SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 42
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แนวทางการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
(ว10/2564)
PA Support Team Phrae
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2565
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่
งานวิจัย : แนวคิดการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ
รศ.ดร.ประวิต เอราวรรณ์
ปัจจัยที่สาคัญที่สุดที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน
ภาวะผู้นาของผู้บริหารโรงเรียน
บทบาทการบริหารหลักสูตร
การกากับและประเมินการสอนของครู
การเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาครู
การสนับสนุนวัฒนธรรมการทางานเป็นทีม
ความเชื่อมโยงของระบบการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาสาหรับตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
มาตรฐานตาแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะ
แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ว 3 /64 26 มกราคม 2564
ประเภท : ผู้บริหารสถานศึกษา
สายงาน : บริหารสถานศึกษา
ชื่อตาแหน่ง : รองผู้อานวยการสถานศึกษา
ผู้อานวยการสถานศึกษา
ชื่อวิทยฐานะ : รองผู้อานวยการชานาญการ/ชานาญการพิเศษ
/เชี่ยวชาญ
: ผู้อานวยการชานาญการ/ชานาญการพิเศษ
/เชี่ยวชาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ
คาชี้แจงและการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน
• ตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศึกษา
“ข้อตกลงในการพัฒนางาน” (Performance Agreement : PA) หมายความว่า ข้อตกลง
ที่รองผู้อานวยการสถานศึกษาได้เสนอต่อผู้อานวยการสถานศึกษา เพื่อแสดงเจตจานงว่าภายใน
รอบการประเมิน จะพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพครู และยกระดับคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของตาแหน่งและวิทยฐานะที่ดารงอยู่
และสอดคล้องกับเป้าหมาย และบริบทสถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้อานวยการสถานศึกษาได้เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน
รองผู้อานวยการสถานศึกษาต้องจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางานตามแบบที่ ก.ค.ศ.
กาหนด ทุกปีงบประมาณ เสนอต่อผู้อานวยการสถานศึกษาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
กรณีที่รองผู้อานวยการสถานศึกษาย้ายสถานศึกษาระหว่างปีงบประมาณ ให้จัดทาข้อตกลง
ในการพัฒนางานกับผู้อานวยการสถานศึกษาคนใหม่
คาชี้แจงและการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน
• ตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษา
“ข้อตกลงในการพัฒนางาน” (Performance Agreement : PA) หมายความว่า
ข้อตกลง ที่ผู้อานวยการสถานศึกษาได้เสนอต่อผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
เพื่อแสดงเจตจานงว่าภายในรอบการประเมินจะพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพครู และ
ยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่
คาดหวังของตาแหน่งและวิทยฐานะที่ดารงอยู่ และสอดคล้องกับเป้าหมาย และบริบท
สถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและกระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้อานวยการสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา ได้เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน
❖ ผู้อานวยการสถานศึกษาต้องจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางานตามแบบที่
ก.ค.ศ. กาหนด ทุกปีงบประมาณ เสนอต่อผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา
คาชี้แจงและการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน
❖ กรณีที่ผู้อานวยการสถานศึกษาย้าย หรือรักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา
ให้ดาเนินการ ดังนี้
1) กรณีที่ผู้อานวยการสถานศึกษาย้ายสถานศึกษาระหว่างปีงบประมาณให้จัดทา
ข้อตกลงในการพัฒนางานกับผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาคนใหม่
2) กรณีที่รองผู้อานวยการสถานศึกษาได้รับการแต่งตั้งให้รักษาการในตาแหน่ง
ผู้อานวยการสถานศึกษา ให้จัดทาข้อตกลงในการพัฒนางานในตาแหน่งรองผู้อานวยการ
สถานศึกษา กับผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
3) กรณีที่ข้าราชการครูได้รับการแต่งตั้งให้รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ
สถานศึกษา ให้จัดทาข้อตกลงในการพัฒนางานในตาแหน่งครู กับผู้อานวยการสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษา
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สาหรับข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
1. แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (แบบ PA 1/บส) สาหรับข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา (ยังไม่มีวิทยฐานะ)
2. แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (แบบ PA 1/บส) สาหรับข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา (วิทยฐานะชานาญการ)
3. แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (แบบ PA 1/บส) สาหรับข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา (วิทยฐานะชานาญการพิเศษ)
4. แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (แบบ PA 1/บส) สาหรับข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา (วิทยฐานะเชี่ยวชาญ)
5. แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (แบบ PA 1/บส) สาหรับข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา (วิทยฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ)
ตัวอย่าง
แนวทางการประเมินผลการพัฒนางาน
ตามข้อตกลงในการพัฒนางาน
ส่วนที่ องค์ประกอบ
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการ
พัฒนางานตามมาตรฐาน
ตาแหน่ง
(คะแนนเต็ม 60 คะแนน)
1) การปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่งผู้บริหารสถนศึกษา และมีภาระงานตามที่ ก.ค.ศ.
