SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 45
Downloaden Sie, um offline zu lesen
RIGHTS BASED INTERNET GOVERNANCE

การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
@bact อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล

@thainetizen เครือข่ายพลเมืองเน็ต

และบริษัท ไวซ์ไซท์ (ประเทศไทย) จํากัด
THNG CAMP #8
24 ธันวาคม 2561
ประเด็นเสวนา
➤ ความสัมพันธ์เชิงอํานาจในยุคดิจิทัล
➤ “แรง 4 แรง” ในการกํากับกิจการ
➤ อินเทอร์เน็ต

ในฐานะโครงสร้างพื้นฐานกลาง

ที่ทุกคนในโลกเป็นเจ้าของร่วมกัน
➤ ข้ามกิจการ ข้ามแดน ข้ามศาสตร์
➤ Multistakeholderism
➤ ตัวอย่าง
ความสัมพันธ์เชิงอํานาจที่เปลี่ยนไปในยุคดิจิทัล
ก่อนดิจิทัล ดิจิทัล
ผู้ให้บริการสาธาณะ รัฐ บริษัท
สัญญา สัญญาประชาคม ข้อตกลงการใช้งาน
กรอบกํากับกิจการ

ในประเทศ
คําประกาศสิทธิ, รัฐธรรมนูญ กฎหมายการค้าและผู้บริโภค
กรอบกํากับกิจการ

ระหว่างประเทศ
หลักการสิทธิมนุษยชนสากล ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ
การแสดงเจตจํานง ลงคะแนน ซื้อ (หรือ “ขายตัวเอง”)
วิธีบันทึกข้อมูลประชากร สํามะโน (ทุก 5-10 ปี) อุปกรณ์เซ็นเซอร์ (เวลาจริง)
พื้นที่ที่เกิดกิจกรรม

ของประชากร
ภายในพรมแดนรัฐชาติ ข้ามพรมแดน
ชนิดของพื้นที่ สาธารณะและเอกชน เกือบทั้งหมดเป็นของเอกชน
ความสัมพันธ์

กับผู้ให้บริการ
พลเมืองของรัฐ ลูกค้า (หรือสินค้า) ของบริษัท
แรง 4 แรงในการกํากับกิจการ (LESSIG’S PATHETIC DOT THEORY, 1998)
ตลาด

(เศรษฐกิจ)
สถาปัตยกรรม

(เทคโนโลยี)
ปทัสถาน

(วัฒนธรรม)
กฎหมาย
(legal code) (computer code)
ตลาด
สถาปัตยกรรม
ปทัสถาน
กฎหมาย
Data Comp
Net
UI
ข้อมูล การคํานวณ
เครือข่าย
ส่วนติดต่อผู้ใช้
ระบบสารสนเทศ
Multi-stakeholderism
multistakeholder governance model
ตัวอย่าง
กรณีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ
ข้อมูล ณ ที่พํานัก / DATA AT REST / STATIONARY DATA
ข้อมูล
ข้อมูลระหว่างเดินทาง / DATA IN TRANSIT / DATA IN MOTION
ข้อมูล
เราสูญเสียการควบคุมได้อย่างไรบ้าง - ข้อมูล ณ ที่พํานัก
โทรศัพท์
มือถือ
ผู้ให้บริการ
ข้อมูล
เพิ่มการควบคุมได้โดย:

ไม่ลงโปรแกรมที่ไม่รู้จัก, แอนตี้ไวรัส, กําหนดระดับชั้นเข้าถึงข้อมูล, เข้ารหัสลับข้อมูลในอุป
กรณ์ (device encryption), ไฟร์วอลล์, ความมั่นคงปลอดภัยทางกายภาพ,
Transparency report (self-audit / 3rd-party audit)
มัลแวร์,
หาย, ถูกยึด, ตกนํ้า,
ถูกแอบดู
เจาะระบบ,
ข้อมูลหลุดรั่ว,

สั่งขอข้อมูล
ข้อมูล
เราสูญเสียการควบคุมได้อย่างไรบ้าง - ข้อมูลระหว่างเดินทาง
ข้อมูล
โทรศัพท์

มือถือ
ผู้ให้บริการ
ดักข้อมูล
เพิ่มการควบคุมได้โดย:

