SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 43
วิธีการวางแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Action Planning Method)
วัตถุประสงค์หลัก เพื่อ 1.  ให้รู้จักขั้นตอนของวิธีวางแผนปฏิบัติการ 2.  ให้เข้าใจขั้นตอนและพัฒนาทักษะการจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมผ่านการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
วัตถุประสงค์ของการดำเนินการ เพื่อให้ผู้เข้าอบรม 1.  มีความคิดริเริ่มและได้มีส่วนร่วมของการสาธิตและฝึกปฏิบัติ 2.  ได้รู้จักบรรยากาศของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสนุกสนาน 3.  เห็นคุณค่าของกรรมวิธีอันมีประโยชน์และสามารถวางแผนฯ ได้ในระยะเวลาสั้นๆ
วิธีการวางแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Action Planning Method)
ขั้นตอนการวางแผนปฏิบัติการ  แบบมีส่วนร่วม  มี  7  ขั้นตอน
เจ็ดขั้นตอนสำคัญ 1.  สถานการณ์  ( บริบท ) 2.  หัวใจแห่งชัยชนะ  ( จินตนาการ ) 3.  สิ่งที่เกิดขึ้นจริง  ( สภาพจริงในปัจจุบัน ) 4.  พันธกิจ  ( สัญญาใจ ) 5.  ปฏิบัติการสำคัญ  ( ภารกิจหลัก ) 6.  ปฏิทินกิจกรรมและความรับผิดชอบ 7.  การไตร่ตรอง
องค์ประกอบที่ต้องใช้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กฎ / กติกากลุ่ม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
วิ ธีการนี้แตกต่างจากวิธีอื่นอย่างไร 1.  ความรวดเร็วและการมีส่วนร่วม 2.  เปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการวางแผนและนำไปปฏิบัติ 3.  ใช้ปฏิบัติได้จริง 4.  ดีที่สุดเพราะมีผู้รับผิดชอบด้านต่างๆ โดยความสมัครใจ
เมื่อใดจึงเหมาะสมในการใช้วิธีวางแผนปฏิบัติการ 1.  ใช้ในการวางแผนดำเนินกิจกรรมต่างๆ สำหรับหนึ่งโครงการที่มีระยะเวลาอย่างมากสามเดือนถึงไม่เกิน  1  ปี 2.  ใช้เมื่อต้องการส่งเสริมความรับผิดชอบร่วมกัน 3.  ใช้เมื่อต้องการแสดงความรับผิดชอบอย่างชัดเจน 4.  ใช้เมื่อต้องการตัดสินใจเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากร หรือการนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ
สาธิต  วิ ธีการวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม 1.  สถานการณ์  ( บริบท ) 2.  หัวใจแห่งชัยชนะ  ( จินตนาการ ) 3.  สิ่งที่เกิดขึ้นจริง 4.  สัญญาใจ  ( พันธกิจที่มุ่งมั่น  ) 5.  ปฏิบัติการสำคัญ  ( ภารกิจหลัก ) 6.  ปฏิทินกิจกรรมและความรับผิดชอบ 7.  การไตร่ตรอง
1.  สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวย 2.  กำหนดหัวข้อ / ประเด็น / เรื่อง ที่จะจัดทำให้ชัดเจน 3.  กำหนดระยะเวลาในการจัดทำ แผน ขั้นตอนที่  1 :  สถานการณ์  ( บริบท )
เราจะนำ”การแก้ปัญหาการดื่มสุราในชุมชน” ไปสู่การปฏิบัติโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนได้อย่างไร  ? คำถามสำคัญของการประชุม  ( บริบท ) คำตอบ  :  คือต้องหาวิธีสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนให้มากขึ้น ?
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],แนวทางที่กลุ่มได้มองเห็นร่วมกันว่าจะต้องดำเนินการทันที คืออะไร
ขั้นตอนที่  2 :  หัวใจแห่งชัยชนะ กลุ่มจินตนาการว่าเมื่อดำเนินการตามแนวทางดังกล่าวเสร็จเรียบร้อยแล้ว  ท่านคาดหวังว่า ... ประชาชนจะได้ประโยชน์อะไร ประชาชนจะกล่าวขาน ( ชื่นชม )  พวกเราว่าอย่างไร