กาหนด
2) ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา เป็นการประเมินผล
การปฏิบัติงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบของตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ตามที่
กาหนดไว้ในมาตรฐานตาแหน่งทั้ง 5 ด้าน จานวน 15 ตัวชี้วัด
ด้านที่ 1 ด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นาทางวิชาการ จานวน 6 ตัวชี้วัด
ด้านที่ 2 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา จานวน 3 ตัวชี้วัด
ด้านที่ 3 ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม จานวน 2 ตัวชี้วัด
ด้านที่ 4 ด้านการบริหารงานชุมชนและเครือข่าย จานวน 2 ตัวชี้วัด
ด้านที่ 5 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ จานวน 2 ตัวขี้วัด
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการ
พัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็น
ท้าทายในการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน ครูและสถานศึกษา
(คะแนนเต็ม 40 คะแนน)
ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา
ตัวชี้วัดการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง
ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
ตาแหน่ง ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง รายละเอียด
รองผู้อานวยการ
สถานศึกษา
ปรับประยุกต์
(Apply and Adapt)
สามารถปรับประยุกต์การบริหาร
จัดการสถานศึกษา และปฏิบัติงาน
จนปรากฏ ผลลัพธ์กับผู้เรียน ครู
และสถานศึกษา ได้ตามมาตรฐาน
ตาแหน่ง
ผู้อานวยการ
สถานศึกษา
ระดับการปฏิบัติที่คาดหวังในตาแหน่งและวิทยฐานะ
ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
กรณีที่ยังไม่มีวิทยฐานะ
ตาแหน่ง ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง รายละเอียด
รองผู้อานวยการ/
ผู้อานวยการชานาญการ
แก้ไขปัญหา
(Solve the Problem)
สามารถแก้ไขปัญหาคุณภาพ
ผู้เรียน ครู และสถานศึกษา
รองผู้อานวยการ/
ผู้อานวยการชานาญการ
พิเศษ
ริเริ่ม พัฒนา
(Originate & Improve)
สามารถริเริ่มพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน ครู และสถานศึกษา
ระดับการปฏิบัติที่คาดหวังในตาแหน่งและวิทยฐานะ
ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
กรณีที่มีวิทยฐานะ
ตาแหน่ง ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง รายละเอียด
รองผู้อานวยการ/
ผู้อานวยการเชี่ยวชาญ
คิดค้น ปรับเปลี่ยน
(Invent & Transform)
สามารถคิดค้น พัฒนานวัตกรรม
และปรับเปลี่ยน ให้คุณภาพผู้เรียน
ครู และสถานศึกษาสูงขึ้น เป็น
แบบอย่างที่ดี และให้คาปรึกษาผู้อื่น
รองผู้อานวยการ/
ผู้อานวยการเชี่ยวชาญ
พิเศษ
สร้างการเปลี่ยนแปลง
(Create an Impact)
สามารถคิดค้น พัฒนานวัตกรรม
เผยแพร่ และขยายผล จนนาไปสู่
การเปลี่ยนแปลง ในวงวิชาชีพ เป็น
แบบอย่างที่ดี ให้คาปรึกษาผู้อื่น และ
เป็นผู้นา
ระดับการปฏิบัติที่คาดหวังในตาแหน่งและวิทยฐานะ
ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
กรณีที่มีวิทยฐานะ
คะแนน ระดับคุณภาพ รายละเอียด
1 ปฏิบัติได้ต่ากว่าระดับ
ที่คาดหวังมาก
ไม่ปรากฏผลการปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานตาแหน่ง/มาตรฐาน
วิทยฐานะที่ดารงอยู่
2 ปฏิบัติได้ต่ากว่าระดับ
ที่คาดหวัง
มีการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่งในตัวชี้วัดนั้นอยู่บ้าง แต่
ไม่ครบถ้วน และไม่มีคุณภาพตามมาตรฐานตาแหน่ง/มาตรฐาน
วิทยฐานะที่ดารงอยู่
3 ปฏิบัติตามระดับ
ที่คาดหวัง
มีการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่ง และมีคุณภาพตาม
มาตรฐานตาแหน่ง/มาตรฐานวิทยฐานะที่ดารงอยู่
4 ปฏิบัติได้สูงกว่าระดับ
ที่คาดหวัง
มีการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่งและมีคุณภาพสูงกว่า
มาตรฐานตาแหน่ง/มาตรฐานวิทยฐานะที่ดารงอยู่
ระดับคะแนนและคุณภาพการประเมินในแต่ละตาแหน่งและวิทยฐานะ
ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
ระดับคุณภาพ ค่าคะแนนที่ได้
คะแนนเต็ม 10 คะแนนเต็ม 20
