SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 37
Downloaden Sie, um offline zu lesen
น.ส.มณีรัตน์ อนุพันธ์ 49064993
สรุปพื้นที่ใช้สอยโครงการ
1.ส่วนอานวยการ             237     ตารางเมตร
2.ส่วนวิจัย              1453      ตารางเมตร
3.ส่วนวิชาการ           1153       ตารางเมตร
4.ส่วนบริการสาธารณะ       615      ตารางเมตร
5.ส่วนบริการ              748      ตารางเมตร
6.สวนพฤษศาสตร์          1606       ตารางเมตร
7.พื้นที่จอดรถ          1103       ตารางเมตร


พื้นที่ใช้สอยทั้งหมด 6915 ตร.ม.
              6915/1600 = 4.3ไร่

พื้นที่จอดรถ 5812/120 = 49 คัน
             49*22.5 = 1103 ตร.ม.
Rare plants south research center

                Chumphon
                  Ranong
               Surat thani
                  Nakhon
                 Phangnge
                    Krabi
                   Phuket




                          SITE
1
3
    2




            พื้นที่ตั้งโครงการ
            สถานที่เชื่อมโยงกับโครงการ
            แหล่งท่องเที่ยว
การวิเคราะห์เปรียบเทียบเพื่อการเลือก site
Site1 บริเวณหมู่บ้านเชียวหลาน
                       ่

      ที่ตั้ง                      หมู่บานเชียวหลาน ต.เขาพัง อ.บ้านตาขุน จ.สุราษฎร์ธานี
                                         ้ ่
      พื้นที่                       20 ไร่
      กรรมสิทธ์                    เป็นพื้นที่ของเอกชน ทาการเพาะปลูก
      สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง   เขื่อนรัชชประภา
      ความสมบูรณ์ของป่า            เป็นป่าดงดิบชื้น มีความอุดมสมบูรณ์สูง ติดกับอ่างเก็บน้าของเขื่อน
      ลักษณะของพื้นที่             อยู่ในแหล่งชุมชน ด้านหน้าติดถนน ด้านข้างติดแม่น้าพุมดวง
                                   รอบๆ ล้อมด้วยภูเขา
      ราคาที่ดิน                    800,000 บาท/ไร่
ข้อดีของ site ต่อโครงการ
1. ทางเข้าหลักอยู่ใกล้กับถนนใหญ่ ทาให้เข้าถึงได้ง่าย
2.เป็นพื้นที่ที่มีบ้านพักรองรับในกรณีมาศึกษามากกว่า 1 วัน
3.มีแหล่งน้าอุดมสมบูรณ์
4.เป็นพื้นที่ติดแม่น้า ทาให้ได้รับวิวที่สวยงาม


ข้อเสียของ site ต่อโครงการ
1.เป็นพื้นที่ทาเกษตรกรรม                                    Site
                                                            1

2.เป็นพื้นที่ราบลุ่ม ไม่สม่าเสมอ
3.ทางเข้าเป็นถนนสายรอง มีความแคบ




                                                                   สภาพบรรยากาศโดยรอบ
การวิเคราะห์เปรียบเทียบเพื่อการเลือก site
Site2 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติเขาสกที่ ขส.1 (เขาตอเต่า)

    ที่ตั้ง                    หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติเขาสก ต.พังกาญจน์ อ.พนม จ.สุราษฎร์ธานี
                               (ติดกับวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี)
    พื้นที่                     200 ไร่
    กรรมสิทธ์                  เป็นพื้นที่ของรัฐบาล
    สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง เขื่อนรัชชประภา แหล่งอนุรกษ์พันธุ์ปลาและถ้าแก้ว อช.เขาสก อช.คลองพนม
                                                         ั
                               โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ
    ความสมบูรณ์ของป่า          เป็นป่าดงดิบชื้น มีความอุดมสมบูรณ์สูง
    ลักษณะของพื้นที่           รอบๆ เป็นป่าล้อมด้วยภูเขาทังหมด
                                                           ้
ข้อดีของ site ต่อโครงการ
1.เป็นพื้นที่ที่มีการสนับสนุนทางด้านการศึกษา
  เรื่องการอนุรักษ์พนธุกรรมพืชอยู่แล้ว
                       ั
2.เป็นพื้นที่ที่มีบ้านพักรองรับในกรณีมาศึกษามากกว่า 1 วัน
3.ทางเข้าหลักไม่ไกลจากถนนใหญ่มากประมาณ 1 กิโลเมตร


ข้อเสียของ site ต่อโครงการ
1.ทางเข้าเป็นถนนขรุขระ
2.ปริมาณแหล่งน้าไม่อุดมสมบูรณ์เพียงพอ
3.เป็นพื้นที่ป่าที่มต้นไม้ใหญ่และไม้เล็กขึ้นรกทั้งหมด
                    ี                                                            Site
                                                                                 2




                                                            วิทยาลัยเกษตรและ
                                                            เทคโนโลยีสุราษฎร์ฯ




                                                                                        สภาพบรรยากาศโดยรอบ
การวิเคราะห์เปรียบเทียบเพื่อการเลือก site
Site3 ทางเข้าด้านหน้าบริเวณอุทยานแห่งชาติเขาสก

       ที่ตั้ง                      ต.คลองสก อ.พนม จ.สุราษฎร์ธานี
       พื้นที่                      80 ไร่
       กรรมสิทธ์                    เป็นที่ของเอกชน
       สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง   อช.เขาสก อช.คลองพนม น้าตกแม่ยาย ถ้าน้าทะลุน้าตกธารสวรรค์
                                    จุดชมดอกบัวผุด
       ความสมบูรณ์ของป่า            ส่วนใหญ่เป็นป่าดงดิบชื้น มีความสมบูรณ์
       ลักษณะของพื้นที่             ทางธรรมชาติที่สุด เป็นที่ราบสูงประกอบด้วย ป่า ภูเขา แม่น้า
       ราคาที่ดิน                   800,000บาท/ไร่
ข้อดีของ site ต่อโครงการ
1.เป็นพื้นที่ที่มีการสนับสนุนทางด้านการศึกษา
  ในเชิงธรรมชาติอยู่แล้ว
2.เป็นพื้นที่ที่มีบ้านพักรองรับในกรณีมาศึกษามากกว่า 1 วัน
3.พื้นที่นี้รวมพื้นทีศึกษาธรรมชาติไว้ด้วยจึงเป็นการง่ายที่จะ
                     ่
  นามาพัฒนาให้เข้ากับโครงการ
4.ทางเข้าหลักเข้าถึงสะดวก ห่างจากถนนใหญ่ประมาณ 1.6 km
5.อยู่ใกล้แหล่งน้าที่อุดมสมบูรณ์

ข้อเสียของ site ต่อโครงการ
1.ไกลจากตัวเมือง
2.ถนนทางเข้าโครงการแคบ
3.เป็นพื้นที่ป่าที่มต้นไม้ใหญ่-เล็ก ขึ้นรกทั้งหมด
                    ี




                                                               สภาพบรรยากาศโดยรอบ
เกณฑ์ในการวัด            credid   Site 1   Site 2    Site 3 หมายเหตุ

1.ความสมบูรณ์ของป่าไม้            5      2 10 4 20 5 25                พื้นที่ป่า
  (พื้นทีพรรณไม้)
         ่                                                  Site 2

2.การเข้าถึง                      4      2 8 2 8 3 12                  พื้นที่เดิม

3.ความสัมพันธ์กับกลุมเป้าหมาย
                    ่             3      3 9 4 12 4 12                สภาพพื้นผิว

4.สาธารณูปโภค                     5      5 25 3 15 5 25                แหล่งน้า

5.โอกาสการขยายตัวในอนาคต          2      2 4 2 4 2 4                   มีผู้คนใช้
                                                                       มากขึ้น
               รวม                          56        59         78

Site ที่มีคะแนนมากที่สุดคือ Site 3 (บริเวณหน้าอุทยานแห่งชาติเขาสก)      *5 มากที่สุด
                                                                         4 ปานกลาง
                                                                         3 น้อย
ระบบที่เกี่ยวข้องกับอาคาร
ห้อง        โครงสร้างอาคาร
   1.ระบบวิศวกรรมโครงสร้าง                                                1.ส่วนอานวยการ             เสา-คาน
                                                                          2.ส่วนวิจัย
   ระบบการก่อสร้างที่เหมาะสมคือ                                           ห้องปฏิบัติการ(Lab)        เสา-คาน
   1.ระบบเสา และคาน                                                       หอพรรณไม้                  เสา-คาน
              ข้อดี -เจาะพื้นเพื่อวางระบบได้สะดวก
                                                                          โรงเก็บอุปกรณ์             เสา-คาน
                    -มีช่างที่ชานาญทาให้ง่ายต่อการก่อสร้าง
                    -แข็งแรงรับน้าหนักได้ตามต้องการ                       แปลงเพาะปลูก          พาดช่วงกว้าง(Truss)
                    -การขยายตัวของอาคารทาได้ง่าย                          3.ส่วนวิชาการ
           ข้อเสีย -การเดินท่อใต้คาน ทาให้อาคารสูงกว่าปรกติ               ห้องทางาน จนท.             เสา-คาน
                                                                          ห้องบรรยาย                 เสา-คาน
   2.ระบบพาดช่วงกว้าง ได้แก่ Truss
                                                                          ห้องสมุด                   เสา-คาน
                 ข้อดี -มีช่วงกว้างถึง24-35 ม.
                       -น้าหนักเบา                                        ห้องสัมมนา            พาดช่วงกว้าง(Truss)
                       -ค่าก่อสร้างถูก                                    ส่วนนิทรรศการ         พาดช่วงกว้าง(Truss)
                       -การก่อสร้างสะดวก                                  4.ส่วนบริการสาธารณะ
                       -ความชานาญช่างมีมาก                                โถงทางเข้า            พาดช่วงกว้าง(Truss)
   3.ระบบโครงสร้างหลังคา ใช้โครงสร้างเหล็ก Steel frame
                                                                          ร้านอาหาร                  เสา-คาน
     เนื่องจากมีน้าหนักเบาเพื่อลด dead load ของอาคาร
                                                                          ร้านขายต้นไม้              เสา-คาน
*ระบบเสา-คาน เหมาะกับพื้นที่เล็กๆ                                         5.ส่วนบริการ               เสา-คาน
*ระบบพาดช่วงยาว เหมาะกับส่วนที่ต้องการความยืดหยุ่น และมีพื้นที่ขนาดใหญ่
2.ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ
                                                                                    ห้อง       ระบบปรับอากาศ
ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning System) เป็นระบบปรับอากาศที่เหมาะสม
                                                                         1.ส่วนอานวยการ          Split Type
ประหยัดและควบคุมอุณหภูมิ ความชื้นให้เหมาะสมกับสภาพการใช้งานต่างๆ ได้
 1.ระบบ Split Type เหมาะสาหรับพื้นที่ใช้สอยขนาดเล็กที่เปิด-ปิด ไม่เป็นเวลา 2.ส่วนวิจัย
 2.ระบบ Chilled water system ระบบนี้เหมาะกับพื้นที่ปริมาตรมาก และพื้น ห้องปฏิบัติการ (Lab)       Split Type
                                ที่ที่ต่อเนื่องกัน                         หอพรรณไม้            Chilled Water

