SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 8
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1


                                            พื้นที่ผิวและปริมาตร

วัตถุประสงค
          1.   นักเรียนสามารถคํานวณหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตได
          2.   นักเรียนสามารถบอกสวนประกอบของรูปทรงเรขาคณิตชนิดตาง ๆ ได
          3.   นักเรียนสามารถคํานวณหาปริมาตรของทรงเรขาคณิตได
          4.   นักเรียนสามารถคํานวณหาพื้นที่ผิวของทรงเรขาคณิตได
ความพรอม
         นักเรียนจะเรียนรูเรื่องพื้นที่ผิว ปริมาตร พืนที่ผิวโคง ควรมีความรู ความเขาใจพืนฐานตอไปนี้
                                                      ้                                    ้
         1. การหาพื้นที่ คิดเพียง 2 มิติ มีหนวยการวัดเปนตารางหนวย
         2. การหาปริมาตร คิด 3 มิติ มีหนวยการวัดเปนลูกบาศกหนวย
         3. สมบัติ เกี่ยวกับมุม ดาน และเสนทแยงมุม ของรูปสี่เหลี่ยมและรูปสามเหลี่ยม
         4. สูตรการหาพืนที่รูปเหลี่ยมตาง ๆ
                          ้
             4.1 สามเหลี่ยมใด ๆ                = 1 × ฐาน × สูง
                                                   2
                                                  = s(s − a )(s − b )( s − c) เมื่อ a,b,c เปนความยาวของดานทั้งสาม
                                                  และ S = a + b + c
                                                              2
               4.2 สามเหลี่ยมมุมฉาก               =       1
                                                          2
                                                            ×    ผลคูณของดานประกอบมุมฉาก
               4.3 สามเหลี่ยมดานเทา             =        4
                                                            3
                                                              ×       (ดาน)2
                                                                   2
               4.4 สามเหลี่ยมฐานโคง              =        D
                                                          360
                                                              × πr          (เมื่อ D คือมุมยอด)
               4.5    สี่เหลี่ยมจัตุรัส           = (ดาน) 2 หรือ (เสนทแยงมุม) 2
               4.6    สี่เหลี่ยมผืนผา            = กวาง × ยาว 2
               4.7    สี่เหลี่ยมดานขนาน          = ฐาน × สูง
               4.8    สี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน       = 1 × ผลคูณของเสนทแยงมุม หรือ ฐาน × สูง
                                                     2
               4.9 สี่เหลี่ยมคางหมู               =       1
                                                          2
                                                            ×    สูง × ผลบวกดานคูขนาน หรือ
               4.10 สี่เหลี่ยมดานไมเทา         =       1
                                                          2
                                                            ×    เสนทแยงมุม × ผลบวกของเสนกิ่ง
               4.11 สี่เหลี่ยมรูปวาว             =       1
                                                          2
                                                            ×    ผลคูณของเสนทแยงมุม
               4.12   เสนรอบวงของวงกลม           = 2 πr หรือ πD (เมื่อ D คือเสนผานศูนยกลาง)
               4.13   พื้นที่วงกลม                = πr 2
               4.14   พื้นที่ผิวทรงกลม            = 4 πr 2
               4.15   พื้นที่ผิวกรวยกลม           = πrl (l = สูงเอียง)
                                              C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
2


   4.16 ปริมาตรของทรงกลม                 =        4 3
                                                  3
                                                    πr

   4.17   ปริมาตรทรง มุมฉาก              = พื้นที่ฐาน × สูง หรือ กวาง × ยาว × สูง
   4.18   ปริมาตรทรงกระบอก               = พื้นที่ฐาน × สูงตรง
   4.19   พื้นที่ผิวขางทรงกระบอก        = 2 πrh หรือ เสนรอบวงที่ฐาน × สูง
   4.20   ปริมาตรของพีระมิด              = 1 × พื้นที่ฐาน × สูงตรง
                                           3
   4.21 ปริมาตรของกรวยกลม                =       1
                                                 3
                                                   ×    พื้นที่ฐาน × สูง

5. ความรูเกี่ยวกับทฤษฎีทั่ว ๆ ไป ∆
   5.1 การเทากันทุกประการของ
       1.1 ด.ด.ด.
       1.2 ด.ม.ด.
       1.3 ด.ฉ.ด.
       1.4 ม.ด.ม.