4 10.00 20.00
3 7.50 15.00
2 5.00 10.00
1 2.50 5.00
ระดับคะแนนและคุณภาพการประเมินในแต่ละตาแหน่งและวิทยฐานะ
ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
ตาแหน่ง ประธาน กรรมการ จานวน 2 คน
รองผู้อานวยการ
สถานศึกษา
ผู้อานวยการสถานศึกษานั้น - ศน. /เคยเป็น ศน. ไม่ต่ากว่า วิทยฐานะ ศน.
ชานาญการพิเศษ
- ผู้ทรงคุณวุฒิในสถาบันอุดมศึกษา ความรู้
ความสามารถเหมะสม ไม่ต่ากว่า ผศ.
- ผอ.จากสถานศึกษาอื่น ไม่ต่ากว่าวิทยฐานะ
ผอ. ชานาญการพิเศษ
- ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความสามารถเหมาะสม
ผู้อานวยการ
สถานศึกษา
ผอ.เขต นั้น หรือผู้ที่ได้รับ
มอบหมาย
- ผู้ทรงคุณวุฒิในสถาบันอุดมศึกษา ความรู้
ความสามารถหมะสม ไม่ต่ากว่า ผศ.
- ผอ. สถานศึกษาอื่นที่มีวิทยฐานะ ไม่ต่ากว่า
วิทยฐานะ ผอ. ชานาญการพิเศษ
- ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความสามารถเหมาะสม
การตั้งคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง (PA)
สาหรับตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
วิธีการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง (PA)
สาหรับตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
คณะกรรมการประเมิน พิจารณาประเมินตามระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของ
ตาแหน่งและวิทยฐานะ ตามแบบที่ ก.ค.ศ. กาหนด
- ตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา ให้ผู้อานวยการสถานศึกษาเป็น
ผู้รับผิดชอบระบบ DPA
- ตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
เป็นผู้รับผิดชอบ ระบบ DPA
และให้ผู้รับผิดชอบระบบ DPA นาข้อมูลผลการประเมิน
การพัฒนางานตามข้อตกลง ในแต่ละรอบการประเมินของผู้บริหารสถานศึกษา
แต่ละรายเข้าสู่ระบบเป็นประจาทุกรอบการประเมิน
เกณฑ์การตัดสินการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง (PA)
สาหรับตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
❖ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด
❖ ผลการประเมินการพัฒนางาน ตามข้อตกลงผ่านเกณฑ์ โดยต้องได้
คะแนนจากกรรมการแต่ละคน ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70
จบการนาเสนอ

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf

Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Denpong Soodphakdee
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55Patchanida Yadawong
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ NtNirut Uthatip
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
นำเสนอ PA 05 ก.ย. 64.pdf
นำเสนอ PA 05 ก.ย. 64.pdfนำเสนอ PA 05 ก.ย. 64.pdf
นำเสนอ PA 05 ก.ย. 64.pdfssusere51392
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)Pochchara Tiamwong
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1luanrit
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงtalktomongkol
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปUraiwantia
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 

Ähnlich wie บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf (20)

Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
นำเสนอ PA 05 ก.ย. 64.pdf
นำเสนอ PA 05 ก.ย. 64.pdfนำเสนอ PA 05 ก.ย. 64.pdf
นำเสนอ PA 05 ก.ย. 64.pdf
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูป
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 

บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf

  • 2. งานวิจัย : แนวคิดการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ รศ.ดร.ประวิต เอราวรรณ์ ปัจจัยที่สาคัญที่สุดที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ภาวะผู้นาของผู้บริหารโรงเรียน บทบาทการบริหารหลักสูตร การกากับและประเมินการสอนของครู การเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาครู การสนับสนุนวัฒนธรรมการทางานเป็นทีม
  • 4.