                           ระบบปรับอากาศ                                 3.ส่วนวิชาการ
                                                                         ห้องทางาน จนท.          Split Type

                                                                         ห้องบรรยาย              Split Type
            ระบบ Split Type           ระบบWater Cool
                                                                         ห้องสัมมนา             Chilled Water

                                        Water Chiller                    ห้องสมุด               Chilled Water
              Compresser                   ห้องเครื่อง                   ส่วนนิทรรศการ          Chilled Water
                Fan Coil               Cooling Tower
                                          A.H.U.                         4.ส่วนบริการสาธารณะ
                                                                         โถงทางเข้า             Chilled Water

                                                                         ร้านอาหาร              Chilled Water

                                                                         5.ส่วนบริการ            Split Type



                                     แสดงระบบปรับอากาศ
ระบบระบายอากาศ (Ventilation System)
   -ระบบระบายอากาศใช้เฉพาะห้องปฏิบัตการทางเคมีและชีววิทยา ที่มีการ
                                      ิ
                                                                                 ห้อง          ระบบระบายอากาศ
ทดลองตรวจสอบสาร และวิเคราะห์ทางเคมีตางๆ อาจเกิดควันหรือสารพิษที่
                                        ่
                                                                       2.ส่วนวิจัย
กระจายไปในอากาศได้
    ลักษณะการระบายอากาศ                                                ห้องปฏิบัติการทางเคมี      ใช้ตู้ดูดควัน
        -ระบายอากาศตามธรรมชาติ โดยการเปิดหน้าต่างไว้                   ห้องปฏิบัติการทาง          ใช้ตู้ดูดควัน
        -Fume Hood ระบายอากาศที่ใช้งานเพื่อดูดควันและก๊าซที่เกิดขึ้น   ชีววิทยา

การระบายอากาศแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
    1.ใช้พัดลมดูดอากาศ
    2.การบังคับทิศทางลมประจา ใช้ Fume Hood ตู้ดูดควัน




             การระบายอากาศที่ดี            การระบายอากาศที่ไม่ดี
พื้นที่ใช้สอย                 ชนิดหลอด            ความเข้มของแสง
                                                                                                                              สว่าง (Lux)
3.ระบบไฟฟ้าและแสงสว่าง                                            พื้นที่ห้องทางาน                 หลอดฟลูออเรสเซนต์           400-500
แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ                                            ห้องประชุม                          (day-light )
1.ระบบไฟฟ้ากาลังและแสงสว่าง                                       ห้องสมุด
2.ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน                                                พื้นที่ห้องวิจัย                 หลอดฟลูออเรสเซนต์             1100
                                                                  ห้องเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ          ชนิดหลอดสีแดง
                                                                  ห้องกล้องถ่ายภาพโมเลกุล          ชนิด Cromton Clenelite
                                                                  พื้นที่นิทรรศการ                    หลอดฮาโลเจน              300-400
                                                                  พื้นที่ห้องเครื่อง               หลอดฟลูออเรสเซนต์             150
                                                                  พื้นที่ทางเดิน-ห้องน้า           หลอดฟลูออเรสเซนต์             150
                                                                  พื้นที่ภายนอก                    หลอดฟลูออเรสเซนต์            10-30

1.ระบบไฟฟ้ากาลัง เป็นการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับเครืองมือและอุปกรณ์ต่างๆ
                                                 ่
                 บริเวณที่ใช้ กระแสไฟฟ้ามาก ได้แก่ ห้องทดลอง ห้องเครื่อง
  ระบบแสงสว่าง 1.แสงธรรมชาติ ควรเป็น Indirect light เพื่อลดความจ้าของแสง อาคารที่ลึกเกินจากช่องแสง
                   เข้าไป4.20เมตร การใช้แสงธรรมชาติจะไม่ได้ผล
                  2.แสงประดิษฐ์ เป็นแสงทีใช้ไฟฟ้าช่วยให้แสงสว่าง แทนแสงธรรมชาติที่ไม่เพียงพอ แบ่งเป็น
                                         ่
                        -หลอดฟลูออเรสเซนต์ ใช้ชนิด day-light กับห้องทางานทัวๆไป
                                                                            ่
                        -หลอดไฟฟ้าธรรมดา (incandescent) ใช้กับห้องปฏิบัติการทั่วๆไปที่ติดตั้งอุปกรณ์วิจัย
                         พวก Electron Microscope
2.ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน 1.เครืองดีเซลเจนเนอเรเตอร์ การเปิด-ปิดระบบอัตโนมัติ ระยะเวลาไม่เกิน 10 วินาที
                         ่
                   2.แบตเตอร์รี่ ใช้สาหรับวงจรเตือนภัยกับทุกระบบ
5.ระบบสุขาภิบาล
ระบบน้าใช้ สาหรับอาคารปฏิบัติการ แบ่งชนิดของน้าใช้ได้ดังนี้
1.น้าประปาธรรมดา ใช้ในงานทั่วไป เช่น ห้องน้า-ส้วม ระบบดับเพลิง ระบบฉุกเฉิน
2.น้าประปาที่ผ่านการกรอง โดยผ่านเครื่องกรองก่อนจ่ายเข้าใช้ในระบบท่อของห้องปฏิบติการ
                                                                              ั
3.น้ากลั่น

ระบบน้าเสีย ของอาคารปฏิบัติการมี 2 ระบบ คือ
1.ระบบน้าเสียทั่วไป
2.ระบบน้าเสียจากการปฏิบัติการ
  การเดินต่อท่อต้องแยกท่อน้าเสียจากการปฏิบัติการซึ่งมีระบบเฉพาะที่เปลี่ยนสภาพน้าก่อนปล่อยลงสู่ระบบระบาย
น้าสาธารณะ
ระบบก้าจัดน้าเสีย
1.น้าเสียจากระบบทั่วไป สามารถต่อเข้ากับทางระบายน้าหลักและลงสู่ท่อระบายน้าสาธารณะ
2.น้าเสียจากสุขภัณฑ์ เช่น ชักโครก โถปัสสาวะ กาจัดโยใช้บ่อเกรอะ บ่อซึม


      น้าเสียจากส้วม        ถังบาบัดน้าเสีย
                                                  บ่อตกตะกอน
    น้าเสียจากส่วนอื่นๆ

                            กระบวนการแผ่น          ถังฆ่าเชื้อโรค       ท่อระบายน้า
                              หมุนชีวภาพ
3.น้าเสียจากการปฏิบัติการ ต้องผ่านกระบวนการกาจัด (Wasted water treatment)
   ในขั้นตอนดังนี้
   3.1 บ่อผสมสารเคมี เป็นบ่อเติมสารเคมี เพื่อปรับค่า PH ให้เป็นกลาง และผสมสารเคมีเพื่อ
      ไปเคลือบสารพิษต่างๆ ซึ่งทาให้เกิดการตกตะกอนเร็วขึ้น
   3.2 บ่อกวนน้า ภายในจะมีใบพัดกวนน้าตลอดเวลา เพื่อให้ตกตะกอนได้เร็วขึ้น
   3.3 บ่อตกตะกอน กาจัดสิ่งเจือปน
   3.4 บ่อเก็บกักน้า เพื่อให้สารเคมีสลายตัว
   3.5 บ่อทดสอบคุณสมบัติของน้าเสีย ก่อนปล่อยน้าลงท่อระบายน้า
       บ่อในข้อ3.3-3.5 ในกระบวนการกาจัดของเสียนี้ เพื่อให้เกิดการ (Oxidation) ระหว่างน้า
กับอากาศ (ปฏิกิริยาทางชีวเคมี) ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยเปลี่ยนสภาพของน้าที่มีสิ่งปฏิกูล ให้เป็น
น้าดีก่อนที่จะระบายลงสู่ท่อระบายน้าสาธารณะได้


     บ่อผสมสาร              บ่อกวนน้า             บ่อตกตะกอน               บ่อเก็บกัก


                                            บ่อทดสอบคุณภาพ


                                               ท่อระบายน้า
เครืองกาจัด
                               ่                                       หัวตะเกียง   ถังเก็บ ใบพัดวัด
             พื้นที่ควบคุม ขวดและ
                                                                       ทาลายของเสีย เชื้อเพลิง สภาพอากาศ
             และกาจัด      กระป๋อง             แท็งค์ชาระล้าง
                                                                แท็งค์เก็บตัว                              บ่อทาลายกาก
พัดลมระบาย                                                                                                 ของเหลว
                                    กระจกเงา                    ทาลายของเสีย
อากาศ




