SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน SLE(โรคพุ่มพวง,โรคแพ้ภูมิตัวเอง)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ น.ส.กุลศิดา พิทาคา เลขที่ 8 ชั้น ม.6ห้อง 5
ชื่อ น.ส.อภิลดา กล้าแข็ง เลขที่ 9 ชั้น ม.6ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม น.ส. อภิลดา กล้าแข็ง เลขที่ 9 น.ส.กุลศิดา พิทาคา เลขที่ 8 ชั้น ม.6ห้อง 5
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคเอสแอลอีหรือโรคพุ่มพวง,โรคแพ้ภูมิตัวเอง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Systemic lupus erythematosus, SLE
ประเภทโครงงาน ประเภทสารวจ
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส. อภิลดา กล้าแข็ง น.ส.กุลศิดา พิทาคา เลขที่ 8 ชั้น ม.6ห้อง 5
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 3 ก.ย. 62 – 17 ก.ย. 62 ( 2สัปดาห์ )
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
SLE เป็นที่พบได้ค่อนข้างบ่อยในประเทศไทย และมักมีความรุนแรงมาก โดยเฉพาะเมื่อมีอาการทางไตร่วม
ด้วย โรคนี้มีอาการและอาการแสดง, การดาเนินโรค, การตอบสนองต่อการรักษาและการพยากรณ์โรคได้หลากหลาย โรคนี้
เกิดจากมีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ทาให้มีการสร้างภูมิต่อต้านหลายชนิดต่อเซลล์และ ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ
เซลล์ของตนเอง มีผลทาให้
3
เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ทั่วตัว ผู้ป่วย จึง
มีอาการได้มากมายหลายอย่างเพราะระบบต่าง ๆ ทั่วร่างกาย
เกิดความผิดปกติได้เกือบหมด แม้ว่าโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง
เอสแอลอี หรือลูปัส จะไมได้พบกันบ่อยๆ แต่ก็พบได้เรื่อยๆ
พบได้ตั้งแต่เด็กไปจนถึงผู้สูงอายุ แม้ว่าจะหาสาเหตุที่แท้จริง
ไม่ได้แต่ก็มีปัจจัยเสี่ยงที่
Cr:https://beezab.com/%E
ทาให้ภูมิคุ้มกันทางานผิดปกติอยู่หลายประการ ทาให้เกิด ความสนใจที่จะศึกษาว่า มีสาเหตุเกิดจากอะไร อาการเป็นอย่างไร
บุคคลกลุ่มใดเสี่ยงต่อการเกิดโรค มีวิธีป้องกัน อย่างไร เมื่อเป็นโรคแล้ว จะมีวิธีรักษาทางการแพทย์อย่างไร ผลข้างเคียง
ของยาที่ทานนั้นมีผลต่อร่างกายใน ระยะยาวอย่างไร มีวิธีดูแลรักษาหลังจากไม่ได้ทานยาแล้ว อย่างไร
วัตถุประสงค์
1. เพื่อทราบสาเหตุ
2. เพื่อทราบอาการ
3. เพื่อทราบความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
4. เพื่อทราบวิธีการดูแลรักษา และวิธีดูแลตัวเอง
ขอบเขตโครงงาน
1. ค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ที่เชื่อถือได้
2. นาประสบการณ์มาให้ข้อมูลเสริมร่วมกับโครงงาน
4
หลักการและทฤษฎี
โรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง เป็นอย่างไร?
โรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง SLE ลูปัส หรือโรคพุ่มพวง เป็นโรคที่เกิดจากภาวะที่ร่างกายสร้างสารภูมิคุ้มกันต้านทาน ผิดปกติ
