SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 53
ความรู้พื้นฐาน ในการวิจัย
การวิจัย คือ การศึกษาอย่างเป็นระบบ และ มีระเบียบแบบแผน เพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบที่มีความถูกต้องเชื่อถือได้  สำหรับคำถามวิจัยที่กำหนดไว้  เพื่อความรู้ใหม่ซึ่งทำให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการ และเกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
หัวใจของการวิจัย คือ “ตถตา” มันเป็นเช่นนั้นเองโว้ย!              (พุทธทาสภิกขุ)
วิธีการในการแสวงหาความรู้ -เชื่อต่อๆกันมา(TRADITION) -เชื่อผู้มีอำนาจ (AUTHORITY) -เชื่อสัญชาตญาณ (INTUITION) -วิธีลองผิดลองถูก (TRIAL / ERROR)  -วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (SCIENTIFIC      METHOD)
Research/Scientific  Process PROBLEM HYPOTHESIS TEST (DATA COLLECTION) ANALYSIS  OF  RESULTS CONCLUSION YES             NO
จุดมุ่งหมายของการทำวิจัย ๑. เพราะเป็นหน้าที่ ๒. เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ ๓. เพื่อใช้ขอตำแหน่งทางวิชาการ ๔. เพื่อเป็นรายได้ ๕. เพื่อให้ได้ความรู้
บูรณาการของขบวนการ วิจัย บริการ การสอน
เป้าหมายของการวิจัย แกัปัญหา ความรู้       ใหม่ การเรียนรู้
การจำแนกชนิดของการวิจัย 1.ตามวัตถุประสงค์/เป้าหมาย  1.1 วิจัยพื้นฐาน (Basic  Research) 1. 2 วิจัยประยุกต์ (Applied  Research)
2. ตามลักษณะของวิธีวิจัย 2.1 การวิจัยภูมิหลัง (Historical) 2.2 การวิจัยค้นหาข้อมูลเบื้องต้น (Exploratory) 2.3 การวิจัยเชิงพรรณา (Descriptive) 2.4 การวิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytical)
3. ตามกระบวนการเก็บข้อมูล 3.1 การวิจัยแบบสังเกต (Observational) ก. Participatory Action Research ข. Non-Participatory Action Research  3.2 การวิจัยแบบสำรวจ (Survey) 3.3 การวิจัยแบบทดลอง (Experimental)
4. ตามวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล และ การอธิบายผล 4.1 การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative) 4.2 การวิจัยเชิงปริมาณ Quantitative)
5.ตามวัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ผล  5.1 วิจัยพื้นฐาน (Basic  Research) 5. 2 วิจัยประยุกต์ (Applied  Research)
6.ตามวิธีเก็บรวบรวมข้อมูล 1.การศึกษาย้อนหลัง(Retrospective    Study) 2. การศึกษาไปข้างหน้า(Prospective     Study)
 PROSPECTIVE/COHORT   RETROSPECTIVE CROSS-SECTIONAL  STUDY EXPERIMENTAL RETROSPECTIVE - PROSPECTIVE
PROSPECTIVE / COHORT  STUDY ADVANTAGES: - KNOW  INCIDENCE,  NATURAL  HISTORY - LESS  DATA  BIAS - KNOW  OTHER  OUTCOMES DISADVANTAGES: - LARGE  NUBER  OF  SUBJECTS - LONG  FOLLOW-UP  TIME - EXPENSIVE - DIFFICULT  TO  CONTROL  EXTRANEOUS  FACTORS - POSSIBLE  BIAS  IN OUTCOME  ASSESSMENT.
RETROSPECTIVE / CASE-CONTROL ADVANTAGES: - CAN  STUDY  THE  RARE  CONDITIONS - LESS  EXPENSIVE,  LESS  ETHICAL  PROBLEMS - NEED  LESS  SUBJECTS - INFORMATIONS  ARE  ALREADY  AVAILABLE - CAN  STUDY  MANY  EXPOSURES   DISADVANTAGES: - CAN  NOT  ASSESS  THE  TRUE  INCIDENCE - CAN  NOT  STUDY  THE  DISEASE  MECHANISM  - PROBLEM  OF  SELECTING  CONTROL  SUBJECTS    AND  EXTRANEOUS  FACTORS.
7.ตามลักษณะของสิ่งที่ศึกษา 7.1 วิจัยเอกสาร (Literary  Research) 7.2 วิจัยคลินิก (Clinical  Research) 7.3 วิจัยทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory     Research)
7.4 วิจัยด้วยสัตว์ทดลอง (Animal        Research) 7.5 วิจัยชุมชน(Community       Research) 7.6 วิจัยเชิงปฏิบัติการ (Operational       Research)