         ห้องเก็บกรด      ตัวควบคุมบ่อ อ่างเทกรด        อ่างเทสารละลาย                        ฝักบัวชาระสารเคมี
                          ทาลาย
                                                                                  ห้องกาจัดของเสียจากห้องปฏิบัติการ
4.ระบบการเดินท่อต่างๆ ภายในอาคาร
ระบบท่อสาหรับห้องปฏิบัติการ 1.ก๊าซเชื้อเพลิง 2.Compressed Air 3.สุญญากาศ
                             4.น้าประปาที่ผ่านการกรอง 5.น้ากลั่น 6.น้าทิ้ง
                             7.ดูดควันและระบายอากาศ

ระบบท่อบริการทั่วไป               1.ปรับอากาศ 2.น้าประปาธรรมดา 3.น้าดับเพลิง
                                 4.ระบบเตือนไฟ 5.ระบบไฟฟ้า
การเดินท่อ เช่น ท่อน้า ท่อแก๊ส ท่อสายไฟ หรือท่ออืนๆที่ใช้งาน สิ่งที่ต้องพิจารณาคือ
                                                    ่
                                 -ที่ตั้งระบบท่อ เข้าถึงได้ง่ายและระยะทางสั้นที่สุด
                                 -มีที่เพียงพอต่อการซ่อมแซม
                                 -มีขนาดที่ถูกต้อง คุณภาพของวัสดุที่ดี

5.การกาจัดขยะและระบบกาจัดของเสีย
  -ขยะทั่วไป
  -ของเสียจากการทดลองสารเคมี
    มีวิธีการดังนี้
     1.การกาจัดโดยการเผาในเตา ควรอยู่ในตาแหน่งที่สูงพอควร น้าไม่ท่วม และไม่ทาให้เกิดผลกระทบต่อพื้นดิน น้า
     2.การกาจัดแบบฝังกลบ เป็นการกาจัดที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ไม่ก่อให้เกิดความราคาญ และเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
และสภาพแวดล้อม ตัวห้องแข็งแรง ไม่ซมน้า ระบายน้าดี ติดตั้ง compactor อัดขยะให้แน่น
                                    ึ
        -ของเสียจารสารเคมี ปล่อยออกทางท่อดูดควันที่ติดตั้งเครื่องดักความเป็นกรด-ด่าง กาจัดก๊าซเสียก่อนปล่อยออกปัย ของ
เสียเหลวจะผ่านขั้นตอนบาบัดน้าเสีย
5.ระบบการป้องกันอัคคีภัย
    ระบบการป้องกันอัคคีภัยของอาคารศูนย์วิจัยที่มีสารเคมี ก๊าซต่างๆ
ควรมีระบบป้องกันดังนี้
    1.การป้องกันอัคคีภัยในการเตรียมระบบโครงสร้าง
         -ระบบไฟฟ้าต้องแยกอกเป็นส่วนๆ
         -ส่วนของ core ต้องทนไฟ
         -ตัวอาคารใช้วัสดุทนไฟ เช่น ห้องปฏิบัติการทดลอง
    2.การติดตั้งอุปกรณ์เตือนไฟ




      Fire alarm control panel   lonization smoke detector



   3.ติดตั้งเครื่องมือที่ใช้ในการดับเพลิง
4.ระบบฉีดน้าอัตโนมัติ
5.ระบบเสียงและควบคุม
 ส่วนใหญ่ที่ใช้เป็นห้องสัมมนา




           การเลือกใช้ฝ้าเพดานในการดูดซับเสียง
                                                 ลักษณะของผนังในการดูดซับเสียง
5.ระบบรักษาความปลอดภัย

1.ระบบโทรศัพท์วงจรปิด ติดตั้งกล้องโทรทัศน์ในสถานที่ทั่วไป

2.ควบคุมทางเข้าส่วนบุคคล ใช้การ์ดอิเล็กทรอนิกส์แล้วกดรหัสติดตั้งตรงทางเข้า

3.ระบบรักษาความปลอดภัยจากอัคคีภัย ติดตั้งตามจุดสาคัญภายในอาคาร
ระบบการให้น้าของแปลงทดลอง

   แปลงทดลองควรปรับระดับให้มีความเรียบ
    เป็นที่ราบมีความลาดชัน ประมาณ 1-2% เพื่อการส่งน้าได้ทั่วถึงโดยไม่กัดเซาะหน้าดิน

   ระบบให้น้า
     การให้น้าในแปลงทดลอง ระบบหลักที่นิยมใช้
     คือ การให้น้าทางผิวดิน
     ระบบฝั่งท่อ โดยการต่อท่อมาจากแหล่งน้า ฝั่งท่อไปตามแนวของถนนในแปลง จะมีหัวจ่ายน้าเป็นระยะ
             ข้อดี สะดวกในการทางานของเครื่องจักร
                    การสูญเสียน้าจากการระเหยมีน้อย
                    การดูแลรักษาในระยะยาวต่า ค่าดูแลรักษาน้อย
                    ไม่มีการสูญเสียเนื้อที่
           ข้อเสีย การติดตั้งต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
                                                    หมวด 4
                                                การควบคุมมลพิษ
ส่วนที่ 4
มลพิษทางอากาศและเสียง
    มาตรา 68 ประเภทของแหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุม การปล่อยอากาศเสีย รังสี หรือ มลพิษอื่นใดที่อยู่ในสภาพเป็น
ควัน ไอ ก๊าซ เขม่า ฝุ่น ละออง เถ้าถ่าน หรือมลพิษอากาศ ในรูปแบบใดออกสู่ บรรยากาศ ต้องติดตั้ง หรือจัดให้มีระบบบาบัด
อากาศเสีย อุปกรณ์ หรือเครื่องมืออื่นใดสาหรับการควบคุม กาจัด ลด หรือขจัดมลพิษซึ่งอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพอากาศตามที่
เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกาหนด

 ส่วนที่ 5
มลพิษทางน้า
  มาตรา 69 แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยน้าเสียหรือของเสีย ลงสู่แหล่งน้าสาธารณะ หรือออกสูสิ่งแวดล้อม
                                                                                                        ่
นอกเขตที่ตั้งแหล่งกาเนิดมลพิษ ไม่เกินมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่กาหนด
  มาตรา 70 เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษต้องก่อสร้างติดตั้งหรือจัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของ
เสียตามที่เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกาหนด
กฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2535

หมวด 1 แบบและวิธีการเกี่ยวกับการติดตังระบบอัคคีภัย


ข้อ 2 อาคารดังต่อไปนี้ต้องมีวิธีการเกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัยตามที่กาหนดใน กฎกระทรวงนี้
   (2)อาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมของประชาชน เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม สถานพยาบาลสถานศึกษา หอสมุด สถานกีฬา
ในร่ม ตลาด ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า สถานบริการ ท่าอากาศยาน อาคารจอดรถ สถานีขนส่งมวลชน ที่จอดรถ ท่า จอดเรือ
ภัตตาคาร สานักงาน สถานที่ทาการของราชการ โรงงาน และอาคารพาณิชย์ เป็นต้น

ข้อ 3 อาคารอื่นนอกจากห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว และบ้านแฝด ที่มีความสูงไม่เกิน 2 ชั้น ต้องติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบมือถือ
อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากประเภทของวัสดุที่มีในแต่ละชั้นไว้ 1 เครื่อง ต่อพื้นที่อาคารไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ทุกระยะไม่เกิน
45 เมตร แต่ไม่น้อยกว่าชั้นละ 1 เครื่อง
หมวดที่ 2 แบบและจ้านวนห้องน้าและห้องส้วม

ตารางที่ 2 จานวนห้องน้าและห้องส้วม
                                                     ห้องส้วม
        ชนิดหรือประเภทของอาคาร                  ที่ถ่าย ที่ถ่าย
                                                                ห้อง
                                               อุจจาระ ปัสสาวะ         อ่างล้างมือ
                                                                น้า
   (7) หอประชุมหรือโรงมหรสพ ต่อพื้นที่อาคาร
 200 ตารางเมตร หรือต่อ 100 คน ที่
 กาหนดให้ใช้สอยอาคานั้น ทั้งนีให้ถือจานวนที่
                              ้
 มากกว่าเป็นเกณฑ์
                                                  1       2                1
 (ก) สาหรับผู้ชาย                                                  -
                                                  2       -                1
    (ข) สาหรับผู้หญิง                                              -