โดยเข้าไปต่อต้านเนื้อเยื่อ หรืออวัยวะต่างๆ ในร่างกาย เป็นผลทาให้เกิดการอักเสบเรื้อรังในบริเวณนั้น
ใครที่เสี่ยงเป็นโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง?
แม้ว่าโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง เอสแอลอี หรือลูปัส จะไมได้พบกันบ่อยๆ แต่ก็พบได้เรื่อยๆ พบได้ตั้งแต่เด็กไปจนถึง
ผู้สูงอายุ แม้ว่าจะหาสาเหตุที่แท้จริงไม่ได้แต่ก็มีปัจจัยเสี่ยงที่ท าให้ภูมิคุ้มกันทางานผิดปกติอยู่หลายประการ
- พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
- ความผิดปกติจากพันธุกรรม (ชนิดที่ถ่ายทอดได้)
- ติดเชื้อจากแบคทีเรีย หรือไวรัสบางชนิด – มีอาการแพ้กับสิ่งต่างๆ
- สูบบุหรี่
- ผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางชนิด เช่น ยาป้องกันการชัก ยาคุมกาเนิด ยาลดน้าหนักบางชนิด - เครียด ทางานหนัก ออก
กาลังกายมากเกินไป
Cr: https://www.matichon.co.th/article/news_1209182
5
อาการของโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง ?
สัญญาณอันตรายที่เป็นอาการเริ่มต้นของโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง มีหลากหลายอาการขึ้นอยู่กับบริเวณที่เกิดความ ผิดปกติ
จนมีอาการอักเสบในระยะแรก ไปจนถึงระยะเรื้อรังที่อาจเริ่มเกี่ยวพันกับอวัยวะส่วนอื่นๆ
1. อาการผิดปกติทั่วไปที่หาสาเหตุไม่ได้เช่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ผอมลง
2. อาการทางผิวหนัง เช่น มีผื่นแดง มักขึ้นบริเวณใบหน้าช่วงตรงกลาง
และโหนกแก้มทั้งสองข้าง รูปร่าง คล้ายผีเสื้อ และอาจมีอาการผมร่วง
3. อาการปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ อาจไม่มีอาการบวมแดง แต่ปวดได้ทุกส่วนที่มี
ข้อ เช่น ข้อเข่า ข้อเท้า ข้อมือ ข้อนิ้ว
4. อาการทางปอด เช่น เจ็บหน้าอก ไอ ปอด เยื่อหุ้มปอดอักเสบ มีน้าในปอด
เหนื่อยง่าย เยื่อหุ้มหัวใจ อักเสบ ไปจนถึงหัวใจเต้นผิดปกติ
5. อาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง เบื่ออาหาร
6. อาการทางไต ความดันโลหิตสูง เช่น ขาบวม จากการบวมน้า
7. อาการทางระบบโลหิต เช่น โลหิตจาง ภาวะซีด ความดันโลหิตต่า เม็ด
เลือดขาวต่า เกล็ดเลือดต่าหลอดเลือดอักเสบ อาจจะพบเป็นจุดแดงๆ เล็กๆ ทั่ว
ตัวคล้ายไข้เลือดออก
Cr: https://www.healthlabclinic.com
8. อาการทางระบบประสาท เช่น มีอาการชักโดยไม่ทราบสาเหตุ แขนขาอ่อนแรง ไม่มีสมาธิ เครียด นอนไม่หลับ ซึมเศร้า
วิตกกังวล มีปัญหาในการจ า สับสน เห็นภาพ หลอน โดยอาจเป็นผลข้างเคียงมาจากอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบอีกทีได้
Cr:https://www.sanook.com/health/7733/
Cr:http://www.student.chula.ac.th/
6
การรักษาโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง
แพทย์จะพยายามควบคุมโรคให้สงบด้วยการให้ทานยา ทาการรักษาตามอาการที่พบ และติดตามอาการไปเรื่อยๆ จนกว่า
อาการจะสงบ