8.ตามความลึกซึ้งของกระบวนการ 8.1 Exploratory  Study a. Literature  Survey b. Experience  Survey c. Analysis  of  Insight-Stimulation      : New  Situation,  Marginal,         Transitional, Abnormal.
8.2 Descriptive/Observational        Study a. Cases, Situation  Study b. Population (Whole  or Sample Study)
8.3 Analytical,  Correlational       Study a. Categorize  on theoretical,  practical,      empirical  grounds         b.  Generalize
8.4 Experimental  Study a. “After-only” experiment b.  “Before-After” experiment         - Single  group         - One  or  more  controls
9. ตามระดับของการควบคุม 9.1 กรณีศึกษา (Case Study) 9.2 วิจัยเอกสาร(Documentary) 9.3 การวิจัยสนาม (Field Study) 9.4 การสำรวจ (Survey Study) 9.5 วิจัยเชิงปฏิบัติ (Action Res) 9.6 วิจัยเชิงทดลอง (Experimental)
10. ตามสาขาวิชาการที่เกี่ยวข้อง 10.1 Monodisciplinary 10.2 Interdisciplinary 10.3 multidisciplinary
ความถูกต้องของการวิจัย (VALIDITY  OR  ACCURACY) 1  INTERNAL  VALIDITY.  เป็นความ ถูกต้องของงานวิจัยในประชากรที่นำมา ศึกษา (อาจจะนำไปใช้กับกลุ่มอื่นได้ หรือ ไม่ได้) 2  EXTERNAL  VALIDITY.  เป็นความ ถูกต้องของงานวิจัยที่สามารถนำผลไป ใช้ได้ทั่วไป (GENERALIZATION).
ERROR VALIDITY
ความผิดพลาดในการวิจัย (Error) - คือความคลาดเคลื่อนของผลการวิจัย จากสิ่ง ที่เกิดขึ้นจริงในประชากร - แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. SYSTEMATIC  ERROR. 2. RANDOM  ERROR,  BY CHANCE
1. ความคลาดเคลื่อนอย่างเป็นระบบ (SYSTEMATIC  ERROR)เป็นความ ผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากอคติ (BIAS)  - มีโอกาสเกิดความแปรปรวนไปในทิศทางใด ทางหนึ่งมากกว่า - มีโอกาสเกิดขึ้นได้เท่ากันในทุกกลุ่มของ ประชากร  และ - เกิดขึ้นได้แทบทุกขั้นตอนของการวิจัย.
อคติ หรือความเอนเอียง (BIAS) เกิดขึ้นได้บ่อยมาก แทบทุกขั้นตอนของการวิจัย โดยเฉพาะ ตั้งแต่  PLANNING, DESIGN,  POPULATION,  CONDUCT, SAMPLING,  TESTS,  ANALYSIS,  INTERPRETATION,  PUBLICATION.
2. ความคลาดเคลื่อนแบบสุ่ม,สิ่งรบกวน (RANDOM  ERROR  OR  NOISE) - มีโอกาสเกิดความแปรปรวนได้เท่าๆกันทุก ทิศทาง - เกิดได้ในทุกกลุ่มประชากร - เกิดได้ทั้งในขั้นตอนการคัดเลือกตัวอย่าง การวิจัย (SAMPLING  ERROR) และใน ขั้นตอนการเก็บข้อมูล - สามารถประเมินขนาดของความผิดพลาด ได้โดยวิธีการทางสถิติ.
ความเที่ยง หรือความแม่นยำ (PRECISION) คือ ความสามารถของการวิจัยที่ได้ผลการศึกษา ไกล้เคียงกับความจริงมากที่สุด ………. X SYSTEMATIC  ERROR . .. … . … . ... X RANDOM  ERROR . .  .  .   .  .  . .  . .  . . …  ..    . . . . X
Steps  in  Research  Practice 1. SELECTION  OF  TOPICS 2. INFORMATION  RETRIEVAL 3. FORMULATION  OF  THEORY 4. FORMULATION  OF  VARIABLES 5. FORMULATION  OF  HYPOTHESIS  6. RESEARCH  DESIGN,  PROTOCOL
Steps  in  Reasearch  Practice 7.  POPULATION, SAMPLING   8.  INSTRUMENTS, PROCEDURE   9.  PILOT  STUDY 10. REVISION  OF  RESEARCH  PLAN    AND  PROTOCOL 11. TESTING, DATA COLLECTION 12. DATA  MANAGEMENT
13. DATA  ANALYSIS,  STATISTICS. 14. INTERPRETATION, CONCLUSION.   15. PRESENTATION, PUBLICATION.
งานวิจัยที่ได้รับความสนใจ ๑. ทันสมัย เหมาะกับสถานะการณ์ ๒. สามารถนำไปใช้ได้ทันที ๓. มีประโยชน์ต่อกลุ่มประชากรที่กำลังต้อง     การความช่วยเหลือ ๔. ปรับปรุงเครื่องมือ วิธีการ  วิเคราะห์ข้อ     เท็จจริง  ทำให้นำไปใช้ประโยชน์ได้ดี