   5.2 ทฤษฎีปทาโกรัส
       a และ b เปนดานประกอบมุมฉาก และ c เปนดานตรงขามมุมฉาก จะได c2 = a2 + b2

   5.3 การเทากันของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม
       ทฤษฎีบท : สามเหลี่ยมสองรูปถามีฐานยาวเทากันหรือยูบนฐานเดียวกันและมีสวนสูง
                                                                             
       เทากัน สามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะมีพื้นที่เทากัน
                                                                         A




                                                                         B                                                                     C
                                                                                                        D

                                                                                            จากรูป
                                                                                            พื้นที่รูป ∆ ABD เทากับ
                                                                                            พื้นที่รูป ∆ADC




                              C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
3


              ปริซึม (Prism) คือทรงสามมิติที่มีหนาตัดหัวทายเปนรูปเหลี่ยมตาง ๆ เหมือนกันทั้งหัวและทาย
โดยมีพื้นทีเ่ ทากัน รูปแบบเดียวกันและขนานกัน ดานขางของปริซึมขนานกันและเปนความยาวของปริซึม
โดยพื้นทีดานขางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทุกรูป
         ่
              ปริซึมมีหลายลักษณะขึ้นอยูกับหนาตัดของรูปนั้น ๆ เชน หนาตัดเปนรูปสามเหลี่ยม เรียกปริซึม
                                        
สามเหลี่ยม หนาตัดเปนรูปหาเหลี่ยม เรียกปริซึมหาเหลียม เปนตน
                                                         ่




 ปริซึมทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก     ปริซึมหนาตัดสามเหลี่ยม                                      ปริซึมหนาตัดหาเหลี่ยม




           พื้นที่ผิวทั้งหมดของปริซึม     =          พื้นที่ผิวขาง + พื้นที่หนาตัดหัวทาย
           พื้นที่ผิวขางของปริซึม        =          ความยาวเสนรอบฐาน × ความสูง
           ปริมาตรของปริซึม               =          พื้นที่ฐาน × สูง



             พีระมิด (Pyramid) คือทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปเหลียมใด ๆ มียอดแหลมซึ่งไมอยูบนระนาบ
                                                               ่                         
เดียวกับฐาน และหนาทุกหนาเปนรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดรวมกันทียอดแหลมนัน
                                                                 ่         ้
             นิยมเรียกชื่อของพีระมิดตามลักษณะของฐาน เชน พีระมิดฐานสามเหลี่ยม พีระมิดฐาน
สี่เหลี่ยมผืนผา พีระมิดฐานหกเหลี่ยมดานเทา เปนตน

                                  ยอด                                                                                       ยอด
                                 สัน                                          สัน
            สัน
                                                                                                                                   สวนสูง
                                      สูงเอียง
                                                                       สัน
     สวนสูง                                                                                                                               สัน
                                สัน                                    ฐาน
          ฐาน         พีระมิดฐานรูปสามเหลี่ยม                                            พีระมิดฐานรูปหกเหลี่ยม

                                              C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
4


            พีระมิดแบงออกเปน 2 ลักษณะคือ พีระมิดตรงและพีระมิดเอียง
            พีระมิดตรง หมายถึงพีระมิดที่มีฐานเปนรูปเหลี่ยมดานเทามุมเทา มีสันยาวเทากันทุกเสน
จะมีสูงเอียงทุกเสนยาวเทากัน และสวนสูงตั้งฉากกับฐานที่จุดซึ่งอยูหางจากจุดยอดมุมของรูปเหลี่ยม
                                                                   