  • 5. มาตรฐานตาแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ว 3 /64 26 มกราคม 2564 ประเภท : ผู้บริหารสถานศึกษา สายงาน : บริหารสถานศึกษา ชื่อตาแหน่ง : รองผู้อานวยการสถานศึกษา ผู้อานวยการสถานศึกษา ชื่อวิทยฐานะ : รองผู้อานวยการชานาญการ/ชานาญการพิเศษ /เชี่ยวชาญ : ผู้อานวยการชานาญการ/ชานาญการพิเศษ /เชี่ยวชาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ
  • 6.
  • 7.
  • 8. คาชี้แจงและการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน • ตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศึกษา “ข้อตกลงในการพัฒนางาน” (Performance Agreement : PA) หมายความว่า ข้อตกลง ที่รองผู้อานวยการสถานศึกษาได้เสนอต่อผู้อานวยการสถานศึกษา เพื่อแสดงเจตจานงว่าภายใน รอบการประเมิน จะพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพครู และยกระดับคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษา โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของตาแหน่งและวิทยฐานะที่ดารงอยู่ และสอดคล้องกับเป้าหมาย และบริบทสถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและ กระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้อานวยการสถานศึกษาได้เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน รองผู้อานวยการสถานศึกษาต้องจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางานตามแบบที่ ก.ค.ศ. กาหนด ทุกปีงบประมาณ เสนอต่อผู้อานวยการสถานศึกษาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ กรณีที่รองผู้อานวยการสถานศึกษาย้ายสถานศึกษาระหว่างปีงบประมาณ ให้จัดทาข้อตกลง ในการพัฒนางานกับผู้อานวยการสถานศึกษาคนใหม่
  • 9. คาชี้แจงและการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน • ตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษา “ข้อตกลงในการพัฒนางาน” (Performance Agreement : PA) หมายความว่า ข้อตกลง ที่ผู้อานวยการสถานศึกษาได้เสนอต่อผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อแสดงเจตจานงว่าภายในรอบการประเมินจะพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพครู และ ยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่ คาดหวังของตาแหน่งและวิทยฐานะที่ดารงอยู่ และสอดคล้องกับเป้าหมาย และบริบท สถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและกระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้อานวยการสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ได้เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ❖ ผู้อานวยการสถานศึกษาต้องจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางานตามแบบที่ ก.ค.ศ. กาหนด ทุกปีงบประมาณ เสนอต่อผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา
  • 10. คาชี้แจงและการจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางาน ❖ กรณีที่ผู้อานวยการสถานศึกษาย้าย หรือรักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ให้ดาเนินการ ดังนี้ 1) กรณีที่ผู้อานวยการสถานศึกษาย้ายสถานศึกษาระหว่างปีงบประมาณให้จัดทา ข้อตกลงในการพัฒนางานกับผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาคนใหม่ 2) กรณีที่รองผู้อานวยการสถานศึกษาได้รับการแต่งตั้งให้รักษาการในตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษา ให้จัดทาข้อตกลงในการพัฒนางานในตาแหน่งรองผู้อานวยการ สถานศึกษา กับผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3) กรณีที่ข้าราชการครูได้รับการแต่งตั้งให้รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ สถานศึกษา ให้จัดทาข้อตกลงในการพัฒนางานในตาแหน่งครู กับผู้อานวยการสานักงานเขต พื้นที่การศึกษา