คุณลักษณะของนักวิจัย ๑. มีความสงสัย ๒. มีวิจารณญาณ ๓. มีใจกว้าง ๔. ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์  ๕. มีความซื่อสัตย์ ๖. ขยันหมั่นเพียร ๗. มีความสุขกับการทำงาน.
องค์ประกอบสำคัญที่ทำให้ นักวิจัยประสบความสำเร็จ ๑. มีศรัทธาที่จะทำงานวิจัย ๒. มีความวิริยะ อุตสาหะ ๓. มีผู้ร่วมงานที่ดี ๔. การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา ๕. ช่วงจังหวะเวลา ที่เหมาะสมกับแผนงาน
การเลือก  RESEARCH  TOPIC  A. ปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดแนวความคิดเกี่ยวกับ      RESEARCH  QUESTION    B. แหล่งที่มาของ RESEARCH  QUESTION.
A. ปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิด RESEARCH  QUESTION 1.ปรากฏการณ์ (PHENOMENA) 2. ความสนใจอยากรู้ (CURIOSITY) 3. แนวความคิดตามทฤษฎี (THEORETICAL     CONCEPT) 4. อุดมการณ์ (IDEOLOGY)
B. แหล่งที่มาของ RESEARCH  QUESTION 1. ความสนใจส่วนตัว 2. ข้อมูลข่าวสารจากผู้มีประสบการณ์ 3. สิ่งตีพิมพ์ 4. การประชุม,  สัมมนา
5. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทาง    สังคม และ เทคโนโลยี 6. ผลจากการปฏิบัติงาน 7. ผู้ให้ทุนวิจัย
จรรยาบรรณของนักวิจัย จรรยาบรรณหมายถึง  “ หลักความประพฤติอันเหมาะสม แสดงถึงคุณธรรม และ จริยธรรมในการประกอบอาชีพ  ที่แต่ละสาขาวิชาชีพนั้นๆ   ประมวลขี้นไว้เป็นหลักให้สมาชิกปฏิบัติ เพื่อรักษาชื่อเสียง และส่งเสริมเกียรติคุณของวิชาชีพของตน
HUMAN  EXPERIMENTATION ….การใช้มนุษย์เป็นเครื่องทดลอง การปฏิบัติการใดๆ ที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพ และโรคภัยไข้เจ็บที่สังคมยังไม่รับรอง.
ผลเสียของ การวิจัยเกินขอบเขต ๑. ด้านมนุษยธรรม        - ผู้ป่วยไม่ทราบข้อเท็จจริง        - ผู้ป่วยทุกข์ทรมาน
๒. ด้านมนุษยสัมพันธ์ ๓. ด้านเศรษฐกิจของผู้ป่วย  ครอบครัว     และสังคม ๔. ด้านธรรมชาติ
จริยธรรมในการวิจัย ข้อพิจารณา ๑. ประเมินประโยชน์ และโทษที่อาจได้รับ ๒. การคุ้มครองผู้ถูกทดลอง จากอันตราย     ที่อาจจะเกิดขึ้น ๓. จริยธรรมของการเขียนรายงาน.
๑. ประเมินประโยชน์ และโทษที่อาจได้รับ ๑.๑ มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์เพียงพอ       หรือไม่ ว่า “ Research  Question” เหมาะสมกับสถานการณ์  ๑.๒ มีความจำเป็นต้องใช้มนุษย์ในการ       ทดลองหรือไม่? ๑.๓ โทษที่อาจจะเกิดจากการวิจัย มี?
๑. ประเมินประโยชน์ และโทษที่อาจได้รับ ๑.๔ ประโยชน์ที่จะได้จากการวิจัย มี?  ๑.๕ ผู้ถูกทดลองสามารถให้การยินยอม      โดยรู้ตัว และเต็มใจ หรือไม่? ๑.๖ กรรมการจริยธรรม เห็นด้วยหรือไม่?
๒. การคุ้มครองผู้ถูกทดลอง จากอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ๒.๑ อธิบายประโยชน์ และโทษ ให้ผู้ถูก       ทดลองทราบ ๒.๒ ยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร ๒.๓ รักษาความลับของผู้ป่วย ๒.๔ ผู้วิจัยมีความสามารถ
จรรยาบรรณนักวิจัย 9 ประการ สภาวิจัยแห่งชาติ
๑. ซื่อสัตย์ และมีคุณธรรมในทางวิชาการ     และการจัดการ ๒. ตระหนักถึงพันธกรณีในการทำงาน      วิจัย ๓. ต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่     ทำวิจัย ๔. ต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษา
๕. ต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์     ที่ใชัเป็นตัวอย่างในการศึกษาวิจัย ๖. ต้องมีอิสระทางความคิด  ปราศจากอคติ     ในทุกขั้นตอนของการทำวิจัย ๗. นำผลงานไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ ๘. เคารพความเห็นทางวิชาการของผู้อื่น ๙. มีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ.

