน้าที่เก็บชุดคาสั่งและข้อมูลที่ระบบ คอมพิวเตอร์กาลังทางานอยู่ด้วย
  • 5. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์หลักๆ 3. ส่วนอินพุต/เอาต์พุต (Input/Output) ก็คืออุปกรณ์ที่ทาให้คอมพิวเตอร์ สามารถสัมผัสและรับรู้สิ่งต่าง ๆ เช่น เครื่องอ่านบัตร คีย์บอร์ด เมาส์ สแกนเนอร์ และอุปกรณ์ Output ก็ได้แก่พวก เครื่องพิมพ์ จอภาพ 4. สื่อจัดเก็บข้อมูล (Storage) นั่นก็คือสื่อที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
  • 6. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ จอภาพ หรือ monitor เป็นอุปกรณ์การแสดงผลที่สาคัญที่สุด จะเป็น ส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง เพราะเราสามารถมองเห็นข้อมูลที่ที่แสดง ผลได้โดยผ่านจอภาพของเรา จอภาพของคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือจอแบบซีอาร์ที และจอแบบแอลซีดี ซึ่งจอภาพ 2 แบบนี้มีลักษณะ ที่แตกต่างกันในเรื่องของรูปแบบ นั้นก็คือจอแบบซีอาร์ที (CRT) ส่วน ใหญ่เป็นจอภาพที่นิยมใช้สาหรับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ มีขนาดใหญ่คล้าย โทรทัศน์
  • 7. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ เมื่อก่อนได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แต่เมื่อจอภาพแบบแอล ซีดี (LCD) เข้ามาแทน จอภาพแบบซีอาร์ทีก็เริ่มมีน้อยลงจนใน ปัจจุบันนี้เราแทบไม่เห็นร้านขายคอมพิวเตอร์มีจอแบบนี้วางขายอีก แล้ว ส่วนจอภาพแบบแอลซีดีนั้นมีทั้งแบบที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ตั้ง โต๊ะและในแบบของโน๊ตบุ๊ค เนื่องจากเป็นจอภาพที่มีขนาดรูปร่างที่ บางทาให้สะดวกสาหรับการพกพาไปไหนมาไหน แต่จอภาพแบบ แอลซีดีนี้ก็มีราคาที่แพงกว่าจอภาพแบบซีอาร์ที
  • 8. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ เคส (case) คือ กล่องหรือ โครงสร้างสาหรับเก็บประกอบ อุปกรณ์ต่างๆ คอมพิวเตอร์ไว้ ภายในนั้น ซึ่งขนาดของเคสก็จะ แตกต่างกันออกไป แล้วแต่การใช้ งานหรือความเหมาะสมในการใช้ งานของแต่ละคนรวมทั้งสถานที่ เก็บอุปกรณ์เหล่านั้นด้วยว่ามี ขนาดพื้นที่มากน้อยเพียงใด และ ในตัวเคสก็จะมีในส่วนของพาว เวอร์ซัพพลายติดมาด้วย
  • 9. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) เ ป็ น อุป ก ร ณ์ ที่ ท า หน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้ า ให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อ พวงเยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอม ไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ ก็ควรเลือกพาว เวอร์ซัพพลายที่มีจานวนวัตต์สูง เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแสไฟได้ เพียงพอต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์
  • 10. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ คีย์บอร์ดหรือแป้ นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง จะต้องมี เนื่องจากตัวคีย์บอร์ดใช้สาหรับการพิมพ์หรือป้ อมข้อมูลต่างลงไปในเครื่อง คอมพิวเตอร์ ในตัวคีย์บอร์ดจะมีทั้งที่เป็นตัวอักษรที่เป็นภาษาหลักของแต่ละประเทศ รวมทั้งภาษาหลักอย่างภาษาอังกฤษอยู่ด้วย และยังมีข้อมูลทั้งตัวเลขและฟังก์ชัน ต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับการใช้งานและอื่นๆ อีก เพื่อใช้สาหรับลงข้อมูลในตัวเครื่องของ เรา โดยส่วนใหญ่แล้วคีย์บอร์ดมีลักษณะที่เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือมีลักษณะที่ ใกล้เคียงกัน แต่ในปัจจุบันก็อาจมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป แล้วแต่ความคิด สร้างสรรค์ของคนออกแบบนั้นเอง
  • 11. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) เป็นอุปกรณ์ ที่ใช้สาหรับบันทึกข้อมูลหรือเก็บข้อมูล ของคอมพิวเตอร์ และเป็นอุปกรณ์ที่ติด มาพร้อมกันกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่ง ตัวฮาร์ดดิสก์จะมีลักษณะเป็ นรูป สี่เหลี่ยมและมีแผงวงจรสาหรับควบคุม การทางานอยู่ด้านล่างและช่องสาหรับ เสียบสายไฟเลี้ยงและสายสัญญาณ ต่างๆ โดยที่ส่วนประกอบภายในจะปิด ไว้อย่างมิดชิดเพื่อป้ องกันอันตรายที่จะ เกิดขึ้น