ขอให้กลุ่มวิเคราะห์ว่า “ ในการที่จะทำให้การดำเนินการตามแนวทางนี้ประสบความสำเร็จ”  กลุ่มเรา ( ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ) มีข้อดีและข้อจำกัดอะไรบ้าง สภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน ข้อดี / จุดแข็ง ข้อจำกัด ขั้นตอนที่  3 :
ข้อผูกมัด  :  สัญญาใจ เรามุ่งมั่นจะทำอะไรเพื่อให้แนวทางของกลุ่มสามารถนำไปสู่การปฏิบัติจริงได้สำเร็จ ขั้นตอนที่  4 : เขียนเป็นถ้อยคำร้อยแก้วแสดงความมุ่งมั่นของกลุ่มว่าจะดำเนินการอะไร อย่างไรบ้าง เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดการ .................. อย่างต่อเนื่อง และเกิดผลสำเร็จที่ยั่งยืน
ตัวอย่างของสัญญาใจ  ( พันธะสัญญา / ข้อผูกมัด ) ,[object Object]
[object Object]
ภารกิจที่  3 ภารกิจที่  2  จัดอบรมทักษะฯ แก่แกนนำฯ ภารกิจที่  1 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ  กำหนดภารกิจหลัก ขั้นตอนที่  5 : ประเมินความพึงพอใจแบบมีส่วนร่วม เวทีการมีส่วนร่วมของ ปชช .
คำถามในการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อกำหนดภารกิจหลัก ,[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ห้าขั้นตอนสำคัญ วิธีการประชุมเชิงปฏิบัติการ  (Workshop Method)
ปฏิทินกิจกรรมและงานที่มอบหมาย เดือนที่  1 เดือนที่  2 เดือนที่  3 เดือนที่  4 ขั้นตอนที่  6 : ภารกิจสำคัญ หรือพันธกิจ ช่วงเวลา  /  กำหนดเวลา 1 2 3 4 งบ ประ มาณ วิธีการรวบรวมข้อมูลตอบตัวชี้วัด คณะผู้รับผิด ชอบ ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1. ท่านมีความเห็นอย่างไรเกี่ยวกับแผนปฏิบัติการ  ที่เราได้สร้างขึ้น 2. ท่านรู้สึกอย่างไรเกี่ยวกับกิจกรรมที่ต้องทำเหล่านี้ 3. ขั้นตอนต่อไปของเราคืออะไร 4. เราจะดำเนินขั้นตอนเหล่านั้นได้อย่างไร ทำการสนทนาแบบมีส่วนร่วม การไตร่ตรอง ขั้นตอนที่  7 :
สรุปวิธีการวางแผนปฏิบัติการ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ขั้นตอนที่  1 :  สถานการณ์  ( บริบท )
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],แนวทางแก้ไขปัญหาที่กลุ่มได้มองเห็นร่วมกันว่าจะต้องดำเนินการทันที คืออะไร
ขั้นตอนที่  2 :  หัวใจแห่งชัยชนะ เมื่อทำกิจกรรมในแผนปฏิบัติการเสร็จเรียบร้อยแล้ว  ท่านคาดหวังว่า ...( จินตนาการ ) ประชาชนจะได้รับประโยชน์อะไร  ประชาชนจะกล่าวขานถึงท่านว่าอย่างไร ?
ขอให้กลุ่มวิเคราะห์ว่า “ ในการที่จะทำให้แผนปฏิบัติการประสบความสำเร็จ”  กลุ่ม ( องค์กร ) มีจุดแข็ง ( ข้อดี ) และจุดอ่อน ( ข้อจำกัด ) อะไรบ้าง สภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน ข้อจำกัด ข้อดี / จุดแข็ง ขั้นตอนที่  3 :
ข้อผูกมัด  :  สัญญาใจ ท่านจะมุ่งมั่นทำอะไร  เพื่อให้แผนปฏิบัติการของกลุ่ม  สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้จริง ขั้นตอนที่  4 :
ภารกิจที่  3 ภารกิจที่  2 ภารกิจที่  1 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ  กำหนดภารกิจหลัก ขั้นตอนที่  5 :
ปฏิทินกิจกรรมและงานที่มอบหมาย เดือนที่  1 เดือนที่  2 เดือนที่  3 เดือนที่  4 ขั้นตอนที่  6 : ภารกิจสำคัญ หรือพันธกิจ ช่วงเวลา  /  กำหนดเวลา 1 2 3 4 วิธีการรวบรวมข้อมูลตอบตัวชี้วัด ตัวชี้ วัดความสำเร็จ งบ ประ มาณ รับผิดชอบ คณะผู้