การเข้ารหัสลับการสื่อสารจากต้นทางถึงปลายทาง (end-to-end
communication encryption): VPN, HTTPS, Tor
ข้อมูลข้ามพรมแดน / CROSS-BORDER DATA FLOW
ผู้ใช้
ผู้ให้บริการ
เชื่อมต่อระหว่าง
ประเทศ
เกตเวย์/
ผู้ให้บริการเชื่อม
ต่อในประเทศ
ข้อมูล
ข้อมูลจราจร
(traffic log,
metadata)
ข้อมูล
ในเขตกฎหมายประเทศ X นอกเขตกฎหมายประเทศ X
Manipulation
การโจมตีระบบสารสนเทศเกิดที่ไหน
1. Data ข้อมูล+อัตลักษณ์

เช่น ปลอมข้อมูล ขโมยตัวตน
2. Computation การประมวลผล

เช่น ฝังโค้ดที่ทําให้ระบบทํางานผิด
ไปจากที่เจ้าของกําหนด
3. Network เครือข่าย+ฮาร์ดแวร์

เช่น DDoS โจมตีให้ระบบล่ม
➤ เหตุผลที่รวม Identity (อัตลักษณ์บุคคล) เข้ากับ
Data เพราะในมุมมองของคอมพิวเตอร์ มันไม่มีมนุ
ษย์ มีแต่ข้อมูล มันจัดการกับข้อมูลเท่านั้น
➤ การโจมตีทําให้เราเสียการควบคุม
➤ ใช้งาน “ไม่ได้อย่างใจคิด”
ข้อมูล การคํานวณ
เครือข่าย
ส่วนติดต่อผู้ใช้
ระบบสารสนเทศ
ข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตปลอดภัยแค่ไหน?
➤ ระบบการนําส่งข้อมูลของอินเทอร์เน็ตมีลักษณะเหมือนระบบไปรษณีย์ 

ที่ทุกข้อความถูกเขียนลงบนไปรษณียบัตร
➤ ข้อมูลที่ส่งในระบบอินเทอร์เน็ต โดยการออกแบบเริ่มแรก ไม่ถูกเข้ารหัสลับ
(จดหมายที่ไม่ได้ใส่ซองปิดผนึก) ใครก็หยิบไปอ่านได้
➤ เคยปลอดภัยในสมมติฐานของอินเทอร์เน็ตสมัยเริ่มแรก

(คนที่ต่อเน็ตได้ ทุกคนรู้จักกันหรือมาจากองค์กรที่เชื่อถือกัน)
➤ ไม่ปลอดภัยอีกต่อไปแล้ว ในยุคนี้ -- สมมติฐานที่เคยถูก ตอนนี้ผิด

(ทุกคนต่อเข้าระบบได้โดยไม่ต้องขออนุญาต ไม่รู้ใครเป็นใคร)
➤ เป็นสาเหตุที่เราควรเข้ารหัสลับข้อมูล ก่อนจะส่งข้อมูลใดๆ
ตัวอย่าง
กรณีการรักษาความเป็นส่วนตัวตั้งแต่เริ่มออกแบบระบบ
ตลาด
สถาปัตยกรรม
ปทัสถาน
กฎหมาย
Data Comp
Net
UI
Privacy by Default

and by Design
วัฒนธรรมองค์กร
ส่วนติดต่อ
ผู้ใช้ชัดเจน
เข้ารหัสลับ
การสื่อสาร
UX CLASSIC EXAMPLE: THE NORMAN DOOR
การออกแบบให้ทุกคนใช้ได้ - และใช้ได้อย่างที่ใจคิดด้วย
ผลัก หรือ ดึง?
ตลาด
สถาปัตยกรรม
ปทัสถาน
กฎหมาย
Data Comp
Net
UI
Privacy by Default

and by Design
วัฒนธรรมองค์กร
ส่วนติดต่อ
ผู้ใช้ชัดเจน
เข้ารหัสลับ
การสื่อสาร
เมื่อการกรองเนื้อหาบางชิ้น กลายเป็นการจับตาสอดส่องข้อมูลทุกชิ้น
(online intermediary)
(transmission/device level)
(individual content providers—users)
1. ยุคก่อนเว็บ:

ปัญหา: มีเนื้อหาที่ไม่ถูกใจปรากฏ

มาตรการ: ลงโทษผู้จัดพิมพ์หรือเผยแพร่
2. ยุคเว็บ 1.0:

ปัญหา: มีผู้จัดพิมพ์เยอะเกินไป

มาตรการ: ลงโทษสื่อตัวกลาง
3. ยุคเว็บ 2.0:

ปัญหา: อยู่นอกเขตอํานาจศาล

มาตรการ: ปิดกั้นเนื้อหา [ข้อมูลระหว่างเดินทาง]
4. ยุคเว็บเข้ารหัสลับ:

ปัญหา: ปิดกั้นเฉพาะหน้าเว็บไม่ได้ ถ้าใช้
HTTPS (ต้องปิดทั้งชื่อโดเมน)

มาตรการ: หลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดการเข้ารหัสลับ,
สปายแวร์ [ข้อมูล ณ ที่พํานัก]
ยิ่งมาตรการลงไปลึกใกล้กับโครงสร้างพื้นฐาน ผลกระทบที่ไม่คาด
คิดยิ่งมากขึ้น ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องยิ่งได้ระดับผลกระทบมากขึ้น
การรักษาความเป็นส่วนตัวระดับโปรโตคอลอินเทอร์เน็ต
การรักษาความเป็นส่วนตัวระดับโปรโตคอลอินเทอร์เน็ต - RFC 6973
การรักษาความเป็นส่วนตัวระดับโปรโตคอลอินเทอร์เน็ต - RFC 7258
การรักษาความเป็นส่วนตัวระดับโปรโตคอลอินเทอร์เน็ต - HRPC
➤ Human Rights Protocol Considerations Research Group

inside Internet Research Task Force (IRTF) — hrpc.io
➤ hrpc.io/net-of-rights (16-min documentary)
➤ RFC 6973 - Privacy Considerations for Internet Protocols 

datatracker.ietf.org/doc/rfc6973
➤ RFC 7258 - Pervasive Monitoring Is an Attack 

datatracker.ietf.org/doc/rfc7258
➤ RFC 8280 - Research into Human Rights Protocol Considerations 

datatracker.ietf.org/doc/rfc8280
➤ Human Rights Considerations of Internet Filtering 

datatracker.ietf.org/doc/draft-elkins-hrpc-ifilter
➤ Notes on networking standards and politics 

datatracker.ietf.org/doc/draft-irtf-hrpc-political
➤ Freedom of Association on the Internet 

datatracker.ietf.org/doc/draft-irtf-hrpc-association
ตัวอย่าง
เสรีภาพในการชุมนุมและเสรีภาพในการรวมตัวสมาคม
FREEDOM OF ASSEMBLY AND ASSOCIATION - ONLINE
➤ The rights to freedom of peaceful assembly and association
should be construed to include any space where people can
meet, include online spaces.
“PEACEFUL”
➤ Includes “conduct that may annoy or give offence, and even
conduct that temporarily hinders, impedes or obstructs the
activities of third parties”

— OSCE* Guidelines of freedom of peaceful assembly 

(*Organization for Security and Co-operation in Europe)
LIMITATIONS TO FOAA
➤ Articles 21 and 22 of International Covenant on Civil and
Political Rights (ICCPR) provide that any limitations on the
rights must be provided for by law, and only those absolutely
necessary for national security, public order, or the protection
of other rights**.
FREEDOM OF ASSEMBLY 2D
➤ The right to organise and plan an assembly — through offline
or online interaction
➤ The right to peaceful assembly itself, that occur in a space —
offline and online — like on Twitter or discussion forums.
FREEDOM OF ASSOCIATION ONLINE
➤ Existing kinds of associations reach out further
➤ Some kinds of associations may only exist online, in some
societies
LINKS TO OTHER RIGHTS
➤ Freedom of expression

enables assembly and association
➤ Freedom of association

helps develop message to express and make it reach out
➤ Right to privacy (including anonymity and to be forgotten)

is key for realisation of assembly and association
TO ENJOY FREEDOM OF ASSEMBLY
➤ Need a secure communication
➤ Need a safe and publicly accessible space
TO ENJOY FREEDOM OF ASSOCIATION
➤ Need trust
➤ Need relative anonymity
TECHNICAL MEASURES AGAINST FOAA
➤ Filtering, blocking, and DDOS — affect integrity of
communication and availability of spaces