 (9) สานักงาน ต่อพืนที่อาคาร 300 ตารางเมตร
                   ้
 (ก) สาหรับผู้ชาย                                 1       2
 (ข) สาหรับผู้หญิง                                2       -        -       1
                                                                   -       1
 (16) อาคารที่จอดรถสาหรับบุคคลทั่วไป ต่อ
 พื้นที่อาคาร 1000 ตารางเมตร
                                                                           1
    (ก) สาหรับผู้ชาย                              1                -
                                                          1
    (ข) สาหรับผู้หญิง                             1                -       1
                                                          -
หมวด 3 ระบบการจัดแสงสว่างและการระบายอากาศ
   ข้อ 11 ส่วนต่างๆ ของอาคารต้องมีความเข้มของแสงสว่างไม่น้อยกว่าความเข้มที่กาหนดไว้ในตารางที่ 3 ท้ายกฎกระทรวงนี้
   ข้อ 12 ระบบการระบายอากาศในอาคารจะจัดให้มีการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติหรือโดยวิธีกลก็ได้
   ข้อ 13 ในกรณีที่จัดให้มีระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ ห้องในอาคารทุกชนิดทุกประเภทต้องมีประตู หน้าต่างหรือช่องระบาย
อากาศด้านติดกับอากาศภายนอกเป็นพื้นที่รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของพื้นที่ของห้องนั้น ทั้งนี้ ไม่นับรวมพื้นที่ของประตู
หน้าต่าง และช่องระบายอากาศที่ติดต่อกับห้องอื่นหรือช่องทางเดินภายในอาคาร
   ข้อ 14 ในกรณีที่ไม่อาจจัดให้มีการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติให้จัดให้มีการระบายอากาศโดยวิธีกลซึ่งใช้กลอุปกรณ์
ขับเคลื่อนอากาศ กลอุปกรณ์นี้ต้องทางานตลอดเวลาระหว่างที่ใช้สอยพื้นที่นั้น
   ข้อ 16 ตาแหน่งของช่องนาอากาศภายนอกโดยวิธีกล ต้องห่างจากที่เกิดอากาศเสียและช่องระบายอากาศทิ้งไปน้อยกว่า 5
เมตร และสูงจากพื้นดินไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร การนาอากาศภายนอกเข้าและการระบายอากาศทิ้งโดยวิธีกล ต้องไม่ก่อให้เกิด
ความเดือดร้อนราคาญแก่ประชาชนผู้อยู่อาศัยใกล้เคียง
      ตารางที่ 3 ความเข้มของแสงสว่าง ลาดับ             สถานที่ (ประเภทการใช้)            หน่วยความเข้มข้นของแสงสว่าง
                                                                                                   (LUX)
                                          1     ที่จอดรถ                                              50
                                          4     ห้องน้า ห้องส้วมของโรงงาน โรงเรียน
                                                โรงแรม                                              100
                                          6      สานักงาน หรืออาคารอยู่อาศัยรวม
                                                ช่องทางเดินภายในโรงงาน โรงเรียน โรงแรม              200
                                                สานักงาน
                                         12     ห้องสมุด ห้องเรียน                                  300
                                         13     ห้องประชุม                                          300
                                         14     บริเวณทีทางานในสานักงาน
                                                         ่                                          300
ตารางที่ 4 อัตราการระบายอากาศตามวิธีกล
  ลาดับ           สถานที่ (ประเภทการใช้)              อัตราการระบายอากาศ ไม่น้อย
                                                      กว่าจานวนเท่าของปริมาตรของ
                                                             ห้องใน 1 ชั่วโมง
     1    ห้องน้าห้องส้วมของที่พักอาศัยหรือสานักงาน                 2
     2    ห้องน้า ห้องส้วมของอาคารสาธารณะ                           4
     3    ที่จอดรถที่อยู่ต่ากว่าระดับพื้นดิน                        4
     5    โรงมหรสพ                                                  4
     9    สานักงาน                                                  7
    12    ห้องครัวของสถานที่จาหน่ายอาหารและ                        24
          เครื่องดื่ม

  ตารางที่ 5 อัตราการระบายอากาศในกรณีที่มีระบบปรับภาวะอากาศ
  ลาดับ            สถานที่ (ประเภทการใช้)              ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง/ตาราง
                                                                 เมตร
     1    สานักงาน                                                 2
     2    ห้องปฏิบัติการ                                           2
     3    โรงมหรสพ (บริเวณที่นั่งสาหรับคนดู)                       4
     4    ห้องประชุม                                               6
     5    ห้องนา ห้องส้วม                                         10
     6    สถานีจาหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม                         10
     7    ห้องครัว                                                30
กฎกระทรวง ฉบับที่ 41 (พ.ศ. 2537)

ข้อ 2 ที่จอดรถ 1 คัน ต้องเป็นพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า และต้องมีลักษณะและขนาด ดังนี้
(1)ในกรณีที่จอดรถขนานกับแนวทางเดินรถหรือทามุมกับแนวทางเดินรถน้อยกว่าสามสิบองศา ให้มีความกว้างไม่น้อย
กว่า 2.40 เมตร และความยาวไม่น้อยกว่า 6.00 เมตร
(2) ในกรณีที่จอดรถตั้งฉากกับแนวทางเดินรถให้มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตรและความยาวไม่น้อยกว่า 5.00
เมตร แต่ทั้งนี้ จะต้องไม่จัดให้มีทางเข้าออกของรถเป็นทางเดินรถทางเดียว
(3) ในกรณีที่จอดรถตั้งฉากกับแนวทางเดินรถ ให้มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และความยาวไม่น้อยกว่า 5.50
เมตร

ข้อ 3 ที่จอดรถแต่ละคัน ต้องมีเครื่องหมายแสดงลักษณะและขอบเขตของที่จอดรถไว้ให้ปรากฏบนพื้น และต้องมี
ทางเดินรถเชื่อมต่อโดยตรงกับทางเข้าออกของรถและที่กลับรถ

ข้อ 4 ระยะความสูงสุทธิระหว่างพื้นที่ที่ใช้จอดรถ ทางเดินรถ และทางลาดขึ้นลงของรถ กับส่วนที่ต่าสุดของชั้นที่ถัดไป
ของอาคาร ต้องไม่น้อยกว่า 2.10 เมตร ส่วนของพื้นที่ที่ใช้จอดรถต่างระดับกันจะเหลี่อมกันได้ไม่เกิน 1.00 เมตร และ
เฉพาะส่วนที่เหลื่อมกันจะมีความสูงน้อยกว่า 2.10 เมตรก็ได้
กฎกระทรวง ฉบับที่ 51 (พ.ศ. 2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
ข้อ 3 อาคารประเภทและลักษณะดังต่อไปนี้ ต้องจัดให้มีระบบการระบายน้า และระบบบาบัดน้าเสียที่มีประสิทธิภาพ
เพียงพอในการปรับปรุงน้าเสียจากอาคารให้เป็นน้าทิ้งที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ใน ข้อ 4 ก่อนที่จะระบาย
ลงสู่แหล่งรองรับน้าทิ้ง
(3) อาคารประเภท ค
(ฉ) อาคารที่ทาการของราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การระหว่างประเทศ หรือเอกชนที่มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นในอาคารหลัง
เดียวกันหรือหลายหลังรวมกันตั้งแต่ 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่ถึง 10,000 ตารางเมตร

ข้อ 4 น้าทิ้งจากอาคารที่จะระบายจากอาคารลงสู่แหล่งรองรับน้าทิ้งได้ ต้องมีคุณภาพน้าทิ้งตามประเภทของอาคารตาม
มาตรฐานคุณภาพน้าทิ้ง ดังต่อไปนี้
อาคารประเภทมาตรฐานคุณภาพน้าทิ้ง ค
1. พีเอช                             5– 9
2. บีโอดี ไม่เกิน                    60         (มิลลิกรัม/ลิตร)
3. ปริมาณสารแขวนลอยไม่เกิน           50         (มิลลิกรัม/ลิตร)
4. ปริมาณสารละลายที่เพิ่มขึ้นจากน้า 500         ใช้ไม่เกิน(มิลลิกรัม/ลิตร)
5. ปริมาณตะกอนหนัก ไม่เกิน            0.5      (มิลลิกรัม/ลิตร)
6. ทีเคเอ็น ไม่เกิน (มิลลิกรัม/ลิตร)  40
7. ออร์แกนิก * ไนโตรเจน ไม่เกิน      15        (มิลลิกรัม/ลิตร)
8. แอมโมเนีย * ไนโตรเจน ไม่เกิน      25        (มิลลิกรัม/ลิตร)
9. น้ามันและไขมัน ไม่เกิน             20       (มิลลิกรัม/ลิตร)
10.ซัลไฟด์ ไม่เกิน(มิลลิกรัม/ลิตร)    3.0
กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543)
                            ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522

หมวด 2 ส่วนต่างๆ ของอาคาร

ส่วนที่ 1
วัสดุของอาคาร
ข้อ 14 สิ่งที่สร้างขึ้นสาหรับติดหรือตั้งป้ายที่ติดตั้งบนพื้นดินโดยตรงให้ทาด้วยวัสดุทนไฟทั้งหมด
ข้อ 15 เสา คาน พื้น บันได และผนังของอาคารที่สูงตั้งแต่สามชั้นขึ้นไป โรงมหรสพ หอประชุม
หอสมุด ต้องทาด้วยวัสดุถาวรที่เป็นวัสดุทนไฟด้วย
ข้อ18 ครัวในอาคารต้องมีพื้นและผนังที่ทาด้วยวัสดุถาวรที่เป็นวัสดุทนไฟ ส่วนฝาและเพดานนั้น หากไม่ทาด้วยวัสดุถาวรที่
เป็นวัสดุทนไฟ ก็ให้บุด้วยวัสดุทนไฟ
ข้อ 22 ห้องหรือส่วนของอาคารที่ใช้ในการทากิจกรรม
ต่างๆ ต้องมีระยะดิ่งไม่น้อยกว่าตามที่กาหนดไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 24 บันไดของอาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมของคนจานวนมาก เช่น บันไดห้องประชุมหรือห้องบรรยายที่มีพื้นที่รวมกัน
ตั้งแต่ 500 ตารางเมตรขึ้นไป หรือบันไดห้องรับประทานอาหารหรือสถานบริการที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 1,000 ตาราง
เมตรขึ้นไป หรือบันไดของแต่ละชั้นของอาคารนั้นที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมีความกว้างไม่
น้อยกว่า 1.50 เมตร อย่างน้อยสองบันได ถ้ามีบันไดเดียวต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 3 เมตร
ข้อ 25 บันไดตามข้อ 24 จะต้องมีระยะห่างไม่เกิน 40 เมตร จากจุดที่ไกลสุดบนพื้นชั้นนั้น
 ส่วนที่ 4
บันไดหนีไฟ
ข้อ 29 บันไดหนีไฟภายนอกอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร และต้องมีผนังส่วนที่บันไดหนีไฟ
พาดผ่านเป็นผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรที่เป็นวัสดุทนไฟ
ข้อ 30 บันไดหนีไฟภายในอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร มีผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรที่เป็น
วัสดุทนไฟกั้นโดยรอบ