1. ท่านมีความเห็นอย่างไรเกี่ยวกับแผนปฏิบัติการ  ที่เราได้สร้างขึ้น 2. ท่านรู้สึกอย่างไรเกี่ยวกับกิจกรรมที่ต้องทำเหล่านี้ 3. ขั้นตอนต่อไปของเราคืออะไร 4. เราจะดำเนินขั้นตอนเหล่านั้นได้อย่างไร ทำการสนทนาแบบมีส่วนร่วม การไตร่ตรอง ขั้นตอนที่  7 :
วิ ธีการถกปัญหา ( ไตร่ตรอง ) ความรู้สึก! eflective Level ( ระดับไตร่ตรอง ) สำรวจปฏิกิริยาต่อข้อมูลในเบื้องต้น  ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าหัวใจ  :  อารมณ์ ความจำ การเกี่ยวโยง R Bjective Level  ( ระดับวัตถุประสงค์ ) ให้ข้อเท็จจริงและข้อมูล ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าประสาทการรับรู้ --- มองเห็น ได้ยิน รู้สึก ลิ้มรส สัมผัส O อะไรนะ ?
วิ ธีการถกปัญหา ( ไตร่ตรอง ) ecisional Level ( ระดับตัดสินใจ ) “ เราจะดำเนินการในหมู่พวกเราอย่างไรเพื่อการแก้ไขแผน ?” “ เราจะทำร่างแรกของแผนที่แก้ไขใหม่ของเราเพื่อส่งมอบให้สภาและพิจารณา ได้เมื่อไหร่” D แล้วจะเอายังไง? nterpretative Level ( ระดับการตีความ ) สำรวจปฏิกิริยาต่อข้อมูลในเบื้องต้น  ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าความรู้สึกนึกคิด  :  ความหมาย ค่านิยม และนัยสำคัญ I แล้วไงล่ะ?
เทคโนโลยี การมีส่วนร่วมแบบพหุภาคี (Technology Of Participation : TOP) ผศ . ดร .  วิรัติ ปานศิลา และคณะ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เ ทคนิคพื้นฐาน ของผู้เอื้อกระบวนการกลุ่ม
1. วิ ธีการถกปัญหา  ( ORID Method ) ความรู้สึก! ecisional Level ( ระดับตัดสินใจ ) “ เราจะดำเนินการในหมู่พวกเราอย่างไรเพื่อการแก้ไขแผน ?” “ เราจะทำร่างแรกของแผนที่แก้ไขใหม่ของเราเพื่อส่งมอบให้สภา  และพิจารณา ได้เมื่อไหร่” D แล้วจะเอายังไง? nterpretative Level ( ระดับการตีความ ) สำรวจปฏิกิริยาต่อข้อมูลในเบื้องต้น  ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าความรู้สึกนึกคิด  :  ความหมาย ค่านิยม และนัยสำคัญ I แล้วไงล่ะ? eflective Level ( ระดับไตร่ตรอง ) สำรวจปฏิกิริยาต่อข้อมูลในเบื้องต้น  ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าหัวใจ  :  อารมณ์ ความจำ การเกี่ยวโยง R Bjective Level  ( ระดับวัตถุประสงค์ ) ให้ข้อเท็จจริงและข้อมูล ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าประสาทการรับรู้ --- มองเห็น ได้ยิน รู้สึก ลิ้มรส สัมผัส O อะไรนะ ?
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ห้าขั้นตอนสำคัญ 2. วิธีการประชุมเชิงปฏิบัติการ  (Workshop Method)
Action Planning Method  เจ็ดขั้นตอนสำคัญ 1.  สถานการณ์  ( บริบท ) 2.  หัวใจแห่งชัยชนะ  ( จินตนาการ ) 3.  สิ่งที่เกิดขึ้นจริง 4.  พันธกิจ  ( สัญญาใจ ) 5.  ปฏิบัติการสำคัญ  ( ภารกิจหลัก ) 6.  ปฏิทินกิจกรรมและความรับผิดชอบ 7.  การไตร่ตรอง 3. วิธีการวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
รู ปแบบภาวะผู้นำที่เหมาะสม จะไปถึงได้อย่างไร  ( วิธีการ ) ความเก่ง ของแต่ละคน จะทำอะไร มติที่ถูกต้อง มติร่วมกัน ของทุกคน ความเก่งของกลุ่ม มุมมองหลากหลาย ยึดถือ พึ่งพา แสวงหา รู้ว่า การใช้อำนาจ แบบดั้งเดิม แบบเอื้ออำนวย
ค่ านิยมพื้นฐาน ของผู้นำแบบเอื้ออำนวย การมีส่วนร่วม การทำงานเป็นทีม การนำไปปฏิบัติ การไตร่ตรอง การสร้างสรรค์ การเห็นพ้องร่วมกัน
ข อขอบคุณ คณะวิทยากร คณะเจ้าหน้าที่  กรมสุขภาพจิต และผู้เข้ารับการอบรม ทุกท่าน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวkoy2514
 