  • 11. แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สาหรับข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา 1. แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (แบบ PA 1/บส) สาหรับข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา (ยังไม่มีวิทยฐานะ) 2. แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (แบบ PA 1/บส) สาหรับข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา (วิทยฐานะชานาญการ) 3. แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (แบบ PA 1/บส) สาหรับข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา (วิทยฐานะชานาญการพิเศษ) 4. แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (แบบ PA 1/บส) สาหรับข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา (วิทยฐานะเชี่ยวชาญ) 5. แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (แบบ PA 1/บส) สาหรับข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา (วิทยฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ)
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 20. ส่วนที่ องค์ประกอบ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการ พัฒนางานตามมาตรฐาน ตาแหน่ง (คะแนนเต็ม 60 คะแนน) 1) การปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่งผู้บริหารสถนศึกษา และมีภาระงานตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด 2) ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา เป็นการประเมินผล การปฏิบัติงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบของตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ตามที่ กาหนดไว้ในมาตรฐานตาแหน่งทั้ง 5 ด้าน จานวน 15 ตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นาทางวิชาการ จานวน 6 ตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา จานวน 3 ตัวชี้วัด ด้านที่ 3 ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม จานวน 2 ตัวชี้วัด ด้านที่ 4 ด้านการบริหารงานชุมชนและเครือข่าย จานวน 2 ตัวชี้วัด ด้านที่ 5 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ จานวน 2 ตัวขี้วัด ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการ พัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็น ท้าทายในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน ครูและสถานศึกษา (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ตัวชี้วัดการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
  • 21. ตาแหน่ง ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง รายละเอียด รองผู้อานวยการ สถานศึกษา ปรับประยุกต์ (Apply and Adapt) สามารถปรับประยุกต์การบริหาร จัดการสถานศึกษา และปฏิบัติงาน จนปรากฏ ผลลัพธ์กับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ได้ตามมาตรฐาน ตาแหน่ง ผู้อานวยการ สถานศึกษา ระดับการปฏิบัติที่คาดหวังในตาแหน่งและวิทยฐานะ ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา กรณีที่ยังไม่มีวิทยฐานะ
  • 22. ตาแหน่ง ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง รายละเอียด รองผู้อานวยการ/ ผู้อานวยการชานาญการ แก้ไขปัญหา (Solve the Problem) สามารถแก้ไขปัญหาคุณภาพ ผู้เรียน ครู และสถานศึกษา รองผู้อานวยการ/ ผู้อานวยการชานาญการ พิเศษ ริเริ่ม พัฒนา (Originate & Improve) สามารถริเริ่มพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน ครู และสถานศึกษา ระดับการปฏิบัติที่คาดหวังในตาแหน่งและวิทยฐานะ ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา กรณีที่มีวิทยฐานะ