ที่เปนฐานเปนระยะเทากันมีหนาทุกหนาเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจัว สวนกรณีที่สนทุกสันยาวไมเทากัน
                                                               ่             ั
สูงเอียงทุกเสนยาวไมเทากัน เรียกวา พีระมิดเอียง
                                 ยอด
                                                                                                                                                ยอด
        สัน
                                                                              สัน
                                     สวนสูง
 หนา                                                                   หนา
                                         สูงเอียง                                                                                              สวนสูง
  ฐาน                                                                                                                                     สูงเอียง
                                                                         ฐาน
                 พีระมิดตรง                                                                           พีระมิดเอียง

          พื้นที่ผิวของพีระมิด (Surface area of pyramid)
          พื้นที่ของหนาทุกหนาของพีระมิดรวมกันเรียกวา พื้นที่ผวขางของพีระมิด และพืนทีผิวขาง
                                                                ิ                    ้ ่
ของพีระมิดรวมกับพื้นที่ฐานของพีระมิดเรียกวา พื้นที่ผิวของพีระมิด



                 สูตรการหาพืนที่ผิวของพีระมิด
                                ้
                 พื้นที่ผิวขาง 1 ดาน   =                 1
                                                           2
                                                                 × ฐาน × สูงเอียง
                 พื้นที่ผิวทั้งหมด             =          พื้นที่ฐาน + พืนที่ผวขางทุกดาน
                                                                         ้ ิ

              ในกรณีที่เปนพีระมิดตรงและมีฐานเปนรูปเหลี่ยมดานเทาทุกเทา

                 พื้นที่ผิวขางทุกดาน         =           1
                                                           2
                                                                 × ความยาวเสนรอบฐาน × สูงเอียง

                 ปริมาตรของพีระมิด             =           1
                                                           3
                                                                 × พื้นที่ฐาน × สูง




                                                   C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
5


          ทรงกระบอก
          ทรงกระบอก (Cylinder) คือ ทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปวงกลมที่เทากันทุกประการ และอยูใน
ระนาบที่ขนานกัน เมื่อตัดทรงสามมิตินี้ดวยระนาบทีขนานกับฐานแลว จะไดรอยตัดเปนวงกลมที่เทากัน
                                                ่
ทุกประการกับฐานเสมอ

                                           หนาตัดหรือฐาน
                                               แกน
                                               สวนสูง
                                           หนาตัดหรือฐาน
                                                  รัศมี

        พื้นที่ผิวของทรงกระบอก (Surface area of cylinder)
        พื้นที่ผิวของทรงกระบอก ประกอบดวยพืนที่ผิวขางของทรงกระบอก และพื้นทีฐานทั้งสองของ
                                            ้                               ่
ทรงกระบอก
                               พื้นที่ฐาน     πr 2            2 πr 2

                 h                                                                                                                       h
                                           คลี่ออก                                         พื้นที่ผิวขาง

                                 พื้นที่ฐาน                πr 2


          พื้นที่ผิวของทรงกระบอก = พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก + พื้นที่ฐานของทรงกระบอก
          ถาทรงกระบอกมีสวนสูงยาว h หนวย
          ฐานมีรัศมียาว r หนวย จะได
          พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก = 2πrh
          พื้นที่ฐานทั้งสองของทรงกระบอก = 2 πr 2

          ดังนั้น พื้นที่ผิวของทรงกระบอก =                2πrh + 2πr 2                ตารางหนวย
                                      หรือ =              2πr (h + r )                ตารางหนวย

             r แทนรัศมีของฐานของทรงกระบอก
             h แทนความสูงของทรงกระบอก


                                       C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
6



          ปริมาตรทรงกระบอก
             ปริมาตรทรงกระบอก         =          พื้นที่ฐาน × สูง
             ปริมาตรทรงกระบอก         =           πr 2 h