บริการแนะแนว
บริการแนะแนวบริการแนะแนว
บริการแนะแนวwanwisa491
 
การออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอการออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอWichit Chawaha
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นKritsadin Khemtong
 
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)Mayuree Srikulwong
 

Was ist angesagt? (11)

โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนว
 
NSTDA KM
NSTDA KMNSTDA KM
NSTDA KM
 
บริการแนะแนว
บริการแนะแนวบริการแนะแนว
บริการแนะแนว
 
การออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอการออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอ
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่น
 
Mm100
Mm100Mm100
Mm100
 
Chapter 6 ideate
Chapter 6 ideateChapter 6 ideate
Chapter 6 ideate
 
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
Design thinking การคิดเชิงออกแบบ (Thai - English)
 

Ähnlich wie การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม

ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบPum Pep
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบPum Pep
 
Project planning - Workshop
Project planning - WorkshopProject planning - Workshop
Project planning - Workshopinanza
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55Nithimar Or
 
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้งการตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้งtanongsak
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานParichart Biw
 
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษแบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษสมใจ จันสุกสี
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารJuneSwns
 
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายในPrachoom Rangkasikorn
 
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1pthaiwong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Meaw Sukee
 
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิมMake better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิมmaruay songtanin
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์Aun Chun Cha Ree
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานParichart Biw
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานParichart Biw
 
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การChapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การwanna2728
 

Ähnlich wie การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม (20)

ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
Project planning - Workshop
Project planning - WorkshopProject planning - Workshop
Project planning - Workshop
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55
 
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้งการตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
การตัดสินใจ การทำงานเป็นทีม และการบริหารความขัดแย้ง
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษแบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหาร
 
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิมMake better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การChapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
 
Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 

การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม

  • 2. วัตถุประสงค์หลัก เพื่อ 1. ให้รู้จักขั้นตอนของวิธีวางแผนปฏิบัติการ 2. ให้เข้าใจขั้นตอนและพัฒนาทักษะการจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมผ่านการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
  • 3. วัตถุประสงค์ของการดำเนินการ เพื่อให้ผู้เข้าอบรม 1. มีความคิดริเริ่มและได้มีส่วนร่วมของการสาธิตและฝึกปฏิบัติ 2. ได้รู้จักบรรยากาศของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสนุกสนาน 3. เห็นคุณค่าของกรรมวิธีอันมีประโยชน์และสามารถวางแผนฯ ได้ในระยะเวลาสั้นๆ
  • 6. เจ็ดขั้นตอนสำคัญ 1. สถานการณ์ ( บริบท ) 2. หัวใจแห่งชัยชนะ ( จินตนาการ ) 3. สิ่งที่เกิดขึ้นจริง ( สภาพจริงในปัจจุบัน ) 4. พันธกิจ ( สัญญาใจ ) 5. ปฏิบัติการสำคัญ ( ภารกิจหลัก ) 6. ปฏิทินกิจกรรมและความรับผิดชอบ 7. การไตร่ตรอง
  • 7.
  • 8.
  • 9. วิ ธีการนี้แตกต่างจากวิธีอื่นอย่างไร 1. ความรวดเร็วและการมีส่วนร่วม 2. เปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการวางแผนและนำไปปฏิบัติ 3. ใช้ปฏิบัติได้จริง 4. ดีที่สุดเพราะมีผู้รับผิดชอบด้านต่างๆ โดยความสมัครใจ
  • 10. เมื่อใดจึงเหมาะสมในการใช้วิธีวางแผนปฏิบัติการ 1. ใช้ในการวางแผนดำเนินกิจกรรมต่างๆ สำหรับหนึ่งโครงการที่มีระยะเวลาอย่างมากสามเดือนถึงไม่เกิน 1 ปี 2. ใช้เมื่อต้องการส่งเสริมความรับผิดชอบร่วมกัน 3. ใช้เมื่อต้องการแสดงความรับผิดชอบอย่างชัดเจน 4. ใช้เมื่อต้องการตัดสินใจเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากร หรือการนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ
  • 11. สาธิต วิ ธีการวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม 1. สถานการณ์ ( บริบท ) 2. หัวใจแห่งชัยชนะ ( จินตนาการ ) 3. สิ่งที่เกิดขึ้นจริง 4. สัญญาใจ ( พันธกิจที่มุ่งมั่น ) 5. ปฏิบัติการสำคัญ ( ภารกิจหลัก ) 6. ปฏิทินกิจกรรมและความรับผิดชอบ 7. การไตร่ตรอง
  • 12. 1. สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวย 2. กำหนดหัวข้อ / ประเด็น / เรื่อง ที่จะจัดทำให้ชัดเจน 3. กำหนดระยะเวลาในการจัดทำ แผน ขั้นตอนที่ 1 : สถานการณ์ ( บริบท )
  • 13. เราจะนำ”การแก้ปัญหาการดื่มสุราในชุมชน” ไปสู่การปฏิบัติโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนได้อย่างไร ? คำถามสำคัญของการประชุม ( บริบท ) คำตอบ : คือต้องหาวิธีสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนให้มากขึ้น ?
  • 14.
  • 15. ขั้นตอนที่ 2 : หัวใจแห่งชัยชนะ กลุ่มจินตนาการว่าเมื่อดำเนินการตามแนวทางดังกล่าวเสร็จเรียบร้อยแล้ว ท่านคาดหวังว่า ... ประชาชนจะได้ประโยชน์อะไร ประชาชนจะกล่าวขาน ( ชื่นชม ) พวกเราว่าอย่างไร