หมวด 4 แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร
ข้อ 41 อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้ถนนสาธารณะที่มีความกว้างน้อยกว่า 6 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจาก
กึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้อย 3 เมตร
ข้อ 42 อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้แหล่งน้าสาธารณะ เช่น แม่น้า คู คลอง ลาราง หรือลากระโดง ถ้าแหล่งน้า
สาธารณะนั้นมีความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ต้องร่นแนวอาคารให้ห่างจากเขตแหล่งน้าสาธารณะนั้นไม่น้อยกว่า 3 เมตร
แต่ถ้าแหล่งน้าสาธารณะนั้นมีความกว้างตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป ต้องร่นแนวอาคารให้ห่างจากเขตแหล่งน้าสาธารณะนั้น
ไม่น้อยกว่า 6 เมตร
ข้อ 43 ให้อาคารที่สร้างตามข้อ 41 และ ข้อ 42 ต้องมีส่วนต่าสุดของกันสาดหรือส่วนยื่นสถาปัตยกรรมสูงจากระดับทาง
เท้าไม่น้อยกว่า 3.25 เมตร ทั้งนี้ ไม่นับส่วนตบแต่งที่ยื่นจากผนังไม่เกิน 50 เซนติเมตร และต้องมีท่อรับน้าจากกันสาด
หรือหลังคาต่อแนบหรือฝังในผนังหรือเสาอาคารลงสู่ท่อสาธารณะหรือบ่อพัก
ข้อ 44 ความสูงของอาคารไม่ว่าจากจุดหนึ่งจุดใด ต้องไม่เกินสองเท่าของระยะราบวัดจากจุดนั้นไปตั้งฉากกับแนวเขต
ด้านตรงข้ามของถนนสาธารณะที่อยู่ใกล้อาคารนั้นที่สุด
ข้อ 47 รั้วหรือกาแพงที่สร้างขึ้นติดต่อหรือห่างจากถนนสาธารณะน้อยกว่าความสูงของรั้ว ให้ก่อสร้างได้สูงไม่เกิน 3
เมตร เหนือระดับทางเท้าหรือถนนสาธารณะ

Weitere ähnliche Inhalte

Empfohlen

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Empfohlen (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ ตอนบน15 09-2553