           กรวย (Cone)
           กรวย (Cone) คือทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปวงกลม มียอดแหลมที่ไมอยูบนระนาบเดียวกับฐาน
และเสนที่ตอระหวางจุดยอดและจุดใด ๆ บนขอบของฐานเปนสวนของเสนตรงที่ยาวเทากัน เรียก สูงเอียง
และกรวยที่มสูงเอียงยาวเทากันเรียกวา กรวยตรง
             ี


                                                ยอด
                                              สูงเอียง
                                              สวนสูง
                                               แกน
                                                ฐาน
                                               รัศมี
                กรวยตรง                                                                      กรวยเอียง


          พื้นที่ผิวของกรวย (Surface area of cone)
          พื้นที่ผิวของกรวย เปนพื้นทีของรูปสามเหลี่ยมฐานโคง ประกอบดวยพื้นที่ผิวขางกับพื้นที่ฐาน
                                      ่
ของกรวย
              พื้นที่ผิวของกรวย     = พื้นที่ผิวขางของกรวย + พืนที่ฐานของกรวย
                                                                ้
          ถากรวยมีสวนสูงเอียง l หนวย และรัศมีที่ฐานของกรวยยาว r หนวย
จะได         พื้นที่ผิวขางของกรวย =     πrl        ตารางหนวย
              พื้นที่ฐานของกรวย     = πr 2           ตารางหนวย

          ดังนั้น พื้นที่ผิวของกรวย = πrl + πr 2 ตารางหนวย
          เมื่อ r แทนรัศมีของฐานกรวย และ l แทนความสูงเอียงของกรวย




                                          C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
7


          ปริมาตรของกรวย (Volume of cone)
          ปริมาตรของกรวย = 1 ของปริมาตรของทรงกระบอกซึ่งมีพื้นที่ฐานและความสูงเทากับกรวย
                           3


              ปริมาตรของกรวย             =           1 2
                                                     3
                                                       πr h                 ลูกบาศกหนวย
          เมื่อ r แทนรัศมีของฐานกรวย และ h แทนความสูงของกรวย



          ทรงกลม (Sphere)
          ทรงกลม (Sphere) คือทรงสามมิติที่มีผิวเรียบโคงและจุดทุกจุดบนผิวโคงอยูหางจากจุดคงที่จุดหนึง
                                                                                                      ่
เปนระยะเทากัน จุดคงที่นนเรียกวา จุดศูนยกลางของทรงกลม และระยะที่เทากันนั้นเรียกวา รัศมีของทรงกลม
                         ั้



                                                                                                วงกลมใหญ
                                ผิวโคงเรียบ
                                                                                             เสนผานศูนยกลางวงกลมใหญ


                                                                                                    จุดศูนยกลาง
                                                                                     รัศมี



          พื้นที่ผิวของทรงกลม (Surface area sphere)
          พื้นที่ผิวของทรงกลม เปนสี่เทาของพื้นที่รูปวงกลม ซึ่งมีรัศมีเทากับรัศมีของทรงกลมนั้น



              ดังนั้น พืนที่ผิวของทรงกลม =
                        ้                                       4πr 2        ตารางหนวย
              เมื่อ r แทนรัศมีของทรงกลม




                                             C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
8


           ปริมาตรของทรงกลม (Volume of sphere)

             ปริมาตรของทรงกลม          =            4 3
                                                    3
                                                      πr         ลูกบาศกหนวย
             เมื่อ r แทนรัศมีของทรงกลม



วิธีการนําเสนอ

ตัวอยาง     ถังน้ําสี่เหลี่ยมมุมฉากกวาง 3 เมตร ยาว 7 เมตร มีน้ําบรรจุอยู 105 ลูกบาศกเมตร
             ระดับน้ําจะสูงกี่เมตร
             แนวคิด            ปริมาตร         = กวาง × ยาว × สูง
                                                      ปริมาตร
                               สูง             =
                                                    กวาง × ยาว
                                                               105
                            ระดับน้ําสูง          =            3×7
                                        =                    5 เมตร
                               ตอบ 5 เมตร