  • 16. ขอให้กลุ่มวิเคราะห์ว่า “ ในการที่จะทำให้การดำเนินการตามแนวทางนี้ประสบความสำเร็จ” กลุ่มเรา ( ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ) มีข้อดีและข้อจำกัดอะไรบ้าง สภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน ข้อดี / จุดแข็ง ข้อจำกัด ขั้นตอนที่ 3 :
  • 17. ข้อผูกมัด : สัญญาใจ เรามุ่งมั่นจะทำอะไรเพื่อให้แนวทางของกลุ่มสามารถนำไปสู่การปฏิบัติจริงได้สำเร็จ ขั้นตอนที่ 4 : เขียนเป็นถ้อยคำร้อยแก้วแสดงความมุ่งมั่นของกลุ่มว่าจะดำเนินการอะไร อย่างไรบ้าง เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดการ .................. อย่างต่อเนื่อง และเกิดผลสำเร็จที่ยั่งยืน
  • 18.
  • 19.
  • 20. ภารกิจที่ 3 ภารกิจที่ 2 จัดอบรมทักษะฯ แก่แกนนำฯ ภารกิจที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ กำหนดภารกิจหลัก ขั้นตอนที่ 5 : ประเมินความพึงพอใจแบบมีส่วนร่วม เวทีการมีส่วนร่วมของ ปชช .
  • 21.
  • 22.
  • 23. ปฏิทินกิจกรรมและงานที่มอบหมาย เดือนที่ 1 เดือนที่ 2 เดือนที่ 3 เดือนที่ 4 ขั้นตอนที่ 6 : ภารกิจสำคัญ หรือพันธกิจ ช่วงเวลา / กำหนดเวลา 1 2 3 4 งบ ประ มาณ วิธีการรวบรวมข้อมูลตอบตัวชี้วัด คณะผู้รับผิด ชอบ ตัวชี้วัดความสำเร็จ
  • 24. 1. ท่านมีความเห็นอย่างไรเกี่ยวกับแผนปฏิบัติการ ที่เราได้สร้างขึ้น 2. ท่านรู้สึกอย่างไรเกี่ยวกับกิจกรรมที่ต้องทำเหล่านี้ 3. ขั้นตอนต่อไปของเราคืออะไร 4. เราจะดำเนินขั้นตอนเหล่านั้นได้อย่างไร ทำการสนทนาแบบมีส่วนร่วม การไตร่ตรอง ขั้นตอนที่ 7 :
  • 26.
  • 27.
  • 28. ขั้นตอนที่ 2 : หัวใจแห่งชัยชนะ เมื่อทำกิจกรรมในแผนปฏิบัติการเสร็จเรียบร้อยแล้ว ท่านคาดหวังว่า ...( จินตนาการ ) ประชาชนจะได้รับประโยชน์อะไร ประชาชนจะกล่าวขานถึงท่านว่าอย่างไร ?
  • 29. ขอให้กลุ่มวิเคราะห์ว่า “ ในการที่จะทำให้แผนปฏิบัติการประสบความสำเร็จ” กลุ่ม ( องค์กร ) มีจุดแข็ง ( ข้อดี ) และจุดอ่อน ( ข้อจำกัด ) อะไรบ้าง สภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน ข้อจำกัด ข้อดี / จุดแข็ง ขั้นตอนที่ 3 :
  • 30. ข้อผูกมัด : สัญญาใจ ท่านจะมุ่งมั่นทำอะไร เพื่อให้แผนปฏิบัติการของกลุ่ม สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้จริง ขั้นตอนที่ 4 :
  • 31. ภารกิจที่ 3 ภารกิจที่ 2 ภารกิจที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ กำหนดภารกิจหลัก ขั้นตอนที่ 5 :
  • 32. ปฏิทินกิจกรรมและงานที่มอบหมาย เดือนที่ 1 เดือนที่ 2 เดือนที่ 3 เดือนที่ 4 ขั้นตอนที่ 6 : ภารกิจสำคัญ หรือพันธกิจ ช่วงเวลา / กำหนดเวลา 1 2 3 4 วิธีการรวบรวมข้อมูลตอบตัวชี้วัด ตัวชี้ วัดความสำเร็จ งบ ประ มาณ รับผิดชอบ คณะผู้
  • 33. 1. ท่านมีความเห็นอย่างไรเกี่ยวกับแผนปฏิบัติการ ที่เราได้สร้างขึ้น 2. ท่านรู้สึกอย่างไรเกี่ยวกับกิจกรรมที่ต้องทำเหล่านี้ 3. ขั้นตอนต่อไปของเราคืออะไร 4. เราจะดำเนินขั้นตอนเหล่านั้นได้อย่างไร ทำการสนทนาแบบมีส่วนร่วม การไตร่ตรอง ขั้นตอนที่ 7 :