หากเข้ารับการรักษาตั้งแต่เนิ่นๆ จะยิ่งท าให้แพทย์ท าการรักษา และควบคุมอาการได้ดีขึ้น จนไม่มีอะไรต้องน่ากลัว หรือถึง
ขั้นเสี่ยงเสียชีวิต
วิธีป้องกันโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง
เป็นที่น่าเสียดายที่โรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเองไม่มีวิธีป้องกันได้100% แต่ก็มีวิธีที่จะช่วยลด
ความเสี่ยงในการเป็นโรค นี้ได้ด้วยการดูแลรักษาร่างกายของตัวเองให้แข็งแรงอยู่เสมอ
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ออกกาลังกายเป็นประจาพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่เครียด
จนเกินไป รักษาสุขอนามัยของตัวเองให้สะอาด
ลดโอกาสในการติดเชื้อ และ ปรึกษาแพทย์ทุกครั้งก่อนทานยาอะไรเป็นประจา
การใช้ยารักษาได้แก่
- Biologic DMARDs (disease-modifying antirheumatic drugs): Belimumab, rituximab, IV
immune globulin
- Nonbiologic DMARDS: Cyclophosphamide,
methotrexate, azathioprine, mycophenolate,
cyclosporine
Cr:https://www.thaihealth.or.th/Content/35537
7
- ยากลุ่ม Nonsteroidal anti-inflammatorydrugs (NSAIDS; eg, ibuprofen, naproxen,diclofenac)
- ยากลุ่ม Corticosteroids (eg,methylprednisolone, prednisone)
- ยารักษามาลาเรีย Antimalarials (eg, hydroxychloroquine)
หลังจากวินิจฉัยโรคได้แล้วแพทย์จะท าการรักษาซึ่งอาจจะใช้แพทย์เปลือง เนื่องจากต้องใช้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญหลายสาขา
เช่น แพทย์โรคข้อrheumatologist แพทย์เชี่ยวชาญผิวหนังdermatologists แพทย์เชี่ยวชาญโรคไตnephrologistsแพทย์
เชี่ยวโรคภูมิคุ้มกันimmunologists การรักษาผู้ป่วย SLE ขึ้นกับผู้ป่วยแต่ละคนเนื่องจากแต่ละคนเจ็บป่วยไม่เหมือนกัน
Cr:https://www.facebook.com/SLE.For.Thais/posts/1660392214018737/
- Nonsteroidal anti-inflammatory drugs (NSAIDs)เป็นยาลดการอักเสบใช้รักษาไข้ข้ออักเสบ ปวด
ข้อ ข้อบวม อาจใช้ร่วมกับยาชนิดอื่น ผลข้างเคียงของยาคือ โรคกระเพาะอาหาร ท้องเสีย และบวม
- ยารักษามาลาเรีย มีการนายารักษามาลาเรียมาใช้รักษา SLE โดยเฉพาะรักษาอากรเพลีย ปวดข้อ ผื่น
และปอดอักเสบจาก SLE ได้แก่ยา hydrochloroquine, chloroquine (Aralen), and quinacrine
(Atabrine) ผลข้างเคียงคือแน่นท้อง ตามัวลง
8
- Steroid อาจเป็นยากิน ยาทาหรือยาฉีดขึ้นกับความรุนแรงของโรค เนื่องจากยามีผลข้างเคียงจึงนิยมใช้ยาให้มีขนาดน้อย
ที่สุด ที่สามารถรักษาคนไข้ผลข้างเคียงในระยะสั้นได้แก่ เจริญอาหาร บวม ไม่ควรหยุดยากลุ่มนี้ทันทีเพราะจะเกิดอันตราย
หากกินยานี้เป็นเวลานานจะเกิดผลข้างเคียงคือ กระดูกพรุนความดันโลหิตสูง เบาหวาน ต้อกระจก ติดเชื้อได้ง่าย ผู้ป่วยที่
ได้ยา steroid ควรได้รับ แคลเซี่ยมและวิตามินดีเสริมเพื่อป้องกันโรคกระดูกพรุน
- immunosuppressive หากไม่สามารถควบคุมโรคได้แพทย์จะใช้ยากลุ่มนี้ เพื่อกดภูมิคุ้มกันได้แก่ยา