                                           C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
Beer Aksornsart
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
Duangnapa Jangmoraka
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
krurutsamee
 
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
kanjana2536
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
kruminsana
 

Was ist angesagt? (20)

กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึมตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 

Ähnlich wie พื้นที่ผิวและปริมาตร

ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
khanida
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตร
krookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32
krookay2012
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
Jiraprapa Suwannajak
 
Original sv [compatibility mode]
Original sv  [compatibility mode]Original sv  [compatibility mode]
Original sv [compatibility mode]
Laongphan Phan
 
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรเอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
krookay2012
 
volume and surface
volume and surfacevolume and surface
volume and surface
amnesiacbend
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
krurain
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
krurain
 

Ähnlich wie พื้นที่ผิวและปริมาตร (20)

ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตร
 
สรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูป
สรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูปสรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูป
สรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูป
 
คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Matha15
Matha15Matha15
Matha15
 
Original sv [compatibility mode]
Original sv  [compatibility mode]Original sv  [compatibility mode]
Original sv [compatibility mode]
 
New open document text
New open document textNew open document text
New open document text
 
ใบงาน พื้นที่ผิว ปริมาตร
ใบงาน พื้นที่ผิว  ปริมาตรใบงาน พื้นที่ผิว  ปริมาตร
ใบงาน พื้นที่ผิว ปริมาตร
 
New open document text
New open document textNew open document text
New open document text
 
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรเอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
 
แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3 แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3
 
volume and surface
volume and surfacevolume and surface
volume and surface
 
try
trytry
try
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตรรวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
 