  • 12. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ เมนบอร์ด (Main board) เป็นแผ่นวงจรไฟฟ้ าแผ่นใหญ่ที่รวมเอา ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญๆ ไว้ด้วยกัน ซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุม การ ทางานของ อุปกรณ์ต่างๆ ภายในพีชีทั้งหมด
  • 13. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ ซีพียู (CPU) มีหน้าที่ในการประมวลผลหรือเรียกว่าโปรเซสเซอร์ หรือชิป เป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมากเนื่องจากมีหน้าที่ในการ ประมวลผลจากการป้ อนข้อมูลลงไป
  • 14. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ การ์ดแสดงผล (Display Card) หลักการทางานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้น ขึ้น เมื่อโปรแกรมต่างๆ ส่งข้อมูลมาประมวลผลที่ ซีพียูเมื่อซีพียูประมวลผล เสร็จแล้ว ก็จะส่ง ข้อมูลที่จะนามาแสดงผลบนจอภาพมาที่การ์ดแสดงผล จากนั้น การ์ดแสดงผล ก็จะส่ง ข้อมูลนี้มาที่จอภาพ ตามข้อมูลที่ได้รับมา การ์ดแสดงผลรุ่นใหม่ๆ ที่ออกมาส่วนใหญ่ ก็จะมี วงจร ในการเร่งความเร็วการแสดงผลภาพสามมิติ และมีหน่วยความจามาให้มากพอสมควร โดยที่การ์ดบางรุ่นสามารถประมวลผลได้ในตัวการ์ด ซึ่งจะช่วยแบ่งเบาภาระการ ประมวลผลให้ซีพียู จึงทาให้การทางานของคอมพิวเตอร์นั้นเร็วขึ้นด้วย ซึ่งตัวการ์ดแสดงผล นั้นจะมีหน่วยความจาในตัวของมันเอง ถ้าตัวการ์ดมีหน่วยความจามาก ก็จะรับข้อมูลจาก ซีพียูได้มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้การแสดงผลบนจอภาพมีความเร็วสูงขึ้นด้วย
  • 15. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ เมาส์ (Mouse) จะเป็นอุปกรณ์ที่ให้ความรู้สึกที่ดีต่อการใช้งาน ช่วยให้การ ใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ไปยังตาแหน่งต่าง ๆ บนจอภาพ หรือเรียก ง่ายๆ ว่าตัวชี้ตาแหน่งนั่นเอง ในขณะที่สายตาจับอยู่ที่จอภาพก็สามารถใช้มือลาก เมาส์ไปมาได้ ระยะทางและทิศตจะสัมพันธ์และเป็นไปในแนวทางเดียวกับการ เลื่อนเมาส์เมาส์แบ่งได้เป็นสองแบบคือ แบบทางกลและแบบใช้แสง แบบทางกล เป็นแบบที่ใช้ลูกกลิ้งกลม ที่มีน้าหนักและแรงเสียดทานพอดี เมื่อเลื่อนเมาส์ไปใน ทิศทางใดจะทาให้ลูกกลิ้งเคลื่อนไปมาในทิศทางนั้น แต่ในปัจจุบันเมาส์แบบ ลูกกลิ้งไม่ค่อยนิยมนามาใช้กันแล้ว
  • 16. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ แรม (RAM) เป็นหน่วยความจาของระบบ มี หน้าที่รับข้อมูลเพื่อส่งไปให้ CPU ประมวลผล แรมเป็น หน่วยความจาหลักของระบบ คอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเก็บข้อมูล เมื่อมีกระแสไฟหล่อเลี้ยง เท่านั้น โดยถ้ าเกิดไฟฟ้ า กระพริบหรือดับ ข้อมูลที่ถูก บันทึกไว้ในหน่วยความจาจะ หายไปทันที
  • 17. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ CD Drive / DVD Drive / CD-RW Drive / DVD-RW Drive เป็น ไดรฟ์ สาหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรอม หรือดีวีดีรอม ซึ่งถ้าหากต้องการบันทึกข้อมูลลง บนแผ่นจะต้องใช้ไดรฟ์ ที่สามารถเขียนแผ่นได้เมื่อไดรฟ์ ซีดีรอมเริ่มทางานมอเตอร์จะเริ่ม หมุนด้วยความเร็ว หลายค่า ทั้งนี้เพื่อให้อัตราเร็วในการอ่านข้อมูลจากซีดีรอมคงที่ สม่าเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเซ็กเตอร์ ที่อยู่รอบนอกหรือวงในก็ตาม จากนั้นแสง เลเซอร์จะฉายลงซีดีรอม โดยลาแสงจะถูกโฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตาแหน่งได้ โดยการ ทางานของขดลวด ลาแสงเลเซอร์จะทะลุผ่านไปที่ซีดีรอมแล้วถูกสะท้อนกลับ
  • 18. ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนอื่นๆ CD-ROM / DVD-ROM ภายในซีดีรอม หรือดีวีดีรอมจะแบ่งเป็น แทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่เซ็กเตอร์ในซีดีรอม หรือดีวีดี รอมจะมีขนาดเท่ากัน ทุกเซ็กเตอร์ ทาให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น