azathioprine (Imuran) and cyclophosphamide (Cytoxan) ,methotrexate
***เนื่องจากยามีผลข้างเคียงมากดั้งนั้นไม่ควรซื้อยารับประทานเอง หรือหยุดยาเองเพราะอาจเกิดผลเสียได้
การดูแลรักษาผู้ป่วย
นอกจากนี้ผู้ป่วยโรคนี้ก็ควรปฏิบัติตนเองตามคาแนะนาของแพทย์อย่างเคร่งครัด และพบแพทย์ตามเวลา
ที่นัดหมายทุกครั้ง เพื่อให้การติดตามอาการ การควบคุมอาการของโรคเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
วิธีดาเนินงาน
Cr:https://www.siamhealth.net/public_html/Health/Photo_teaching/SLE/sle_treatment.h
Tm
Cr:https://health.campus-star.com/general/20248.html
9
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทา คือเรื่อง Dark Web
2.ศึกษาค้นคว้าและวางแผน โดยศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล รวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิและ
จากผู้มีประสบการณ์ ช่วยให้ได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น
3. จัดทาเค้าโครงของโครงงานที่จะทา โดยศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิง และรวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์และวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงงาน
4. การลงมือทาโครงงาน ดาเนินการทาโครงงาน ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาโครงงานเป็นระยะ ๆ เพื่อให้แน่ใจว่า
โครงงานนั้น ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย
5.นาเสนองานต่ออาจารย์ที่ปรึกษา
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. เอกสารข้อมูลโรคพุ่มพวง
3. เครื่องมือสื่อสาร
10
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคพุ่มพวงทั้ง สาเหตุ การป้องกัน วิธีการรักษา วิธีดูแลตัวเองเมื่อป่วยเป็นโรคนี้ รวมถึงการ
ปฎิบัติตัวเพื่อป้องกันความเสี่ยงของสาเหตุที่ทาเกิดโรค ซึ่งข้อมูลนี้สามารถเผยแพร่เพื่อให้ความรู้กับบุคคลที่สนใจหรือผู้ที่
เสี่ยงต่อการเป็นโรคนี้ได้
สถานที่ดาเนินการ
1. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2. ที่อยู่ปัจจุบัน (บ้าน)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
2. สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
11
แหล่งอ้างอิง
- วิชัย เทียนถาวร.//(2561).//ข้อสันหลังอักเสบ และ SLE : โดย นพ.วิชัย เทียนถาวร.//สืบค้นเมื่อ 23 ตุลาคม
2562,/จาก/https://www.matichon.co.th/article/news_1209182
- Jurairat N..//(2561).// 8 สัญญาณอันตราย “โรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง SLE ลูปัส หรือโรคพุ่มพวง”.//สืบค้นเมื่อ
23 ตุลาคม 2562,/จาก/https://www.sanook.com/health/7733/
- siamhealth.//(2562).//การรักษาโรคเอสแอลอี SLE.//สืบค้นเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2562,/จาก/
https://www.siamhealth.net/public_html/Health/Photo_teaching/SLE/sle_treatment.htm