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)Marine Meas
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยChamada Rinzine
 
การสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดการสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดPrachyanun Nilsook
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์GolFy Faint Smile
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาsongsri
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยธีรวัฒน์
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีguest65361fd
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Was ist angesagt? (20)

ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัยตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
 
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
 
การสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิดการสร้างกรอบแนวคิด
การสร้างกรอบแนวคิด
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
Research1
Research1Research1
Research1
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
Research Format
Research FormatResearch Format
Research Format
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 

Andere mochten auch

บทเรียน ทำ สปาเกตตี
บทเรียน ทำ สปาเกตตีบทเรียน ทำ สปาเกตตี
บทเรียน ทำ สปาเกตตีPrasit Chanarat
 
เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา
เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยาเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา
เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยาPrasit Chanarat
 

Andere mochten auch (9)

บทเรียน ทำ สปาเกตตี
บทเรียน ทำ สปาเกตตีบทเรียน ทำ สปาเกตตี
บทเรียน ทำ สปาเกตตี
 
Watchara
WatcharaWatchara
Watchara
 
Hla h
Hla hHla h
Hla h
 
เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา
เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยาเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา
เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา
 
Blood agar
Blood agarBlood agar
Blood agar
 
Hemopoisis
HemopoisisHemopoisis
Hemopoisis
 
Hemopoiesis[med]
Hemopoiesis[med]Hemopoiesis[med]
Hemopoiesis[med]
 
Catalogo de Produtos Forever Living
Catalogo de Produtos Forever LivingCatalogo de Produtos Forever Living
Catalogo de Produtos Forever Living
 
Polycythemia
PolycythemiaPolycythemia
Polycythemia
 

Ähnlich wie Mt research

เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchAnucha Somabut
 
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Borwornsom Leerapan
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
Quantitive Research 2
Quantitive Research 2Quantitive Research 2
Quantitive Research 2Ultraman Taro
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691CUPress
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณประพันธ์ เวารัมย์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,Itnanut Nunkaew
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1Kobwit Piriyawat
 
Quantitive Research 1
Quantitive Research 1Quantitive Research 1
Quantitive Research 1Ultraman Taro
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final examKruBeeKa
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54Sani Satjachaliao
 

Ähnlich wie Mt research (20)

เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action Research
 
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
123
123123
123
 
123
123123
123
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
Quantitive Research 2
Quantitive Research 2Quantitive Research 2
Quantitive Research 2
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 
Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
Literature And Journal in Emergency Medicine
Literature And Journal in Emergency MedicineLiterature And Journal in Emergency Medicine
Literature And Journal in Emergency Medicine
 
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
Quantitive Research 1
Quantitive Research 1Quantitive Research 1
Quantitive Research 1
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
 

Mehr von Prasit Chanarat (20)

โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน
 
Naturally acquired plasmodium knowlesi malaria in human, thailand[1]
Naturally acquired plasmodium knowlesi malaria in human, thailand[1]Naturally acquired plasmodium knowlesi malaria in human, thailand[1]
Naturally acquired plasmodium knowlesi malaria in human, thailand[1]
 
Goa
GoaGoa
Goa
 
neutro
neutroneutro
neutro
 
idf
idfidf
idf
 
typhoid
typhoidtyphoid
typhoid
 
rprotein3
rprotein3rprotein3
rprotein3
 
rprotein2
rprotein2rprotein2
rprotein2
 
rprotein1
rprotein1rprotein1
rprotein1
 
rprotein
rproteinrprotein
rprotein
 
recombinant_protein_handbook
recombinant_protein_handbookrecombinant_protein_handbook
recombinant_protein_handbook
 
rprotein
rproteinrprotein
rprotein
 
hemato in systemic diseases
hemato in systemic diseaseshemato in systemic diseases
hemato in systemic diseases
 
Hemato in systemic diseases
Hemato in systemic diseasesHemato in systemic diseases
Hemato in systemic diseases
 
C:\fakepath\cloning
C:\fakepath\cloningC:\fakepath\cloning
C:\fakepath\cloning
 
Cloning
CloningCloning
Cloning
 
cloning
cloningcloning
cloning
 
cloning
cloningcloning
cloning
 
Hla typing
Hla typingHla typing
Hla typing
 
Medical inf
Medical infMedical inf
Medical inf
 

Mt research