Math3tpc3
Math3tpc3Math3tpc3
Math3tpc3
 
Math3tpc3
Math3tpc3Math3tpc3
Math3tpc3
 

พื้นที่ผิวและปริมาตร

  • 1. 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร วัตถุประสงค 1. นักเรียนสามารถคํานวณหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตได 2. นักเรียนสามารถบอกสวนประกอบของรูปทรงเรขาคณิตชนิดตาง ๆ ได 3. นักเรียนสามารถคํานวณหาปริมาตรของทรงเรขาคณิตได 4. นักเรียนสามารถคํานวณหาพื้นที่ผิวของทรงเรขาคณิตได ความพรอม นักเรียนจะเรียนรูเรื่องพื้นที่ผิว ปริมาตร พืนที่ผิวโคง ควรมีความรู ความเขาใจพืนฐานตอไปนี้ ้ ้ 1. การหาพื้นที่ คิดเพียง 2 มิติ มีหนวยการวัดเปนตารางหนวย 2. การหาปริมาตร คิด 3 มิติ มีหนวยการวัดเปนลูกบาศกหนวย 3. สมบัติ เกี่ยวกับมุม ดาน และเสนทแยงมุม ของรูปสี่เหลี่ยมและรูปสามเหลี่ยม 4. สูตรการหาพืนที่รูปเหลี่ยมตาง ๆ ้ 4.1 สามเหลี่ยมใด ๆ = 1 × ฐาน × สูง 2 = s(s − a )(s − b )( s − c) เมื่อ a,b,c เปนความยาวของดานทั้งสาม และ S = a + b + c 2 4.2 สามเหลี่ยมมุมฉาก = 1 2 × ผลคูณของดานประกอบมุมฉาก 4.3 สามเหลี่ยมดานเทา = 4 3 × (ดาน)2 2 4.4 สามเหลี่ยมฐานโคง = D 360 × πr (เมื่อ D คือมุมยอด) 4.5 สี่เหลี่ยมจัตุรัส = (ดาน) 2 หรือ (เสนทแยงมุม) 2 4.6 สี่เหลี่ยมผืนผา = กวาง × ยาว 2 4.7 สี่เหลี่ยมดานขนาน = ฐาน × สูง 4.8 สี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน = 1 × ผลคูณของเสนทแยงมุม หรือ ฐาน × สูง 2 4.9 สี่เหลี่ยมคางหมู = 1 2 × สูง × ผลบวกดานคูขนาน หรือ 4.10 สี่เหลี่ยมดานไมเทา = 1 2 × เสนทแยงมุม × ผลบวกของเสนกิ่ง 4.11 สี่เหลี่ยมรูปวาว = 1 2 × ผลคูณของเสนทแยงมุม 4.12 เสนรอบวงของวงกลม = 2 πr หรือ πD (เมื่อ D คือเสนผานศูนยกลาง) 4.13 พื้นที่วงกลม = πr 2 4.14 พื้นที่ผิวทรงกลม = 4 πr 2 4.15 พื้นที่ผิวกรวยกลม = πrl (l = สูงเอียง) C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
  • 2. 2 4.16 ปริมาตรของทรงกลม = 4 3 3 πr 4.17 ปริมาตรทรง มุมฉาก = พื้นที่ฐาน × สูง หรือ กวาง × ยาว × สูง 4.18 ปริมาตรทรงกระบอก = พื้นที่ฐาน × สูงตรง 4.19 พื้นที่ผิวขางทรงกระบอก = 2 πrh หรือ เสนรอบวงที่ฐาน × สูง 4.20 ปริมาตรของพีระมิด = 1 × พื้นที่ฐาน × สูงตรง 3 4.21 ปริมาตรของกรวยกลม = 1 3 × พื้นที่ฐาน × สูง 5. ความรูเกี่ยวกับทฤษฎีทั่ว ๆ ไป ∆ 5.1 การเทากันทุกประการของ 1.1 ด.ด.ด. 1.2 ด.ม.ด. 1.3 ด.ฉ.ด. 1.4 ม.ด.ม. 5.2 ทฤษฎีปทาโกรัส a และ b เปนดานประกอบมุมฉาก และ c เปนดานตรงขามมุมฉาก จะได c2 = a2 + b2 5.3 การเทากันของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ทฤษฎีบท : สามเหลี่ยมสองรูปถามีฐานยาวเทากันหรือยูบนฐานเดียวกันและมีสวนสูง  เทากัน สามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะมีพื้นที่เทากัน A B C D จากรูป พื้นที่รูป ∆ ABD เทากับ พื้นที่รูป ∆ADC C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