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์Pack Matapong
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39ssuser5d7fc5
 
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์kanyaluk dornsanoi
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์barbeesati
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5aye_supawan
 
Bipolar disorder22
Bipolar disorder22Bipolar disorder22
Bipolar disorder22dalika
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610Pichnaree Suta
 

Was ist angesagt? (18)

P pcom
P pcomP pcom
P pcom
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
 
N sdis 77_60_5
N sdis 77_60_5N sdis 77_60_5
N sdis 77_60_5
 
sle-pdf
sle-pdfsle-pdf
sle-pdf
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
 
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
 
Sle pdf01
Sle pdf01Sle pdf01
Sle pdf01
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
Work1.1
Work1.1Work1.1
Work1.1
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
Bipolar disorder22
Bipolar disorder22Bipolar disorder22
Bipolar disorder22
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 

Ähnlich wie Com555

Ähnlich wie Com555 (20)

Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
งาน
งานงาน
งาน
 
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
 
แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอม
 
Thipwana
ThipwanaThipwana
Thipwana
 
Pingpong
PingpongPingpong
Pingpong
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
2561 project 609
2561 project 6092561 project 609
2561 project 609
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 

Com555

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน SLE(โรคพุ่มพวง,โรคแพ้ภูมิตัวเอง) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ น.ส.กุลศิดา พิทาคา เลขที่ 8 ชั้น ม.6ห้อง 5 ชื่อ น.ส.อภิลดา กล้าแข็ง เลขที่ 9 ชั้น ม.6ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม น.ส. อภิลดา กล้าแข็ง เลขที่ 9 น.ส.กุลศิดา พิทาคา เลขที่ 8 ชั้น ม.6ห้อง 5 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคเอสแอลอีหรือโรคพุ่มพวง,โรคแพ้ภูมิตัวเอง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Systemic lupus erythematosus, SLE ประเภทโครงงาน ประเภทสารวจ ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส. อภิลดา กล้าแข็ง น.ส.กุลศิดา พิทาคา เลขที่ 8 ชั้น ม.6ห้อง 5 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 3 ก.ย. 62 – 17 ก.ย. 62 ( 2สัปดาห์ ) ที่มาและความสาคัญของโครงงาน SLE เป็นที่พบได้ค่อนข้างบ่อยในประเทศไทย และมักมีความรุนแรงมาก โดยเฉพาะเมื่อมีอาการทางไตร่วม ด้วย โรคนี้มีอาการและอาการแสดง, การดาเนินโรค, การตอบสนองต่อการรักษาและการพยากรณ์โรคได้หลากหลาย โรคนี้ เกิดจากมีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ทาให้มีการสร้างภูมิต่อต้านหลายชนิดต่อเซลล์และ ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ เซลล์ของตนเอง มีผลทาให้