  • 2. สรุปพื้นที่ใช้สอยโครงการ 1.ส่วนอานวยการ 237 ตารางเมตร 2.ส่วนวิจัย 1453 ตารางเมตร 3.ส่วนวิชาการ 1153 ตารางเมตร 4.ส่วนบริการสาธารณะ 615 ตารางเมตร 5.ส่วนบริการ 748 ตารางเมตร 6.สวนพฤษศาสตร์ 1606 ตารางเมตร 7.พื้นที่จอดรถ 1103 ตารางเมตร พื้นที่ใช้สอยทั้งหมด 6915 ตร.ม. 6915/1600 = 4.3ไร่ พื้นที่จอดรถ 5812/120 = 49 คัน 49*22.5 = 1103 ตร.ม.
  • 3. Rare plants south research center Chumphon Ranong Surat thani Nakhon Phangnge Krabi Phuket SITE
  • 4.
  • 5. 1 3 2 พื้นที่ตั้งโครงการ สถานที่เชื่อมโยงกับโครงการ แหล่งท่องเที่ยว
  • 6. การวิเคราะห์เปรียบเทียบเพื่อการเลือก site Site1 บริเวณหมู่บ้านเชียวหลาน ่ ที่ตั้ง หมู่บานเชียวหลาน ต.เขาพัง อ.บ้านตาขุน จ.สุราษฎร์ธานี ้ ่ พื้นที่ 20 ไร่ กรรมสิทธ์ เป็นพื้นที่ของเอกชน ทาการเพาะปลูก สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง เขื่อนรัชชประภา ความสมบูรณ์ของป่า เป็นป่าดงดิบชื้น มีความอุดมสมบูรณ์สูง ติดกับอ่างเก็บน้าของเขื่อน ลักษณะของพื้นที่ อยู่ในแหล่งชุมชน ด้านหน้าติดถนน ด้านข้างติดแม่น้าพุมดวง รอบๆ ล้อมด้วยภูเขา ราคาที่ดิน 800,000 บาท/ไร่
  • 7. ข้อดีของ site ต่อโครงการ 1. ทางเข้าหลักอยู่ใกล้กับถนนใหญ่ ทาให้เข้าถึงได้ง่าย 2.เป็นพื้นที่ที่มีบ้านพักรองรับในกรณีมาศึกษามากกว่า 1 วัน 3.มีแหล่งน้าอุดมสมบูรณ์ 4.เป็นพื้นที่ติดแม่น้า ทาให้ได้รับวิวที่สวยงาม ข้อเสียของ site ต่อโครงการ 1.เป็นพื้นที่ทาเกษตรกรรม Site 1 2.เป็นพื้นที่ราบลุ่ม ไม่สม่าเสมอ 3.ทางเข้าเป็นถนนสายรอง มีความแคบ สภาพบรรยากาศโดยรอบ
  • 8. การวิเคราะห์เปรียบเทียบเพื่อการเลือก site Site2 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติเขาสกที่ ขส.1 (เขาตอเต่า) ที่ตั้ง หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติเขาสก ต.พังกาญจน์ อ.พนม จ.สุราษฎร์ธานี (ติดกับวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี) พื้นที่ 200 ไร่ กรรมสิทธ์ เป็นพื้นที่ของรัฐบาล สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง เขื่อนรัชชประภา แหล่งอนุรกษ์พันธุ์ปลาและถ้าแก้ว อช.เขาสก อช.คลองพนม ั โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริสมเด็จพระเทพฯ ความสมบูรณ์ของป่า เป็นป่าดงดิบชื้น มีความอุดมสมบูรณ์สูง ลักษณะของพื้นที่ รอบๆ เป็นป่าล้อมด้วยภูเขาทังหมด ้
  • 9. ข้อดีของ site ต่อโครงการ 1.เป็นพื้นที่ที่มีการสนับสนุนทางด้านการศึกษา เรื่องการอนุรักษ์พนธุกรรมพืชอยู่แล้ว ั 2.เป็นพื้นที่ที่มีบ้านพักรองรับในกรณีมาศึกษามากกว่า 1 วัน 3.ทางเข้าหลักไม่ไกลจากถนนใหญ่มากประมาณ 1 กิโลเมตร ข้อเสียของ site ต่อโครงการ 1.ทางเข้าเป็นถนนขรุขระ 2.ปริมาณแหล่งน้าไม่อุดมสมบูรณ์เพียงพอ 3.เป็นพื้นที่ป่าที่มต้นไม้ใหญ่และไม้เล็กขึ้นรกทั้งหมด ี Site 2 วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีสุราษฎร์ฯ สภาพบรรยากาศโดยรอบ
  • 10. การวิเคราะห์เปรียบเทียบเพื่อการเลือก site Site3 ทางเข้าด้านหน้าบริเวณอุทยานแห่งชาติเขาสก ที่ตั้ง ต.คลองสก อ.พนม จ.สุราษฎร์ธานี พื้นที่ 80 ไร่ กรรมสิทธ์ เป็นที่ของเอกชน สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง อช.เขาสก อช.คลองพนม น้าตกแม่ยาย ถ้าน้าทะลุน้าตกธารสวรรค์ จุดชมดอกบัวผุด ความสมบูรณ์ของป่า ส่วนใหญ่เป็นป่าดงดิบชื้น มีความสมบูรณ์ ลักษณะของพื้นที่ ทางธรรมชาติที่สุด เป็นที่ราบสูงประกอบด้วย ป่า ภูเขา แม่น้า ราคาที่ดิน 800,000บาท/ไร่
  • 11. ข้อดีของ site ต่อโครงการ 1.เป็นพื้นที่ที่มีการสนับสนุนทางด้านการศึกษา ในเชิงธรรมชาติอยู่แล้ว 2.เป็นพื้นที่ที่มีบ้านพักรองรับในกรณีมาศึกษามากกว่า 1 วัน 3.พื้นที่นี้รวมพื้นทีศึกษาธรรมชาติไว้ด้วยจึงเป็นการง่ายที่จะ ่ นามาพัฒนาให้เข้ากับโครงการ 4.ทางเข้าหลักเข้าถึงสะดวก ห่างจากถนนใหญ่ประมาณ 1.6 km 5.อยู่ใกล้แหล่งน้าที่อุดมสมบูรณ์ ข้อเสียของ site ต่อโครงการ 1.ไกลจากตัวเมือง 2.ถนนทางเข้าโครงการแคบ 3.เป็นพื้นที่ป่าที่มต้นไม้ใหญ่-เล็ก ขึ้นรกทั้งหมด ี สภาพบรรยากาศโดยรอบ
  • 12. เกณฑ์ในการวัด credid Site 1 Site 2 Site 3 หมายเหตุ 1.ความสมบูรณ์ของป่าไม้ 5 2 10 4 20 5 25 พื้นที่ป่า (พื้นทีพรรณไม้) ่ Site 2 2.การเข้าถึง 4 2 8 2 8 3 12 พื้นที่เดิม 3.ความสัมพันธ์กับกลุมเป้าหมาย ่ 3 3 9 4 12 4 12 สภาพพื้นผิว 4.สาธารณูปโภค 5 5 25 3 15 5 25 แหล่งน้า 5.โอกาสการขยายตัวในอนาคต 2 2 4 2 4 2 4 มีผู้คนใช้ มากขึ้น รวม 56 59 78 Site ที่มีคะแนนมากที่สุดคือ Site 3 (บริเวณหน้าอุทยานแห่งชาติเขาสก) *5 มากที่สุด 4 ปานกลาง 3 น้อย
  • 14. ห้อง โครงสร้างอาคาร 1.ระบบวิศวกรรมโครงสร้าง 1.ส่วนอานวยการ เสา-คาน 2.ส่วนวิจัย ระบบการก่อสร้างที่เหมาะสมคือ ห้องปฏิบัติการ(Lab) เสา-คาน 1.ระบบเสา และคาน หอพรรณไม้ เสา-คาน ข้อดี -เจาะพื้นเพื่อวางระบบได้สะดวก โรงเก็บอุปกรณ์ เสา-คาน -มีช่างที่ชานาญทาให้ง่ายต่อการก่อสร้าง -แข็งแรงรับน้าหนักได้ตามต้องการ แปลงเพาะปลูก พาดช่วงกว้าง(Truss) -การขยายตัวของอาคารทาได้ง่าย 3.ส่วนวิชาการ ข้อเสีย -การเดินท่อใต้คาน ทาให้อาคารสูงกว่าปรกติ ห้องทางาน จนท. เสา-คาน ห้องบรรยาย เสา-คาน 2.ระบบพาดช่วงกว้าง ได้แก่ Truss ห้องสมุด เสา-คาน ข้อดี -มีช่วงกว้างถึง24-35 ม. -น้าหนักเบา ห้องสัมมนา พาดช่วงกว้าง(Truss) -ค่าก่อสร้างถูก ส่วนนิทรรศการ พาดช่วงกว้าง(Truss) -การก่อสร้างสะดวก 4.ส่วนบริการสาธารณะ -ความชานาญช่างมีมาก โถงทางเข้า พาดช่วงกว้าง(Truss) 3.ระบบโครงสร้างหลังคา ใช้โครงสร้างเหล็ก Steel frame ร้านอาหาร เสา-คาน เนื่องจากมีน้าหนักเบาเพื่อลด dead load ของอาคาร ร้านขายต้นไม้ เสา-คาน *ระบบเสา-คาน เหมาะกับพื้นที่เล็กๆ 5.ส่วนบริการ เสา-คาน *ระบบพาดช่วงยาว เหมาะกับส่วนที่ต้องการความยืดหยุ่น และมีพื้นที่ขนาดใหญ่
  • 15. 2.ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ห้อง ระบบปรับอากาศ ระบบปรับอากาศ (Air Conditioning System) เป็นระบบปรับอากาศที่เหมาะสม 1.ส่วนอานวยการ Split Type ประหยัดและควบคุมอุณหภูมิ ความชื้นให้เหมาะสมกับสภาพการใช้งานต่างๆ ได้ 1.ระบบ Split Type เหมาะสาหรับพื้นที่ใช้สอยขนาดเล็กที่เปิด-ปิด ไม่เป็นเวลา 2.ส่วนวิจัย 2.ระบบ Chilled water system ระบบนี้เหมาะกับพื้นที่ปริมาตรมาก และพื้น ห้องปฏิบัติการ (Lab) Split Type ที่ที่ต่อเนื่องกัน หอพรรณไม้ Chilled Water ระบบปรับอากาศ 3.ส่วนวิชาการ ห้องทางาน จนท. Split Type ห้องบรรยาย Split Type ระบบ Split Type ระบบWater Cool ห้องสัมมนา Chilled Water Water Chiller ห้องสมุด Chilled Water Compresser ห้องเครื่อง ส่วนนิทรรศการ Chilled Water Fan Coil Cooling Tower A.H.U. 4.ส่วนบริการสาธารณะ โถงทางเข้า Chilled Water ร้านอาหาร Chilled Water 5.ส่วนบริการ Split Type แสดงระบบปรับอากาศ
  • 16. ระบบระบายอากาศ (Ventilation System) -ระบบระบายอากาศใช้เฉพาะห้องปฏิบัตการทางเคมีและชีววิทยา ที่มีการ ิ ห้อง ระบบระบายอากาศ ทดลองตรวจสอบสาร และวิเคราะห์ทางเคมีตางๆ อาจเกิดควันหรือสารพิษที่ ่ 2.ส่วนวิจัย กระจายไปในอากาศได้ ลักษณะการระบายอากาศ ห้องปฏิบัติการทางเคมี ใช้ตู้ดูดควัน -ระบายอากาศตามธรรมชาติ โดยการเปิดหน้าต่างไว้ ห้องปฏิบัติการทาง ใช้ตู้ดูดควัน -Fume Hood ระบายอากาศที่ใช้งานเพื่อดูดควันและก๊าซที่เกิดขึ้น ชีววิทยา การระบายอากาศแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1.ใช้พัดลมดูดอากาศ 2.การบังคับทิศทางลมประจา ใช้ Fume Hood ตู้ดูดควัน การระบายอากาศที่ดี การระบายอากาศที่ไม่ดี
  • 17. พื้นที่ใช้สอย ชนิดหลอด ความเข้มของแสง สว่าง (Lux) 3.ระบบไฟฟ้าและแสงสว่าง พื้นที่ห้องทางาน หลอดฟลูออเรสเซนต์ 400-500 แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ ห้องประชุม (day-light ) 1.ระบบไฟฟ้ากาลังและแสงสว่าง ห้องสมุด 2.ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน พื้นที่ห้องวิจัย หลอดฟลูออเรสเซนต์ 1100 ห้องเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ชนิดหลอดสีแดง ห้องกล้องถ่ายภาพโมเลกุล ชนิด Cromton Clenelite พื้นที่นิทรรศการ หลอดฮาโลเจน 300-400 พื้นที่ห้องเครื่อง หลอดฟลูออเรสเซนต์ 150 พื้นที่ทางเดิน-ห้องน้า หลอดฟลูออเรสเซนต์ 150 พื้นที่ภายนอก หลอดฟลูออเรสเซนต์ 10-30 1.ระบบไฟฟ้ากาลัง เป็นการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับเครืองมือและอุปกรณ์ต่างๆ ่ บริเวณที่ใช้ กระแสไฟฟ้ามาก ได้แก่ ห้องทดลอง ห้องเครื่อง ระบบแสงสว่าง 1.แสงธรรมชาติ ควรเป็น Indirect light เพื่อลดความจ้าของแสง อาคารที่ลึกเกินจากช่องแสง เข้าไป4.20เมตร การใช้แสงธรรมชาติจะไม่ได้ผล 2.แสงประดิษฐ์ เป็นแสงทีใช้ไฟฟ้าช่วยให้แสงสว่าง แทนแสงธรรมชาติที่ไม่เพียงพอ แบ่งเป็น ่ -หลอดฟลูออเรสเซนต์ ใช้ชนิด day-light กับห้องทางานทัวๆไป ่ -หลอดไฟฟ้าธรรมดา (incandescent) ใช้กับห้องปฏิบัติการทั่วๆไปที่ติดตั้งอุปกรณ์วิจัย พวก Electron Microscope 2.ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน 1.เครืองดีเซลเจนเนอเรเตอร์ การเปิด-ปิดระบบอัตโนมัติ ระยะเวลาไม่เกิน 10 วินาที ่ 2.แบตเตอร์รี่ ใช้สาหรับวงจรเตือนภัยกับทุกระบบ