  • 34. วิ ธีการถกปัญหา ( ไตร่ตรอง ) ความรู้สึก! eflective Level ( ระดับไตร่ตรอง ) สำรวจปฏิกิริยาต่อข้อมูลในเบื้องต้น ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าหัวใจ : อารมณ์ ความจำ การเกี่ยวโยง R Bjective Level ( ระดับวัตถุประสงค์ ) ให้ข้อเท็จจริงและข้อมูล ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าประสาทการรับรู้ --- มองเห็น ได้ยิน รู้สึก ลิ้มรส สัมผัส O อะไรนะ ?
  • 35. วิ ธีการถกปัญหา ( ไตร่ตรอง ) ecisional Level ( ระดับตัดสินใจ ) “ เราจะดำเนินการในหมู่พวกเราอย่างไรเพื่อการแก้ไขแผน ?” “ เราจะทำร่างแรกของแผนที่แก้ไขใหม่ของเราเพื่อส่งมอบให้สภาและพิจารณา ได้เมื่อไหร่” D แล้วจะเอายังไง? nterpretative Level ( ระดับการตีความ ) สำรวจปฏิกิริยาต่อข้อมูลในเบื้องต้น ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าความรู้สึกนึกคิด : ความหมาย ค่านิยม และนัยสำคัญ I แล้วไงล่ะ?
  • 36. เทคโนโลยี การมีส่วนร่วมแบบพหุภาคี (Technology Of Participation : TOP) ผศ . ดร . วิรัติ ปานศิลา และคณะ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • 37.
  • 38. 1. วิ ธีการถกปัญหา ( ORID Method ) ความรู้สึก! ecisional Level ( ระดับตัดสินใจ ) “ เราจะดำเนินการในหมู่พวกเราอย่างไรเพื่อการแก้ไขแผน ?” “ เราจะทำร่างแรกของแผนที่แก้ไขใหม่ของเราเพื่อส่งมอบให้สภา และพิจารณา ได้เมื่อไหร่” D แล้วจะเอายังไง? nterpretative Level ( ระดับการตีความ ) สำรวจปฏิกิริยาต่อข้อมูลในเบื้องต้น ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าความรู้สึกนึกคิด : ความหมาย ค่านิยม และนัยสำคัญ I แล้วไงล่ะ? eflective Level ( ระดับไตร่ตรอง ) สำรวจปฏิกิริยาต่อข้อมูลในเบื้องต้น ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าหัวใจ : อารมณ์ ความจำ การเกี่ยวโยง R Bjective Level ( ระดับวัตถุประสงค์ ) ให้ข้อเท็จจริงและข้อมูล ตั้งคำถามที่ปลุกเร้าประสาทการรับรู้ --- มองเห็น ได้ยิน รู้สึก ลิ้มรส สัมผัส O อะไรนะ ?
  • 39.
  • 40. Action Planning Method เจ็ดขั้นตอนสำคัญ 1. สถานการณ์ ( บริบท ) 2. หัวใจแห่งชัยชนะ ( จินตนาการ ) 3. สิ่งที่เกิดขึ้นจริง 4. พันธกิจ ( สัญญาใจ ) 5. ปฏิบัติการสำคัญ ( ภารกิจหลัก ) 6. ปฏิทินกิจกรรมและความรับผิดชอบ 7. การไตร่ตรอง 3. วิธีการวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
  • 41. รู ปแบบภาวะผู้นำที่เหมาะสม จะไปถึงได้อย่างไร ( วิธีการ ) ความเก่ง ของแต่ละคน จะทำอะไร มติที่ถูกต้อง มติร่วมกัน ของทุกคน ความเก่งของกลุ่ม มุมมองหลากหลาย ยึดถือ พึ่งพา แสวงหา รู้ว่า การใช้อำนาจ แบบดั้งเดิม แบบเอื้ออำนวย
  • 42. ค่ านิยมพื้นฐาน ของผู้นำแบบเอื้ออำนวย การมีส่วนร่วม การทำงานเป็นทีม การนำไปปฏิบัติ การไตร่ตรอง การสร้างสรรค์ การเห็นพ้องร่วมกัน
  • 43. ข อขอบคุณ คณะวิทยากร คณะเจ้าหน้าที่ กรมสุขภาพจิต และผู้เข้ารับการอบรม ทุกท่าน