  • 23. ตาแหน่ง ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง รายละเอียด รองผู้อานวยการ/ ผู้อานวยการเชี่ยวชาญ คิดค้น ปรับเปลี่ยน (Invent & Transform) สามารถคิดค้น พัฒนานวัตกรรม และปรับเปลี่ยน ให้คุณภาพผู้เรียน ครู และสถานศึกษาสูงขึ้น เป็น แบบอย่างที่ดี และให้คาปรึกษาผู้อื่น รองผู้อานวยการ/ ผู้อานวยการเชี่ยวชาญ พิเศษ สร้างการเปลี่ยนแปลง (Create an Impact) สามารถคิดค้น พัฒนานวัตกรรม เผยแพร่ และขยายผล จนนาไปสู่ การเปลี่ยนแปลง ในวงวิชาชีพ เป็น แบบอย่างที่ดี ให้คาปรึกษาผู้อื่น และ เป็นผู้นา ระดับการปฏิบัติที่คาดหวังในตาแหน่งและวิทยฐานะ ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา กรณีที่มีวิทยฐานะ
  • 24. คะแนน ระดับคุณภาพ รายละเอียด 1 ปฏิบัติได้ต่ากว่าระดับ ที่คาดหวังมาก ไม่ปรากฏผลการปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานตาแหน่ง/มาตรฐาน วิทยฐานะที่ดารงอยู่ 2 ปฏิบัติได้ต่ากว่าระดับ ที่คาดหวัง มีการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่งในตัวชี้วัดนั้นอยู่บ้าง แต่ ไม่ครบถ้วน และไม่มีคุณภาพตามมาตรฐานตาแหน่ง/มาตรฐาน วิทยฐานะที่ดารงอยู่ 3 ปฏิบัติตามระดับ ที่คาดหวัง มีการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่ง และมีคุณภาพตาม มาตรฐานตาแหน่ง/มาตรฐานวิทยฐานะที่ดารงอยู่ 4 ปฏิบัติได้สูงกว่าระดับ ที่คาดหวัง มีการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่งและมีคุณภาพสูงกว่า มาตรฐานตาแหน่ง/มาตรฐานวิทยฐานะที่ดารงอยู่ ระดับคะแนนและคุณภาพการประเมินในแต่ละตาแหน่งและวิทยฐานะ ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
  • 25. ระดับคุณภาพ ค่าคะแนนที่ได้ คะแนนเต็ม 10 คะแนนเต็ม 20 4 10.00 20.00 3 7.50 15.00 2 5.00 10.00 1 2.50 5.00 ระดับคะแนนและคุณภาพการประเมินในแต่ละตาแหน่งและวิทยฐานะ ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
  • 26. ตาแหน่ง ประธาน กรรมการ จานวน 2 คน รองผู้อานวยการ สถานศึกษา ผู้อานวยการสถานศึกษานั้น - ศน. /เคยเป็น ศน. ไม่ต่ากว่า วิทยฐานะ ศน. ชานาญการพิเศษ - ผู้ทรงคุณวุฒิในสถาบันอุดมศึกษา ความรู้ ความสามารถเหมะสม ไม่ต่ากว่า ผศ. - ผอ.จากสถานศึกษาอื่น ไม่ต่ากว่าวิทยฐานะ ผอ. ชานาญการพิเศษ - ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความสามารถเหมาะสม ผู้อานวยการ สถานศึกษา ผอ.เขต นั้น หรือผู้ที่ได้รับ มอบหมาย - ผู้ทรงคุณวุฒิในสถาบันอุดมศึกษา ความรู้ ความสามารถหมะสม ไม่ต่ากว่า ผศ. - ผอ. สถานศึกษาอื่นที่มีวิทยฐานะ ไม่ต่ากว่า วิทยฐานะ ผอ. ชานาญการพิเศษ - ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความสามารถเหมาะสม การตั้งคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง (PA) สาหรับตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
  • 27.
  • 28. วิธีการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง (PA) สาหรับตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการประเมิน พิจารณาประเมินตามระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของ ตาแหน่งและวิทยฐานะ ตามแบบที่ ก.ค.ศ. กาหนด - ตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา ให้ผู้อานวยการสถานศึกษาเป็น ผู้รับผิดชอบระบบ DPA - ตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นผู้รับผิดชอบ ระบบ DPA และให้ผู้รับผิดชอบระบบ DPA นาข้อมูลผลการประเมิน การพัฒนางานตามข้อตกลง ในแต่ละรอบการประเมินของผู้บริหารสถานศึกษา แต่ละรายเข้าสู่ระบบเป็นประจาทุกรอบการประเมิน
  • 29. เกณฑ์การตัดสินการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง (PA) สาหรับตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ❖ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด ❖ ผลการประเมินการพัฒนางาน ตามข้อตกลงผ่านเกณฑ์ โดยต้องได้ คะแนนจากกรรมการแต่ละคน ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.