  • 3. 3 เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ทั่วตัว ผู้ป่วย จึง มีอาการได้มากมายหลายอย่างเพราะระบบต่าง ๆ ทั่วร่างกาย เกิดความผิดปกติได้เกือบหมด แม้ว่าโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง เอสแอลอี หรือลูปัส จะไมได้พบกันบ่อยๆ แต่ก็พบได้เรื่อยๆ พบได้ตั้งแต่เด็กไปจนถึงผู้สูงอายุ แม้ว่าจะหาสาเหตุที่แท้จริง ไม่ได้แต่ก็มีปัจจัยเสี่ยงที่ Cr:https://beezab.com/%E ทาให้ภูมิคุ้มกันทางานผิดปกติอยู่หลายประการ ทาให้เกิด ความสนใจที่จะศึกษาว่า มีสาเหตุเกิดจากอะไร อาการเป็นอย่างไร บุคคลกลุ่มใดเสี่ยงต่อการเกิดโรค มีวิธีป้องกัน อย่างไร เมื่อเป็นโรคแล้ว จะมีวิธีรักษาทางการแพทย์อย่างไร ผลข้างเคียง ของยาที่ทานนั้นมีผลต่อร่างกายใน ระยะยาวอย่างไร มีวิธีดูแลรักษาหลังจากไม่ได้ทานยาแล้ว อย่างไร วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทราบสาเหตุ 2. เพื่อทราบอาการ 3. เพื่อทราบความเสี่ยงต่อการเกิดโรค 4. เพื่อทราบวิธีการดูแลรักษา และวิธีดูแลตัวเอง ขอบเขตโครงงาน 1. ค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ที่เชื่อถือได้ 2. นาประสบการณ์มาให้ข้อมูลเสริมร่วมกับโครงงาน
  • 4. 4 หลักการและทฤษฎี โรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง เป็นอย่างไร? โรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง SLE ลูปัส หรือโรคพุ่มพวง เป็นโรคที่เกิดจากภาวะที่ร่างกายสร้างสารภูมิคุ้มกันต้านทาน ผิดปกติ โดยเข้าไปต่อต้านเนื้อเยื่อ หรืออวัยวะต่างๆ ในร่างกาย เป็นผลทาให้เกิดการอักเสบเรื้อรังในบริเวณนั้น ใครที่เสี่ยงเป็นโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง? แม้ว่าโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง เอสแอลอี หรือลูปัส จะไมได้พบกันบ่อยๆ แต่ก็พบได้เรื่อยๆ พบได้ตั้งแต่เด็กไปจนถึง ผู้สูงอายุ แม้ว่าจะหาสาเหตุที่แท้จริงไม่ได้แต่ก็มีปัจจัยเสี่ยงที่ท าให้ภูมิคุ้มกันทางานผิดปกติอยู่หลายประการ - พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย - ความผิดปกติจากพันธุกรรม (ชนิดที่ถ่ายทอดได้) - ติดเชื้อจากแบคทีเรีย หรือไวรัสบางชนิด – มีอาการแพ้กับสิ่งต่างๆ - สูบบุหรี่ - ผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางชนิด เช่น ยาป้องกันการชัก ยาคุมกาเนิด ยาลดน้าหนักบางชนิด - เครียด ทางานหนัก ออก กาลังกายมากเกินไป Cr: https://www.matichon.co.th/article/news_1209182
  • 5. 5 อาการของโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง ? สัญญาณอันตรายที่เป็นอาการเริ่มต้นของโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง มีหลากหลายอาการขึ้นอยู่กับบริเวณที่เกิดความ ผิดปกติ จนมีอาการอักเสบในระยะแรก ไปจนถึงระยะเรื้อรังที่อาจเริ่มเกี่ยวพันกับอวัยวะส่วนอื่นๆ 1. อาการผิดปกติทั่วไปที่หาสาเหตุไม่ได้เช่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ผอมลง 2. อาการทางผิวหนัง เช่น มีผื่นแดง มักขึ้นบริเวณใบหน้าช่วงตรงกลาง และโหนกแก้มทั้งสองข้าง รูปร่าง คล้ายผีเสื้อ และอาจมีอาการผมร่วง 3. อาการปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ อาจไม่มีอาการบวมแดง แต่ปวดได้ทุกส่วนที่มี ข้อ เช่น ข้อเข่า ข้อเท้า ข้อมือ ข้อนิ้ว 4. อาการทางปอด เช่น เจ็บหน้าอก ไอ ปอด เยื่อหุ้มปอดอักเสบ มีน้าในปอด เหนื่อยง่าย เยื่อหุ้มหัวใจ อักเสบ ไปจนถึงหัวใจเต้นผิดปกติ 5. อาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง เบื่ออาหาร 6. อาการทางไต ความดันโลหิตสูง เช่น ขาบวม จากการบวมน้า 7. อาการทางระบบโลหิต เช่น โลหิตจาง ภาวะซีด ความดันโลหิตต่า เม็ด เลือดขาวต่า เกล็ดเลือดต่าหลอดเลือดอักเสบ อาจจะพบเป็นจุดแดงๆ เล็กๆ ทั่ว ตัวคล้ายไข้เลือดออก Cr: https://www.healthlabclinic.com 8. อาการทางระบบประสาท เช่น มีอาการชักโดยไม่ทราบสาเหตุ แขนขาอ่อนแรง ไม่มีสมาธิ เครียด นอนไม่หลับ ซึมเศร้า วิตกกังวล มีปัญหาในการจ า สับสน เห็นภาพ หลอน โดยอาจเป็นผลข้างเคียงมาจากอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบอีกทีได้ Cr:https://www.sanook.com/health/7733/
  • 6. Cr:http://www.student.chula.ac.th/ 6 การรักษาโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง แพทย์จะพยายามควบคุมโรคให้สงบด้วยการให้ทานยา ทาการรักษาตามอาการที่พบ และติดตามอาการไปเรื่อยๆ จนกว่า อาการจะสงบ หากเข้ารับการรักษาตั้งแต่เนิ่นๆ จะยิ่งท าให้แพทย์ท าการรักษา และควบคุมอาการได้ดีขึ้น จนไม่มีอะไรต้องน่ากลัว หรือถึง ขั้นเสี่ยงเสียชีวิต วิธีป้องกันโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง เป็นที่น่าเสียดายที่โรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเองไม่มีวิธีป้องกันได้100% แต่ก็มีวิธีที่จะช่วยลด ความเสี่ยงในการเป็นโรค นี้ได้ด้วยการดูแลรักษาร่างกายของตัวเองให้แข็งแรงอยู่เสมอ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ออกกาลังกายเป็นประจาพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่เครียด จนเกินไป รักษาสุขอนามัยของตัวเองให้สะอาด ลดโอกาสในการติดเชื้อ และ ปรึกษาแพทย์ทุกครั้งก่อนทานยาอะไรเป็นประจา การใช้ยารักษาได้แก่ - Biologic DMARDs (disease-modifying antirheumatic drugs): Belimumab, rituximab, IV immune globulin - Nonbiologic DMARDS: Cyclophosphamide, methotrexate, azathioprine, mycophenolate, cyclosporine Cr:https://www.thaihealth.or.th/Content/35537
  • 7. 7 - ยากลุ่ม Nonsteroidal anti-inflammatorydrugs (NSAIDS; eg, ibuprofen, naproxen,diclofenac) - ยากลุ่ม Corticosteroids (eg,methylprednisolone, prednisone) - ยารักษามาลาเรีย Antimalarials (eg, hydroxychloroquine) หลังจากวินิจฉัยโรคได้แล้วแพทย์จะท าการรักษาซึ่งอาจจะใช้แพทย์เปลือง เนื่องจากต้องใช้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญหลายสาขา เช่น แพทย์โรคข้อrheumatologist แพทย์เชี่ยวชาญผิวหนังdermatologists แพทย์เชี่ยวชาญโรคไตnephrologistsแพทย์ เชี่ยวโรคภูมิคุ้มกันimmunologists การรักษาผู้ป่วย SLE ขึ้นกับผู้ป่วยแต่ละคนเนื่องจากแต่ละคนเจ็บป่วยไม่เหมือนกัน Cr:https://www.facebook.com/SLE.For.Thais/posts/1660392214018737/ - Nonsteroidal anti-inflammatory drugs (NSAIDs)เป็นยาลดการอักเสบใช้รักษาไข้ข้ออักเสบ ปวด ข้อ ข้อบวม อาจใช้ร่วมกับยาชนิดอื่น ผลข้างเคียงของยาคือ โรคกระเพาะอาหาร ท้องเสีย และบวม - ยารักษามาลาเรีย มีการนายารักษามาลาเรียมาใช้รักษา SLE โดยเฉพาะรักษาอากรเพลีย ปวดข้อ ผื่น และปอดอักเสบจาก SLE ได้แก่ยา hydrochloroquine, chloroquine (Aralen), and quinacrine (Atabrine) ผลข้างเคียงคือแน่นท้อง ตามัวลง