  • 3. 3 ปริซึม (Prism) คือทรงสามมิติที่มีหนาตัดหัวทายเปนรูปเหลี่ยมตาง ๆ เหมือนกันทั้งหัวและทาย โดยมีพื้นทีเ่ ทากัน รูปแบบเดียวกันและขนานกัน ดานขางของปริซึมขนานกันและเปนความยาวของปริซึม โดยพื้นทีดานขางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาทุกรูป ่ ปริซึมมีหลายลักษณะขึ้นอยูกับหนาตัดของรูปนั้น ๆ เชน หนาตัดเปนรูปสามเหลี่ยม เรียกปริซึม  สามเหลี่ยม หนาตัดเปนรูปหาเหลี่ยม เรียกปริซึมหาเหลียม เปนตน ่ ปริซึมทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ปริซึมหนาตัดสามเหลี่ยม ปริซึมหนาตัดหาเหลี่ยม พื้นที่ผิวทั้งหมดของปริซึม = พื้นที่ผิวขาง + พื้นที่หนาตัดหัวทาย พื้นที่ผิวขางของปริซึม = ความยาวเสนรอบฐาน × ความสูง ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน × สูง พีระมิด (Pyramid) คือทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปเหลียมใด ๆ มียอดแหลมซึ่งไมอยูบนระนาบ ่  เดียวกับฐาน และหนาทุกหนาเปนรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดรวมกันทียอดแหลมนัน ่ ้ นิยมเรียกชื่อของพีระมิดตามลักษณะของฐาน เชน พีระมิดฐานสามเหลี่ยม พีระมิดฐาน สี่เหลี่ยมผืนผา พีระมิดฐานหกเหลี่ยมดานเทา เปนตน ยอด ยอด สัน สัน สัน สวนสูง สูงเอียง สัน สวนสูง สัน สัน ฐาน ฐาน พีระมิดฐานรูปสามเหลี่ยม พีระมิดฐานรูปหกเหลี่ยม C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
  • 4. 4 พีระมิดแบงออกเปน 2 ลักษณะคือ พีระมิดตรงและพีระมิดเอียง พีระมิดตรง หมายถึงพีระมิดที่มีฐานเปนรูปเหลี่ยมดานเทามุมเทา มีสันยาวเทากันทุกเสน จะมีสูงเอียงทุกเสนยาวเทากัน และสวนสูงตั้งฉากกับฐานที่จุดซึ่งอยูหางจากจุดยอดมุมของรูปเหลี่ยม   ที่เปนฐานเปนระยะเทากันมีหนาทุกหนาเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจัว สวนกรณีที่สนทุกสันยาวไมเทากัน ่ ั สูงเอียงทุกเสนยาวไมเทากัน เรียกวา พีระมิดเอียง ยอด ยอด สัน สัน สวนสูง หนา หนา สูงเอียง สวนสูง ฐาน สูงเอียง ฐาน พีระมิดตรง พีระมิดเอียง พื้นที่ผิวของพีระมิด (Surface area of pyramid) พื้นที่ของหนาทุกหนาของพีระมิดรวมกันเรียกวา พื้นที่ผวขางของพีระมิด และพืนทีผิวขาง ิ ้ ่ ของพีระมิดรวมกับพื้นที่ฐานของพีระมิดเรียกวา พื้นที่ผิวของพีระมิด สูตรการหาพืนที่ผิวของพีระมิด ้ พื้นที่ผิวขาง 1 ดาน = 1 2 × ฐาน × สูงเอียง พื้นที่ผิวทั้งหมด = พื้นที่ฐาน + พืนที่ผวขางทุกดาน ้ ิ ในกรณีที่เปนพีระมิดตรงและมีฐานเปนรูปเหลี่ยมดานเทาทุกเทา พื้นที่ผิวขางทุกดาน = 1 2 × ความยาวเสนรอบฐาน × สูงเอียง ปริมาตรของพีระมิด = 1 3 × พื้นที่ฐาน × สูง C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
  • 5. 5 ทรงกระบอก ทรงกระบอก (Cylinder) คือ ทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปวงกลมที่เทากันทุกประการ และอยูใน ระนาบที่ขนานกัน เมื่อตัดทรงสามมิตินี้ดวยระนาบทีขนานกับฐานแลว จะไดรอยตัดเปนวงกลมที่เทากัน ่ ทุกประการกับฐานเสมอ หนาตัดหรือฐาน แกน สวนสูง หนาตัดหรือฐาน รัศมี พื้นที่ผิวของทรงกระบอก (Surface area of cylinder) พื้นที่ผิวของทรงกระบอก ประกอบดวยพืนที่ผิวขางของทรงกระบอก และพื้นทีฐานทั้งสองของ ้ ่ ทรงกระบอก พื้นที่ฐาน πr 2 2 πr 2 h h คลี่ออก พื้นที่ผิวขาง