  • 18. 5.ระบบสุขาภิบาล ระบบน้าใช้ สาหรับอาคารปฏิบัติการ แบ่งชนิดของน้าใช้ได้ดังนี้ 1.น้าประปาธรรมดา ใช้ในงานทั่วไป เช่น ห้องน้า-ส้วม ระบบดับเพลิง ระบบฉุกเฉิน 2.น้าประปาที่ผ่านการกรอง โดยผ่านเครื่องกรองก่อนจ่ายเข้าใช้ในระบบท่อของห้องปฏิบติการ ั 3.น้ากลั่น ระบบน้าเสีย ของอาคารปฏิบัติการมี 2 ระบบ คือ 1.ระบบน้าเสียทั่วไป 2.ระบบน้าเสียจากการปฏิบัติการ การเดินต่อท่อต้องแยกท่อน้าเสียจากการปฏิบัติการซึ่งมีระบบเฉพาะที่เปลี่ยนสภาพน้าก่อนปล่อยลงสู่ระบบระบาย น้าสาธารณะ
  • 19. ระบบก้าจัดน้าเสีย 1.น้าเสียจากระบบทั่วไป สามารถต่อเข้ากับทางระบายน้าหลักและลงสู่ท่อระบายน้าสาธารณะ 2.น้าเสียจากสุขภัณฑ์ เช่น ชักโครก โถปัสสาวะ กาจัดโยใช้บ่อเกรอะ บ่อซึม น้าเสียจากส้วม ถังบาบัดน้าเสีย บ่อตกตะกอน น้าเสียจากส่วนอื่นๆ กระบวนการแผ่น ถังฆ่าเชื้อโรค ท่อระบายน้า หมุนชีวภาพ
  • 20. 3.น้าเสียจากการปฏิบัติการ ต้องผ่านกระบวนการกาจัด (Wasted water treatment) ในขั้นตอนดังนี้ 3.1 บ่อผสมสารเคมี เป็นบ่อเติมสารเคมี เพื่อปรับค่า PH ให้เป็นกลาง และผสมสารเคมีเพื่อ ไปเคลือบสารพิษต่างๆ ซึ่งทาให้เกิดการตกตะกอนเร็วขึ้น 3.2 บ่อกวนน้า ภายในจะมีใบพัดกวนน้าตลอดเวลา เพื่อให้ตกตะกอนได้เร็วขึ้น 3.3 บ่อตกตะกอน กาจัดสิ่งเจือปน 3.4 บ่อเก็บกักน้า เพื่อให้สารเคมีสลายตัว 3.5 บ่อทดสอบคุณสมบัติของน้าเสีย ก่อนปล่อยน้าลงท่อระบายน้า บ่อในข้อ3.3-3.5 ในกระบวนการกาจัดของเสียนี้ เพื่อให้เกิดการ (Oxidation) ระหว่างน้า กับอากาศ (ปฏิกิริยาทางชีวเคมี) ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยเปลี่ยนสภาพของน้าที่มีสิ่งปฏิกูล ให้เป็น น้าดีก่อนที่จะระบายลงสู่ท่อระบายน้าสาธารณะได้ บ่อผสมสาร บ่อกวนน้า บ่อตกตะกอน บ่อเก็บกัก บ่อทดสอบคุณภาพ ท่อระบายน้า
  • 21. เครืองกาจัด ่ หัวตะเกียง ถังเก็บ ใบพัดวัด พื้นที่ควบคุม ขวดและ ทาลายของเสีย เชื้อเพลิง สภาพอากาศ และกาจัด กระป๋อง แท็งค์ชาระล้าง แท็งค์เก็บตัว บ่อทาลายกาก พัดลมระบาย ของเหลว กระจกเงา ทาลายของเสีย อากาศ ห้องเก็บกรด ตัวควบคุมบ่อ อ่างเทกรด อ่างเทสารละลาย ฝักบัวชาระสารเคมี ทาลาย ห้องกาจัดของเสียจากห้องปฏิบัติการ
  • 22. 4.ระบบการเดินท่อต่างๆ ภายในอาคาร ระบบท่อสาหรับห้องปฏิบัติการ 1.ก๊าซเชื้อเพลิง 2.Compressed Air 3.สุญญากาศ 4.น้าประปาที่ผ่านการกรอง 5.น้ากลั่น 6.น้าทิ้ง 7.ดูดควันและระบายอากาศ ระบบท่อบริการทั่วไป 1.ปรับอากาศ 2.น้าประปาธรรมดา 3.น้าดับเพลิง 4.ระบบเตือนไฟ 5.ระบบไฟฟ้า การเดินท่อ เช่น ท่อน้า ท่อแก๊ส ท่อสายไฟ หรือท่ออืนๆที่ใช้งาน สิ่งที่ต้องพิจารณาคือ ่ -ที่ตั้งระบบท่อ เข้าถึงได้ง่ายและระยะทางสั้นที่สุด -มีที่เพียงพอต่อการซ่อมแซม -มีขนาดที่ถูกต้อง คุณภาพของวัสดุที่ดี 5.การกาจัดขยะและระบบกาจัดของเสีย -ขยะทั่วไป -ของเสียจากการทดลองสารเคมี มีวิธีการดังนี้ 1.การกาจัดโดยการเผาในเตา ควรอยู่ในตาแหน่งที่สูงพอควร น้าไม่ท่วม และไม่ทาให้เกิดผลกระทบต่อพื้นดิน น้า 2.การกาจัดแบบฝังกลบ เป็นการกาจัดที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ไม่ก่อให้เกิดความราคาญ และเป็นอันตรายต่อสุขภาพ และสภาพแวดล้อม ตัวห้องแข็งแรง ไม่ซมน้า ระบายน้าดี ติดตั้ง compactor อัดขยะให้แน่น ึ -ของเสียจารสารเคมี ปล่อยออกทางท่อดูดควันที่ติดตั้งเครื่องดักความเป็นกรด-ด่าง กาจัดก๊าซเสียก่อนปล่อยออกปัย ของ เสียเหลวจะผ่านขั้นตอนบาบัดน้าเสีย
  • 23. 5.ระบบการป้องกันอัคคีภัย ระบบการป้องกันอัคคีภัยของอาคารศูนย์วิจัยที่มีสารเคมี ก๊าซต่างๆ ควรมีระบบป้องกันดังนี้ 1.การป้องกันอัคคีภัยในการเตรียมระบบโครงสร้าง -ระบบไฟฟ้าต้องแยกอกเป็นส่วนๆ -ส่วนของ core ต้องทนไฟ -ตัวอาคารใช้วัสดุทนไฟ เช่น ห้องปฏิบัติการทดลอง 2.การติดตั้งอุปกรณ์เตือนไฟ Fire alarm control panel lonization smoke detector 3.ติดตั้งเครื่องมือที่ใช้ในการดับเพลิง
  • 25. 5.ระบบเสียงและควบคุม ส่วนใหญ่ที่ใช้เป็นห้องสัมมนา การเลือกใช้ฝ้าเพดานในการดูดซับเสียง ลักษณะของผนังในการดูดซับเสียง
  • 27. ระบบการให้น้าของแปลงทดลอง แปลงทดลองควรปรับระดับให้มีความเรียบ เป็นที่ราบมีความลาดชัน ประมาณ 1-2% เพื่อการส่งน้าได้ทั่วถึงโดยไม่กัดเซาะหน้าดิน ระบบให้น้า การให้น้าในแปลงทดลอง ระบบหลักที่นิยมใช้ คือ การให้น้าทางผิวดิน ระบบฝั่งท่อ โดยการต่อท่อมาจากแหล่งน้า ฝั่งท่อไปตามแนวของถนนในแปลง จะมีหัวจ่ายน้าเป็นระยะ ข้อดี สะดวกในการทางานของเครื่องจักร การสูญเสียน้าจากการระเหยมีน้อย การดูแลรักษาในระยะยาวต่า ค่าดูแลรักษาน้อย ไม่มีการสูญเสียเนื้อที่ ข้อเสีย การติดตั้งต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง
  • 28. พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 หมวด 4 การควบคุมมลพิษ ส่วนที่ 4 มลพิษทางอากาศและเสียง มาตรา 68 ประเภทของแหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุม การปล่อยอากาศเสีย รังสี หรือ มลพิษอื่นใดที่อยู่ในสภาพเป็น ควัน ไอ ก๊าซ เขม่า ฝุ่น ละออง เถ้าถ่าน หรือมลพิษอากาศ ในรูปแบบใดออกสู่ บรรยากาศ ต้องติดตั้ง หรือจัดให้มีระบบบาบัด อากาศเสีย อุปกรณ์ หรือเครื่องมืออื่นใดสาหรับการควบคุม กาจัด ลด หรือขจัดมลพิษซึ่งอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพอากาศตามที่ เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกาหนด ส่วนที่ 5 มลพิษทางน้า มาตรา 69 แหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยน้าเสียหรือของเสีย ลงสู่แหล่งน้าสาธารณะ หรือออกสูสิ่งแวดล้อม ่ นอกเขตที่ตั้งแหล่งกาเนิดมลพิษ ไม่เกินมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่กาหนด มาตรา 70 เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษต้องก่อสร้างติดตั้งหรือจัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของ เสียตามที่เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกาหนด
  • 29. กฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2535 หมวด 1 แบบและวิธีการเกี่ยวกับการติดตังระบบอัคคีภัย ข้อ 2 อาคารดังต่อไปนี้ต้องมีวิธีการเกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัยตามที่กาหนดใน กฎกระทรวงนี้ (2)อาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมของประชาชน เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม สถานพยาบาลสถานศึกษา หอสมุด สถานกีฬา ในร่ม ตลาด ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า สถานบริการ ท่าอากาศยาน อาคารจอดรถ สถานีขนส่งมวลชน ที่จอดรถ ท่า จอดเรือ ภัตตาคาร สานักงาน สถานที่ทาการของราชการ โรงงาน และอาคารพาณิชย์ เป็นต้น ข้อ 3 อาคารอื่นนอกจากห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว และบ้านแฝด ที่มีความสูงไม่เกิน 2 ชั้น ต้องติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบมือถือ อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากประเภทของวัสดุที่มีในแต่ละชั้นไว้ 1 เครื่อง ต่อพื้นที่อาคารไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ทุกระยะไม่เกิน 45 เมตร แต่ไม่น้อยกว่าชั้นละ 1 เครื่อง
  • 30. หมวดที่ 2 แบบและจ้านวนห้องน้าและห้องส้วม ตารางที่ 2 จานวนห้องน้าและห้องส้วม ห้องส้วม ชนิดหรือประเภทของอาคาร ที่ถ่าย ที่ถ่าย ห้อง อุจจาระ ปัสสาวะ อ่างล้างมือ น้า (7) หอประชุมหรือโรงมหรสพ ต่อพื้นที่อาคาร 200 ตารางเมตร หรือต่อ 100 คน ที่ กาหนดให้ใช้สอยอาคานั้น ทั้งนีให้ถือจานวนที่ ้ มากกว่าเป็นเกณฑ์ 1 2 1 (ก) สาหรับผู้ชาย - 2 - 1 (ข) สาหรับผู้หญิง - (9) สานักงาน ต่อพืนที่อาคาร 300 ตารางเมตร ้ (ก) สาหรับผู้ชาย 1 2 (ข) สาหรับผู้หญิง 2 - - 1 - 1 (16) อาคารที่จอดรถสาหรับบุคคลทั่วไป ต่อ พื้นที่อาคาร 1000 ตารางเมตร 1 (ก) สาหรับผู้ชาย 1 - 1 (ข) สาหรับผู้หญิง 1 - 1 -
  • 31. หมวด 3 ระบบการจัดแสงสว่างและการระบายอากาศ ข้อ 11 ส่วนต่างๆ ของอาคารต้องมีความเข้มของแสงสว่างไม่น้อยกว่าความเข้มที่กาหนดไว้ในตารางที่ 3 ท้ายกฎกระทรวงนี้ ข้อ 12 ระบบการระบายอากาศในอาคารจะจัดให้มีการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติหรือโดยวิธีกลก็ได้ ข้อ 13 ในกรณีที่จัดให้มีระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ ห้องในอาคารทุกชนิดทุกประเภทต้องมีประตู หน้าต่างหรือช่องระบาย อากาศด้านติดกับอากาศภายนอกเป็นพื้นที่รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของพื้นที่ของห้องนั้น ทั้งนี้ ไม่นับรวมพื้นที่ของประตู หน้าต่าง และช่องระบายอากาศที่ติดต่อกับห้องอื่นหรือช่องทางเดินภายในอาคาร ข้อ 14 ในกรณีที่ไม่อาจจัดให้มีการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติให้จัดให้มีการระบายอากาศโดยวิธีกลซึ่งใช้กลอุปกรณ์ ขับเคลื่อนอากาศ กลอุปกรณ์นี้ต้องทางานตลอดเวลาระหว่างที่ใช้สอยพื้นที่นั้น ข้อ 16 ตาแหน่งของช่องนาอากาศภายนอกโดยวิธีกล ต้องห่างจากที่เกิดอากาศเสียและช่องระบายอากาศทิ้งไปน้อยกว่า 5 เมตร และสูงจากพื้นดินไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร การนาอากาศภายนอกเข้าและการระบายอากาศทิ้งโดยวิธีกล ต้องไม่ก่อให้เกิด ความเดือดร้อนราคาญแก่ประชาชนผู้อยู่อาศัยใกล้เคียง ตารางที่ 3 ความเข้มของแสงสว่าง ลาดับ สถานที่ (ประเภทการใช้) หน่วยความเข้มข้นของแสงสว่าง (LUX) 1 ที่จอดรถ 50 4 ห้องน้า ห้องส้วมของโรงงาน โรงเรียน โรงแรม 100 6 สานักงาน หรืออาคารอยู่อาศัยรวม ช่องทางเดินภายในโรงงาน โรงเรียน โรงแรม 200 สานักงาน 12 ห้องสมุด ห้องเรียน 300 13 ห้องประชุม 300 14 บริเวณทีทางานในสานักงาน ่ 300
  • 32. ตารางที่ 4 อัตราการระบายอากาศตามวิธีกล ลาดับ สถานที่ (ประเภทการใช้) อัตราการระบายอากาศ ไม่น้อย กว่าจานวนเท่าของปริมาตรของ ห้องใน 1 ชั่วโมง 1 ห้องน้าห้องส้วมของที่พักอาศัยหรือสานักงาน 2 2 ห้องน้า ห้องส้วมของอาคารสาธารณะ 4 3 ที่จอดรถที่อยู่ต่ากว่าระดับพื้นดิน 4 5 โรงมหรสพ 4 9 สานักงาน 7 12 ห้องครัวของสถานที่จาหน่ายอาหารและ 24 เครื่องดื่ม ตารางที่ 5 อัตราการระบายอากาศในกรณีที่มีระบบปรับภาวะอากาศ ลาดับ สถานที่ (ประเภทการใช้) ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง/ตาราง เมตร 1 สานักงาน 2 2 ห้องปฏิบัติการ 2 3 โรงมหรสพ (บริเวณที่นั่งสาหรับคนดู) 4 4 ห้องประชุม 6 5 ห้องนา ห้องส้วม 10 6 สถานีจาหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม 10 7 ห้องครัว 30
  • 33. กฎกระทรวง ฉบับที่ 41 (พ.ศ. 2537) ข้อ 2 ที่จอดรถ 1 คัน ต้องเป็นพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า และต้องมีลักษณะและขนาด ดังนี้ (1)ในกรณีที่จอดรถขนานกับแนวทางเดินรถหรือทามุมกับแนวทางเดินรถน้อยกว่าสามสิบองศา ให้มีความกว้างไม่น้อย กว่า 2.40 เมตร และความยาวไม่น้อยกว่า 6.00 เมตร (2) ในกรณีที่จอดรถตั้งฉากกับแนวทางเดินรถให้มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตรและความยาวไม่น้อยกว่า 5.00 เมตร แต่ทั้งนี้ จะต้องไม่จัดให้มีทางเข้าออกของรถเป็นทางเดินรถทางเดียว (3) ในกรณีที่จอดรถตั้งฉากกับแนวทางเดินรถ ให้มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และความยาวไม่น้อยกว่า 5.50 เมตร ข้อ 3 ที่จอดรถแต่ละคัน ต้องมีเครื่องหมายแสดงลักษณะและขอบเขตของที่จอดรถไว้ให้ปรากฏบนพื้น และต้องมี ทางเดินรถเชื่อมต่อโดยตรงกับทางเข้าออกของรถและที่กลับรถ ข้อ 4 ระยะความสูงสุทธิระหว่างพื้นที่ที่ใช้จอดรถ ทางเดินรถ และทางลาดขึ้นลงของรถ กับส่วนที่ต่าสุดของชั้นที่ถัดไป ของอาคาร ต้องไม่น้อยกว่า 2.10 เมตร ส่วนของพื้นที่ที่ใช้จอดรถต่างระดับกันจะเหลี่อมกันได้ไม่เกิน 1.00 เมตร และ เฉพาะส่วนที่เหลื่อมกันจะมีความสูงน้อยกว่า 2.10 เมตรก็ได้
  • 34. กฎกระทรวง ฉบับที่ 51 (พ.ศ. 2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ข้อ 3 อาคารประเภทและลักษณะดังต่อไปนี้ ต้องจัดให้มีระบบการระบายน้า และระบบบาบัดน้าเสียที่มีประสิทธิภาพ เพียงพอในการปรับปรุงน้าเสียจากอาคารให้เป็นน้าทิ้งที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ใน ข้อ 4 ก่อนที่จะระบาย ลงสู่แหล่งรองรับน้าทิ้ง (3) อาคารประเภท ค (ฉ) อาคารที่ทาการของราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การระหว่างประเทศ หรือเอกชนที่มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นในอาคารหลัง เดียวกันหรือหลายหลังรวมกันตั้งแต่ 5,000 ตารางเมตร แต่ไม่ถึง 10,000 ตารางเมตร ข้อ 4 น้าทิ้งจากอาคารที่จะระบายจากอาคารลงสู่แหล่งรองรับน้าทิ้งได้ ต้องมีคุณภาพน้าทิ้งตามประเภทของอาคารตาม มาตรฐานคุณภาพน้าทิ้ง ดังต่อไปนี้ อาคารประเภทมาตรฐานคุณภาพน้าทิ้ง ค 1. พีเอช 5– 9 2. บีโอดี ไม่เกิน 60 (มิลลิกรัม/ลิตร) 3. ปริมาณสารแขวนลอยไม่เกิน 50 (มิลลิกรัม/ลิตร) 4. ปริมาณสารละลายที่เพิ่มขึ้นจากน้า 500 ใช้ไม่เกิน(มิลลิกรัม/ลิตร) 5. ปริมาณตะกอนหนัก ไม่เกิน 0.5 (มิลลิกรัม/ลิตร) 6. ทีเคเอ็น ไม่เกิน (มิลลิกรัม/ลิตร) 40 7. ออร์แกนิก * ไนโตรเจน ไม่เกิน 15 (มิลลิกรัม/ลิตร) 8. แอมโมเนีย * ไนโตรเจน ไม่เกิน 25 (มิลลิกรัม/ลิตร) 9. น้ามันและไขมัน ไม่เกิน 20 (มิลลิกรัม/ลิตร) 10.ซัลไฟด์ ไม่เกิน(มิลลิกรัม/ลิตร) 3.0
  • 35. กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 หมวด 2 ส่วนต่างๆ ของอาคาร ส่วนที่ 1 วัสดุของอาคาร ข้อ 14 สิ่งที่สร้างขึ้นสาหรับติดหรือตั้งป้ายที่ติดตั้งบนพื้นดินโดยตรงให้ทาด้วยวัสดุทนไฟทั้งหมด ข้อ 15 เสา คาน พื้น บันได และผนังของอาคารที่สูงตั้งแต่สามชั้นขึ้นไป โรงมหรสพ หอประชุม หอสมุด ต้องทาด้วยวัสดุถาวรที่เป็นวัสดุทนไฟด้วย ข้อ18 ครัวในอาคารต้องมีพื้นและผนังที่ทาด้วยวัสดุถาวรที่เป็นวัสดุทนไฟ ส่วนฝาและเพดานนั้น หากไม่ทาด้วยวัสดุถาวรที่ เป็นวัสดุทนไฟ ก็ให้บุด้วยวัสดุทนไฟ ข้อ 22 ห้องหรือส่วนของอาคารที่ใช้ในการทากิจกรรม ต่างๆ ต้องมีระยะดิ่งไม่น้อยกว่าตามที่กาหนดไว้ดังต่อไปนี้
  • 36. ข้อ 24 บันไดของอาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมของคนจานวนมาก เช่น บันไดห้องประชุมหรือห้องบรรยายที่มีพื้นที่รวมกัน ตั้งแต่ 500 ตารางเมตรขึ้นไป หรือบันไดห้องรับประทานอาหารหรือสถานบริการที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 1,000 ตาราง เมตรขึ้นไป หรือบันไดของแต่ละชั้นของอาคารนั้นที่มีพื้นที่รวมกันตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมีความกว้างไม่ น้อยกว่า 1.50 เมตร อย่างน้อยสองบันได ถ้ามีบันไดเดียวต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 3 เมตร ข้อ 25 บันไดตามข้อ 24 จะต้องมีระยะห่างไม่เกิน 40 เมตร จากจุดที่ไกลสุดบนพื้นชั้นนั้น ส่วนที่ 4 บันไดหนีไฟ ข้อ 29 บันไดหนีไฟภายนอกอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร และต้องมีผนังส่วนที่บันไดหนีไฟ พาดผ่านเป็นผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรที่เป็นวัสดุทนไฟ ข้อ 30 บันไดหนีไฟภายในอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร มีผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรที่เป็น วัสดุทนไฟกั้นโดยรอบ หมวด 4 แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร ข้อ 41 อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้ถนนสาธารณะที่มีความกว้างน้อยกว่า 6 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจาก กึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้อย 3 เมตร ข้อ 42 อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้แหล่งน้าสาธารณะ เช่น แม่น้า คู คลอง ลาราง หรือลากระโดง ถ้าแหล่งน้า สาธารณะนั้นมีความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ต้องร่นแนวอาคารให้ห่างจากเขตแหล่งน้าสาธารณะนั้นไม่น้อยกว่า 3 เมตร แต่ถ้าแหล่งน้าสาธารณะนั้นมีความกว้างตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป ต้องร่นแนวอาคารให้ห่างจากเขตแหล่งน้าสาธารณะนั้น ไม่น้อยกว่า 6 เมตร
  • 37. ข้อ 43 ให้อาคารที่สร้างตามข้อ 41 และ ข้อ 42 ต้องมีส่วนต่าสุดของกันสาดหรือส่วนยื่นสถาปัตยกรรมสูงจากระดับทาง เท้าไม่น้อยกว่า 3.25 เมตร ทั้งนี้ ไม่นับส่วนตบแต่งที่ยื่นจากผนังไม่เกิน 50 เซนติเมตร และต้องมีท่อรับน้าจากกันสาด หรือหลังคาต่อแนบหรือฝังในผนังหรือเสาอาคารลงสู่ท่อสาธารณะหรือบ่อพัก ข้อ 44 ความสูงของอาคารไม่ว่าจากจุดหนึ่งจุดใด ต้องไม่เกินสองเท่าของระยะราบวัดจากจุดนั้นไปตั้งฉากกับแนวเขต ด้านตรงข้ามของถนนสาธารณะที่อยู่ใกล้อาคารนั้นที่สุด ข้อ 47 รั้วหรือกาแพงที่สร้างขึ้นติดต่อหรือห่างจากถนนสาธารณะน้อยกว่าความสูงของรั้ว ให้ก่อสร้างได้สูงไม่เกิน 3 เมตร เหนือระดับทางเท้าหรือถนนสาธารณะ