— limit freedom of assembly
➤ Surveillance and profiling — affect confidentiality, limit
privacy, and create fear

— limit freedom of association
ตัวอย่าง
ประเด็นอุบัติใหม่อื่นๆ
ประเด็นท้าทายในอินเทอร์เน็ตและเศรษฐกิจใหม่
Data
Network

(go across national borders)
Computation
Net neutrality

(which activities are prioritised?)
Infrastructure ownership 

(who can get connected?)
Sensory citizenship

(whose ‘votes’ got counted?)
Big Data 

(Volume, Variety,
Velocity)
LinkabilityIdentity

(do/how you exist?)
Citizen
science
Metadata
Bias / Discrimination
“Precrime”

(Predictive crime control, systemic
prejudgement, algorithmic bias)
Anonymity
Peer-to-peer
network
Cloud
storage
Cloud
computing
Consumer rights
as Civil rights
Media
convergence
Behavior
Re-identification
Interface
Accessibility
Multicultural
environment
มาตรการในการเพิ่มความมั่นคงปลอดภัยให้กับระบบสารสนเทศ
User Access Control
Algorithm auditing
Oversight

Board
Design for

Clarity+Consent
Privacy Impact

Assessment
Software validation

and verification
Social engineering
prevention
Cryptography
Firewall
Hardening
Physical Security
ObfuscationTransparency
Report
ตัวอย่าง
การกํากับตัวเอง/กํากับกันเองภายในวิชาชีพ
เปิดประตูสู่การอภิบาลอินเทอร์เน็ต (หนังสือ - PDF ฟรี)
www.facebook.com/thailandictcamp
รับสมัครถึง 28 ก.พ. 2562
ขอบคุณครับ
arthit@thainetizen.org

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง

ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)Arthit Suriyawongkul
 
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703opendream
 
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703opendream
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Connectivism Learning
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Connectivism Learning
 
Chapter 8 computer&society law
Chapter 8 computer&society lawChapter 8 computer&society law
Chapter 8 computer&society lawjazzmusicup
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์KruKaiNui
 
G.19 commercialization of innovation social network
G.19 commercialization of innovation social networkG.19 commercialization of innovation social network
G.19 commercialization of innovation social networkPannaporn Saengdee
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลHappy Sara
 
Media and Information Literacy - A Thai Netizen perspective
Media and Information Literacy - A Thai Netizen perspectiveMedia and Information Literacy - A Thai Netizen perspective
Media and Information Literacy - A Thai Netizen perspectiveThai Netizen Network
 
03ข้อควรปฏิบัติ
03ข้อควรปฏิบัติ03ข้อควรปฏิบัติ
03ข้อควรปฏิบัติKruJarin Mrw
 
จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555wandee8167
 
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅWatinee Poksup
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้guesta6407f
 

Ähnlich wie Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง (20)

ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
 
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
 
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
power
powerpower
power
 
Chapter 8 computer&society law
Chapter 8 computer&society lawChapter 8 computer&society law
Chapter 8 computer&society law
 
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์
 
G.19 commercialization of innovation social network
G.19 commercialization of innovation social networkG.19 commercialization of innovation social network
G.19 commercialization of innovation social network
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
 
Media and Information Literacy - A Thai Netizen perspective
Media and Information Literacy - A Thai Netizen perspectiveMedia and Information Literacy - A Thai Netizen perspective
Media and Information Literacy - A Thai Netizen perspective
 
03ข้อควรปฏิบัติ
03ข้อควรปฏิบัติ03ข้อควรปฏิบัติ
03ข้อควรปฏิบัติ
 
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
J5
J5J5
J5
 
จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555
 
Overview: Worldwide Internet Freedom
Overview: Worldwide Internet FreedomOverview: Worldwide Internet Freedom
Overview: Worldwide Internet Freedom
 
Social Network
Social NetworkSocial Network
Social Network
 
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
 

Mehr von Arthit Suriyawongkul

Beyond retailer-consumer relationships
Beyond retailer-consumer relationshipsBeyond retailer-consumer relationships
Beyond retailer-consumer relationshipsArthit Suriyawongkul
 
ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...
 ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล... ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...
ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...Arthit Suriyawongkul
 
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...Arthit Suriyawongkul
 
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัว
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัวพ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัว
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัวArthit Suriyawongkul
 