พื้นที่ฐาน πr 2 พื้นที่ผิวของทรงกระบอก = พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก + พื้นที่ฐานของทรงกระบอก ถาทรงกระบอกมีสวนสูงยาว h หนวย ฐานมีรัศมียาว r หนวย จะได พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก = 2πrh พื้นที่ฐานทั้งสองของทรงกระบอก = 2 πr 2 ดังนั้น พื้นที่ผิวของทรงกระบอก = 2πrh + 2πr 2 ตารางหนวย หรือ = 2πr (h + r ) ตารางหนวย r แทนรัศมีของฐานของทรงกระบอก h แทนความสูงของทรงกระบอก C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
  • 6. 6 ปริมาตรทรงกระบอก ปริมาตรทรงกระบอก = พื้นที่ฐาน × สูง ปริมาตรทรงกระบอก = πr 2 h กรวย (Cone) กรวย (Cone) คือทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปวงกลม มียอดแหลมที่ไมอยูบนระนาบเดียวกับฐาน และเสนที่ตอระหวางจุดยอดและจุดใด ๆ บนขอบของฐานเปนสวนของเสนตรงที่ยาวเทากัน เรียก สูงเอียง และกรวยที่มสูงเอียงยาวเทากันเรียกวา กรวยตรง ี ยอด สูงเอียง สวนสูง แกน ฐาน รัศมี กรวยตรง กรวยเอียง พื้นที่ผิวของกรวย (Surface area of cone) พื้นที่ผิวของกรวย เปนพื้นทีของรูปสามเหลี่ยมฐานโคง ประกอบดวยพื้นที่ผิวขางกับพื้นที่ฐาน ่ ของกรวย พื้นที่ผิวของกรวย = พื้นที่ผิวขางของกรวย + พืนที่ฐานของกรวย ้ ถากรวยมีสวนสูงเอียง l หนวย และรัศมีที่ฐานของกรวยยาว r หนวย จะได พื้นที่ผิวขางของกรวย = πrl ตารางหนวย พื้นที่ฐานของกรวย = πr 2 ตารางหนวย ดังนั้น พื้นที่ผิวของกรวย = πrl + πr 2 ตารางหนวย เมื่อ r แทนรัศมีของฐานกรวย และ l แทนความสูงเอียงของกรวย C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
  • 7. 7 ปริมาตรของกรวย (Volume of cone) ปริมาตรของกรวย = 1 ของปริมาตรของทรงกระบอกซึ่งมีพื้นที่ฐานและความสูงเทากับกรวย 3 ปริมาตรของกรวย = 1 2 3 πr h ลูกบาศกหนวย เมื่อ r แทนรัศมีของฐานกรวย และ h แทนความสูงของกรวย ทรงกลม (Sphere) ทรงกลม (Sphere) คือทรงสามมิติที่มีผิวเรียบโคงและจุดทุกจุดบนผิวโคงอยูหางจากจุดคงที่จุดหนึง ่ เปนระยะเทากัน จุดคงที่นนเรียกวา จุดศูนยกลางของทรงกลม และระยะที่เทากันนั้นเรียกวา รัศมีของทรงกลม ั้ วงกลมใหญ ผิวโคงเรียบ เสนผานศูนยกลางวงกลมใหญ จุดศูนยกลาง รัศมี พื้นที่ผิวของทรงกลม (Surface area sphere) พื้นที่ผิวของทรงกลม เปนสี่เทาของพื้นที่รูปวงกลม ซึ่งมีรัศมีเทากับรัศมีของทรงกลมนั้น ดังนั้น พืนที่ผิวของทรงกลม = ้ 4πr 2 ตารางหนวย เมื่อ r แทนรัศมีของทรงกลม C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47
  • 8. 8 ปริมาตรของทรงกลม (Volume of sphere) ปริมาตรของทรงกลม = 4 3 3 πr ลูกบาศกหนวย เมื่อ r แทนรัศมีของทรงกลม วิธีการนําเสนอ ตัวอยาง ถังน้ําสี่เหลี่ยมมุมฉากกวาง 3 เมตร ยาว 7 เมตร มีน้ําบรรจุอยู 105 ลูกบาศกเมตร ระดับน้ําจะสูงกี่เมตร แนวคิด ปริมาตร = กวาง × ยาว × สูง ปริมาตร สูง = กวาง × ยาว 105 ระดับน้ําสูง = 3×7 = 5 เมตร ตอบ 5 เมตร C:คูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคูมือการเรียนรูคณิตศาสตรคณิตไมมีรั้วกลุมที่ 2 พื้นที่ผิวกรอบแนวคิด (23ก.ย.47).doc23กย.47