  • 8. 8 - Steroid อาจเป็นยากิน ยาทาหรือยาฉีดขึ้นกับความรุนแรงของโรค เนื่องจากยามีผลข้างเคียงจึงนิยมใช้ยาให้มีขนาดน้อย ที่สุด ที่สามารถรักษาคนไข้ผลข้างเคียงในระยะสั้นได้แก่ เจริญอาหาร บวม ไม่ควรหยุดยากลุ่มนี้ทันทีเพราะจะเกิดอันตราย หากกินยานี้เป็นเวลานานจะเกิดผลข้างเคียงคือ กระดูกพรุนความดันโลหิตสูง เบาหวาน ต้อกระจก ติดเชื้อได้ง่าย ผู้ป่วยที่ ได้ยา steroid ควรได้รับ แคลเซี่ยมและวิตามินดีเสริมเพื่อป้องกันโรคกระดูกพรุน - immunosuppressive หากไม่สามารถควบคุมโรคได้แพทย์จะใช้ยากลุ่มนี้ เพื่อกดภูมิคุ้มกันได้แก่ยา azathioprine (Imuran) and cyclophosphamide (Cytoxan) ,methotrexate ***เนื่องจากยามีผลข้างเคียงมากดั้งนั้นไม่ควรซื้อยารับประทานเอง หรือหยุดยาเองเพราะอาจเกิดผลเสียได้ การดูแลรักษาผู้ป่วย นอกจากนี้ผู้ป่วยโรคนี้ก็ควรปฏิบัติตนเองตามคาแนะนาของแพทย์อย่างเคร่งครัด และพบแพทย์ตามเวลา ที่นัดหมายทุกครั้ง เพื่อให้การติดตามอาการ การควบคุมอาการของโรคเป็นไปอย่างต่อเนื่อง วิธีดาเนินงาน Cr:https://www.siamhealth.net/public_html/Health/Photo_teaching/SLE/sle_treatment.h Tm Cr:https://health.campus-star.com/general/20248.html
  • 9. 9 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทา คือเรื่อง Dark Web 2.ศึกษาค้นคว้าและวางแผน โดยศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล รวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิและ จากผู้มีประสบการณ์ ช่วยให้ได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น 3. จัดทาเค้าโครงของโครงงานที่จะทา โดยศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิง และรวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงงาน 4. การลงมือทาโครงงาน ดาเนินการทาโครงงาน ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาโครงงานเป็นระยะ ๆ เพื่อให้แน่ใจว่า โครงงานนั้น ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย 5.นาเสนองานต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. เอกสารข้อมูลโรคพุ่มพวง 3. เครื่องมือสื่อสาร
  • 10. 10 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผู้ศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคพุ่มพวงทั้ง สาเหตุ การป้องกัน วิธีการรักษา วิธีดูแลตัวเองเมื่อป่วยเป็นโรคนี้ รวมถึงการ ปฎิบัติตัวเพื่อป้องกันความเสี่ยงของสาเหตุที่ทาเกิดโรค ซึ่งข้อมูลนี้สามารถเผยแพร่เพื่อให้ความรู้กับบุคคลที่สนใจหรือผู้ที่ เสี่ยงต่อการเป็นโรคนี้ได้ สถานที่ดาเนินการ 1. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2. ที่อยู่ปัจจุบัน (บ้าน) กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 2. สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 11. 11 แหล่งอ้างอิง - วิชัย เทียนถาวร.//(2561).//ข้อสันหลังอักเสบ และ SLE : โดย นพ.วิชัย เทียนถาวร.//สืบค้นเมื่อ 23 ตุลาคม 2562,/จาก/https://www.matichon.co.th/article/news_1209182 - Jurairat N..//(2561).// 8 สัญญาณอันตราย “โรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง SLE ลูปัส หรือโรคพุ่มพวง”.//สืบค้นเมื่อ 23 ตุลาคม 2562,/จาก/https://www.sanook.com/health/7733/ - siamhealth.//(2562).//การรักษาโรคเอสแอลอี SLE.//สืบค้นเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2562,/จาก/ https://www.siamhealth.net/public_html/Health/Photo_teaching/SLE/sle_treatment.htm