โดนอุ้มในโลกเสมือน
โดนอุ้มในโลกเสมือน โดนอุ้มในโลกเสมือน
โดนอุ้มในโลกเสมือน Arthit Suriyawongkul
 
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัล
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัลคนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัล
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัลArthit Suriyawongkul
 
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on Thailand
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on ThailandThree-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on Thailand
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on ThailandArthit Suriyawongkul
 
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...Arthit Suriyawongkul
 
Data Protection
 in the Age of Big Data
Data Protection
 in the Age of Big DataData Protection
 in the Age of Big Data
Data Protection
 in the Age of Big DataArthit Suriyawongkul
 
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16Arthit Suriyawongkul
 
Information Laws in Mekong Countries
Information Laws in Mekong CountriesInformation Laws in Mekong Countries
Information Laws in Mekong CountriesArthit Suriyawongkul
 
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมืองแนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมืองArthit Suriyawongkul
 
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวม
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวมการส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวม
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวมArthit Suriyawongkul
 
Cybercrime and Cybersecurity Differences
Cybercrime and Cybersecurity DifferencesCybercrime and Cybersecurity Differences
Cybercrime and Cybersecurity DifferencesArthit Suriyawongkul
 
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in Thailand
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in ThailandDevelopment and Concerns over "Digital Economy" Bills in Thailand
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in ThailandArthit Suriyawongkul
 
The Junta Digital Agenda: 76 Days Later
The Junta Digital Agenda: 76 Days LaterThe Junta Digital Agenda: 76 Days Later
The Junta Digital Agenda: 76 Days LaterArthit Suriyawongkul
 
The state of Internet freedom after the coup in Thailand
The state of Internet freedom after the coup in ThailandThe state of Internet freedom after the coup in Thailand
The state of Internet freedom after the coup in ThailandArthit Suriyawongkul
 
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิด
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิดเร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิด
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิดArthit Suriyawongkul
 
Consumer Rights IS THE NEW Civil Rights
Consumer Rights IS THE NEW Civil RightsConsumer Rights IS THE NEW Civil Rights
Consumer Rights IS THE NEW Civil RightsArthit Suriyawongkul
 

Mehr von Arthit Suriyawongkul (20)

Beyond retailer-consumer relationships
Beyond retailer-consumer relationshipsBeyond retailer-consumer relationships
Beyond retailer-consumer relationships
 
ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...
 ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล... ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...
ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...
 
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...
 
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัว
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัวพ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัว
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัว
 
โดนอุ้มในโลกเสมือน
โดนอุ้มในโลกเสมือน โดนอุ้มในโลกเสมือน
โดนอุ้มในโลกเสมือน
 
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัล
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัลคนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัล
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัล
 
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on Thailand
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on ThailandThree-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on Thailand
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on Thailand
 
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...
 
Data Protection
 in the Age of Big Data
Data Protection
 in the Age of Big DataData Protection
 in the Age of Big Data
Data Protection
 in the Age of Big Data
 
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16
 
Information Laws in Mekong Countries
Information Laws in Mekong CountriesInformation Laws in Mekong Countries
Information Laws in Mekong Countries
 
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมืองแนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
 
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวม
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวมการส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวม
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวม
 
Cybercrime and Cybersecurity Differences
Cybercrime and Cybersecurity DifferencesCybercrime and Cybersecurity Differences
Cybercrime and Cybersecurity Differences
 
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in Thailand
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in ThailandDevelopment and Concerns over "Digital Economy" Bills in Thailand
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in Thailand
 
Thailand on LINE
Thailand on LINEThailand on LINE
Thailand on LINE
 
The Junta Digital Agenda: 76 Days Later
The Junta Digital Agenda: 76 Days LaterThe Junta Digital Agenda: 76 Days Later
The Junta Digital Agenda: 76 Days Later
 
The state of Internet freedom after the coup in Thailand
The state of Internet freedom after the coup in ThailandThe state of Internet freedom after the coup in Thailand
The state of Internet freedom after the coup in Thailand
 
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิด
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิดเร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิด
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิด
 
Consumer Rights IS THE NEW Civil Rights
Consumer Rights IS THE NEW Civil RightsConsumer Rights IS THE NEW Civil Rights
Consumer Rights IS THE NEW Civil Rights
 

Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง