SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 34
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การจัดการความรูด้านการวิจัยเพือพัฒนาท้องถิ่น
               ้              ่
  Knowledge Management of Community Based Research

                     สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

   โครงการอบรม “การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น” วันที่ 9 มกราคม 2556
         ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
การจัดการความรู้คืออะไร?
       O เป็นเครื่องมือเพื่อการบรรลุเป้าหมาย             งาน
                                                         คน
                                                         องค์กร
                                                       ชุมชน/ หมู่คณะ



ที่มา: การจัดการความรู้ฉบับนักปฏิบัต,ิ วิจารณ์ พานิช
การจัดการความรู้
                    Knowledge Management
O เครื่องมือของนักปฏิบติเพื่อการบรรลุเป้าหมาย พัฒนางาน พัฒนาคน พัฒนาองค์กรให้เป็น
                      ั
  องค์กรแห่งการเรียนรู้ และเกิดความเอื้ออาทรระหว่างกันในการทางาน
O เป็นการดาเนินการเกี่ยวกับการกาหนดความรู้หลักที่จาเป็นหรือสาคัญต่องาน การเสาะหา
  ความรู้ที่ต้องการ การปรับปรุง หรือสร้างความรู้บางส่วนให้เหมาะกับงานของตน การ
  ประยุกต์ใช้ความรู้ในงานของตน การนาประสบการณ์จากการทางานและการประยุกต์ใช้
  ความรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสกัด ”ขุมความรู้” การจดบันทึก “ขุมความรู้” และ “แก่น
  ความรู” สาหรับไว้ใช้งาน ปรับปรุงเป็นชุดความรู้ที่ครบถ้วน ลุ่มลึกและเชื่อมโยง เหมาะต่อ
         ้
  การใช้งานมากขึ้น
O แหล่งความรู้มี 2 แหล่งใหญ่ๆ คือ
            1) ความรู้ที่มีอยู่ในตัวคน (Tacit knowledge)
            2) ความรู้ชัดแจ้งที่ถูกบันทึกไว้เป็นตารา ทฤษฎี ต่างๆ (Explicit knowledge)
การวิจัย Research
O การแสวงหาความรู้โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการหา
  คาตอบ (Research as a method) เป็นองค์ความรู้ที่เรา
  สามารถทดสอบได้ ตรวจสอบได้ และหาที่ผิดได้ (Research
  as a body of knowledge)
O ผลของการวิจัย ได้องค์ความรู้ใหม่ต่อยอดจากองค์ความรู้ที่มี
  อยู่เดิม องค์ความรู้ถูกสั่งสมต่อยอดขึ้นไปเรื่อยๆ
ประเด็นปัญหาการวิจัย

            Concept            Phenomena


Ideology                                   Curiosity
                      Problematic
                        variable
การวิจัย VS การจัดการความรู้
   การจัดการ                      งานวิจัย                                    ความรู้
 กิจกรรม          นักวิจัย                                   นักปฏิบัติงาน
 วิธีการ          สร้างความรู้ และเผยแพร่ไปยังผู้ใช้         ใช้และสร้างความรู้พร้อมๆ กัน
 ความรู้          ความรู้ชดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็น
                           ั                                 ความรู้ฝงลึก (Tacit Knowledge) เป็น
                                                                      ั
                  ความรู้ที่แยกส่วนชัดเจน และพิสูจน์ได้ใน    ความรู้บรณาการที่ไม่ค่อยชัดเจน แต่พิสูจน์
                                                                        ู
                  เชิงทฤษฎี                                  ได้จากการใช้ประโยชน์/ปฏิบติ ั
 ทักษะ            วิเคราห์ข้อมูล                             สังเคราะห์ข้อมูล
 ผลลัพธ์          เอกสารรายงานวิจัย                          การจดบันทึกเพื่อการใช้งานต่อของผู้ปฏิบติ
                                                                                                    ั
                                                             หรือเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้


ที่มา: ปรับปรุงจากประชาคมวิจย ปีที่ 12 ฉบับที่ 71, วิจารณ์ พานิช
                            ั
การจัดการความรู้ในงานวิจัย

O มีมานานแล้ว
O ในงานวิจัยที่มีที่ปรึกษางานวิจย ซึ่งทาหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง
                                ั
  (Mentor) ผู้ให้คาปรึกษา (Consult) ผู้ฝึกสอน (Coaching)
  การทาหน้าที่ตาม
O การใช้เครื่องมือการจัดการความรู้ (KM - tools) เพื่อ
  ถ่ายทอดประสบการณ์ (Socialization) ตามหลัก SECI Model
SECI Model




Source: Nonaka and Takeuchi, 1994
งานวิจัยสถาบัน (Institutional Research)
O การศึกษาตนเองเกี่ยวกับปัญหาทางการบริหารหรือเพื่อการประเมินผลโครงการที่สถาบันได้ดาเนินการ หรือเพื่อหาแนวทางที่จะทา
  ให้มูลค่าความพึงพอใจเพิ่มขึ้น
O ข้อค้นพบจากงานวิจัยจะเป็นสารสนเทศ หรือความรู้ให้ผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจ แก้ไขและพัฒนาสถาบันให้ดารงอยู่ ทาหน้าที่ให้
  บรรลุวตถุประสงค์ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
         ั
O มีกระบวนการดังนี้
      O   ร่วมเลือกเรื่องหรือปัญหาที่จะทาการวิจัย
      O   ร่วมพิจารณาหรือทบทวนเรืองหรือปัญหาที่จะทาการวิจัย
                                        ่
      O   ร่วมศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง
      O   ร่วมกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัย
      O   ร่วมกาหนดความสาคัญ หรือประโยชน์ของการวิจัย
      O   ร่วมกาหนดขอบเขตการวิจย      ั
      O   ร่วมตั้งสมมติฐานการวิจย (ตามประเภทการวิจัย)
                                   ั
      O   ร่วมออกแบบการวิจัย
      O   ร่วมเขียนโครงการวิจัย
      O   ร่วมสร้างเครื่องมือเพื่อจัดเก็บข้อมูล
      O   ร่วมจัดเก็บข้อมูล
การวิจัยในงาน (On the Job Research: OJR)
O ความรูที่มีอยูมากมายในการทางานทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นงานประจาหรือไม่ใช่งานประจา
        ้       ่
  เป็นความรู้ที่เรียนมาหรือไปฝึกอบรมมา (Explicit Knowledge: EK)
O เกิดแนวคิดใหม่ ทาในสิ่งที่คนอื่นให้ความสนใจน้อย (Niche market) หรือในตลาดที่มีการ
  แข่งขันน้อย (Blue ocean)
O ดึงเอาความรู้ความสามารถที่ส่งสมและตกผลึก ถูกจัดเก็บเอาไว้ (Tacit Knowledge: TK)
                                ั
  ออกมาใช้
O วิธีการ OJR ผู้ปฏิบติงานสามารถใช้เป็นเครื่องมือเพื่อสร้างความรู้จากงานที่ทาเพื่อเป็น
                      ั
  ฐานความรู้ที่ใช้พัฒนางานและเผยแพร่ให้เกิดการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ที่ทาให้เกิด
  กลุ่มผู้สนใจร่วมกับ (Community of Interest: CoI) ที่จะพัฒนาไปสู่การเป็นชุมชนนักปฏิบติั
  (Community of Practice: CoP) ที่มีธรรมชาติการเรียนรู้ตอดเวลาเพื่อสร้างนวัตกรรมมา
  ขับเคลื่อนองค์กรให้มีผลปฏิบติที่เป็นเลิศ (Learning Organization: LO)
                              ั
งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
O กระบวนการ ที่คนในชุมชนได้มาร่วมคิดทบทวนสถานการณ์ ตั้งคาถาม วางแผน
   หาข้อมูล ทดลองทา วิเคราะห์ สรุปคาตอบ และถอดบทเรียนเพื่อปรับปรุงงานต่อไป
O เป็นเครื่องมือที่เน้นการให้ “คน”   ในชุมชน เข้ามาร่วมในกระบวนการวิจย
                                                                     ั
   ตั้งแต่การเริ่มคิด การตั้งคาถาม การวางแผน และค้นหาคาตอบอย่างเป็นระบบ โดย
   มีการเรียนรู้จากการปฏิบติจริง (Action Research) ทาให้ชุมชนได้เรียนรู้ ได้ผลงาน
                              ั
   และเก่งขึ้นในการแก้ปัญหาของตนเอง ตลอดจนยกระดับการแก้ปัญหาให้มีความ
   น่าเชื่อถือสูง และสามารถ ใช้กระบวนการนี้ ในการแก้ไขปัญหาอื่นๆ
O มีกระบวนการศึกษาเรียนรูอย่างเป็นเหตุ
                         ้                     เป็นผล มากกว่า “ผลลัพธ์” ซึ่ง
   จะต้องอาศัย “เวที” เป็นเครื่องมือ เพื่อให้คนในชุมชนได้มีส่วนร่วมใช้ “ปัญญา” ใน
   กระบวนการวิจัย
ลักษณะสาคัญงานวิจัยเพือท้องถิ่น
                                ่
O เป็นเรื่องที่คนท้องถิ่นเห็นว่าสาคัญ
O ชุมชนมีส่วนร่วม ในกระบวนการค้นหาคาตอบร่วมกัน
O มีการดาเนินงานรวบรวมข้อมูล และทดลองปฏิบัติการ
O เป็นการวิจยปลายทาง เพื่อทดลองประยุกต์ใช้ความรู้ หรือเทคโนโลยี
            ั
  ในบริบทของท้องถิ่น
O อาจมีการสร้างทฤษฎีใหม่จากข้อมูลภายในประเทศ
O เป็นการวิจัยแบบองค์รวม (Holistic หรือ Integrated)
ระบบการวิจัยเพือท้องถิ่น
                          ่

O ระบบทรัพยากร
O หน่วยงานจัดการงานวิจยเพือท้องถิน
                      ั ่        ่
O นักบริหารวิจยเพือท้องถิน
              ั ่        ่
O สถาบันวิจยเพือท้องถิน
           ั ่        ่
O นักวิจัยเพือท้องถิน
             ่      ่
O นักวิจัยเชิงทฤษฎี
O ระบบข้อมูลเพือการวิจยท้องถิน
               ่      ั      ่
ผลทีคาดหวังของงานวิจัยเพือท้องถิ่น
           ่                    ่
1. ในระดับโครงการ
   1.1 ชุมชนสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง สามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยอาศัย การ
ตัดสินใจ ผ่านข้อมูล ความรู้ที่ได้จากการศึกษา
   1.2 เกิดความรู้ในท้องถิ่น และเป็นประโยชน์กับท้องถิ่นโดยตรง
   1.3 เกิดกระบวนการเรียนรู้ โดยคนท้องถิ่นเอง ทาให้คนท้องถิ่น “เก่ง” ขึ้น
   1.4 เกิดกลไกการจัดการ หรือองค์กรภายในชุมชน ที่จะดาเนินงานต่อไป
2. ในระดับเหนือโครงการ องค์ความรู้ทีได้จากโครงการวิจยเพื่อท้องถิ่นสามารถ
                                        ่                ั
นามาสังเคราะห์ เชื่อมโยงระหว่างงานวิจัย และพัฒนา เพื่อยกระดับองค์ความรู้ และ
สามารถผลักดันแนวคิด มาตรการ นโยบาย หรือระบบ และกลไก ภายในประเทศ ที่
จะเอื้อต่อการพัฒนา คุณภาพชีวิตของชุมชนท้องถิ่นมากขึ้น
รูปแบบการสนับสนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
การวิจยแบบเต็มรูปแบบ (PAR)
      ั
   “เป็นปัญหาของชาวบ้าน ชาวบ้านเป็นทีมวิจย และมีปฏิบติการเพือแก้ปญหา”
                                         ั          ั       ่    ั
     สร้างความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ชุมชนสั่งสมมา และจากบทเรียนการทางานของ
ท้องถิ่นในอดีต เพื่อนาความรู้ที่ได้ไปใช้ในการทดลอง แก้ปัญหาของตนเอง ทั้งระดับบุคคล
ครอบครัว กลุ่มคน ชุมชน ท้องถิ่น และระดับเครือข่าย ผ่านการวางแผน ดาเนินการ ติดตาม
ประเมิน สรุปผล และรับผิดชอบร่วมกันของชุมชน
    เน้นกระบวนการแก้ปัญหาสังคมในทุกประเด็น ศึกษากระบวนการเคลื่อนตัวของ
ชุมชนท้องถิ่น ในบริบทหนึ่งๆ ต่อการแก้ปญหาที่ชุมชนท้องถิ่นร่วมกันดาเนินการ
                                      ั
    เน้นการทดลองเปรียบเทียบ และทดสอบปัจจัย ต่างๆ ศึกษา ทดลอง ทดสอบหลายๆ
ทางเลือก เพื่อหาทางเลือกที่มีประสิทธิภาพ คุ้มค่าและคุ้มทุน ที่สุด โดยเน้นการพึ่งตนเองเป็น
หลัก
รูปแบบการสนับสนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
การวิจยทางเลือกใหม่เพือท้องถิน
      ั               ่      ่
     พัฒนามาจากแบบแรก เพื่อให้สอดคล้องกับศักยภาพ ของท้องถิ่น และกลุ่มคน
     การวิจยเบื้องต้น เป็นกระบวนการพัฒนาโจทย์วิจัย และการรวบรวมความรู้ รวมถึงการ
            ั
เตรียมชุมชน เตรียมทีมวิจัยชาวบ้าน เพื่อวางแผน และแก้ปัญหาในเบื้องต้น หรือพัฒนา ไปสู่งานวิจย
                                                                                          ั
เต็มรูปแบบต่อไป
    การวิจยทีเน้นการถอดความรู้และรวบรวมองค์ความรู้จากการทางานพัฒนาของ
           ั ่
ชุมชน เป็นเรื่องทีชุมชนอยากรู้ อยากรวบรวมความรูของตนเอง และชุมชนร่วมกัน ทางานวิจย โดย
                  ่                            ้                                ั
ไม่ได้มุ่ง แก้ปัญหาชุมชนมากนัก
    การวิจยเชิงความร่วมมือ เป็นการสนับสนุน การสร้างความรู้ ร่วมกับหน่วยงาน หรือภาคี
          ั
อื่นๆ เพื่อให้เกิดความร่วมมือ ในการทางานเพื่อชุมชนท้องถิ่น เป็นความร่วมมือ ทั้งในแง่การมี
เป้าหมายเพื่อท้องถิ่น ความร่วมมือของคนหรือทีมงาน การสนับสนุนปัจจัย และทุนดาเนินการร่วมกัน
งานวิจัยลักษณะนี้ จะมุ่งสร้างวิธีการทางาน ที่เป็นทางเลือกใหม่ ของภาคีภายนอก ร่วมกับคน
ท้องถิ่น ต่อการพัฒนา และแก้ปัญหาท้องถิ่น โดยมุ่งสร้างสิ่งต่อไปนี้
แหล่งทุนสนับสนุนการวิจัยเพือท้องถิ่น
                           ่

O ในองค์กร (มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่)
O สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจย (สกว.)
                              ั
O สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
O องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การวิจัยเบืองต้น
           ้
การวิจัยเบืองต้น
           ้
การวิจัยเบืองต้น
           ้
การวิจยเบืองต้น
      ั ้
การวิจยเบืองต้น
      ั ้
การวิจัยเบืองต้น
           ้
การวิจัยถอดและรวบรวมองค์ความรู้
การวิจัยถอดและรวบรวมองค์ความรู้
การวิจัยถอดและรวบรวมองค์ความรู้
การวิจัยถอดและรวบรวมองค์ความรู้
การวิจัยถอดและรวบรวมองค์ความรู้
การวิจัยถอดและรวบรวมองค์ความรู้
การวิจัยถอดและรวบรวมองค์ความรู้
การวิจัยถอดและรวบรวมองค์ความรู้
การวิจัยเชิงความร่วมมือ
การวิจัยกับหน่วยงานท้องถิ่น
ขอบคุณค่ะ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
Mam Chongruk
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
Mam Chongruk
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
Mam Chongruk
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
Mam Chongruk
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
krupornpana55
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
Mam Chongruk
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
Mam Chongruk
 
ขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงาน
sichon
 
ขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงาน
sichon
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
keatsunee.b
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
พัน พัน
 

Was ist angesagt? (18)

แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
K14
K14K14
K14
 
project
projectproject
project
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 3
 
ขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงาน
 
ขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงานขอบข่ายโครงงาน
ขอบข่ายโครงงาน
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 

Andere mochten auch

Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Korawan Sangkakorn
 
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวLong stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Korawan Sangkakorn
 

Andere mochten auch (19)

Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
 
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติอนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
 
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & LamphoonCBT in Chiang Mai & Lamphoon
CBT in Chiang Mai & Lamphoon
 
LPB Tourism Situation
LPB Tourism SituationLPB Tourism Situation
LPB Tourism Situation
 
CNX Tourism Situation
CNX Tourism SituationCNX Tourism Situation
CNX Tourism Situation
 
LPB city plan
LPB city planLPB city plan
LPB city plan
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
 
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
 
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหนผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
 
Tourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPBTourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPB
 
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวLong stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
Long stay การท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาว
 
Chinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiChinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang mai
 
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนการถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
 
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 

Ähnlich wie การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น

ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
Kiw E D
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
moohmed
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
Piyamas Songtronge
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
suparada
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
Piyamas Songtronge
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะ
Piyamas Songtronge
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
uncasanova
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
นู๋หนึ่ง nooneung
 

Ähnlich wie การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (20)

ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
 
คอม01.doc
คอม01.docคอม01.doc
คอม01.doc
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะ
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
Innovation...
Innovation...Innovation...
Innovation...
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
 

Mehr von Korawan Sangkakorn

ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
Korawan Sangkakorn
 
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countriesTourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
Korawan Sangkakorn
 

Mehr von Korawan Sangkakorn (9)

Lanna longstay
Lanna longstayLanna longstay
Lanna longstay
 
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
 
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
การพัฒนาการท่องเที่ยวยุคใหม่
 
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยวการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว ให้ตอบสนองนักท่องเที่ยว
 
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยวทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
ทำอย่างไร ให้รู้ใจนักท่องเที่ยว
 
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
 
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
 
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countriesTourism competitive strategies of thailand and gms countries
Tourism competitive strategies of thailand and gms countries
 

การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น

  • 1. การจัดการความรูด้านการวิจัยเพือพัฒนาท้องถิ่น ้ ่ Knowledge Management of Community Based Research สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โครงการอบรม “การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น” วันที่ 9 มกราคม 2556 ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
  • 2. การจัดการความรู้คืออะไร? O เป็นเครื่องมือเพื่อการบรรลุเป้าหมาย งาน คน องค์กร ชุมชน/ หมู่คณะ ที่มา: การจัดการความรู้ฉบับนักปฏิบัต,ิ วิจารณ์ พานิช
  • 3. การจัดการความรู้ Knowledge Management O เครื่องมือของนักปฏิบติเพื่อการบรรลุเป้าหมาย พัฒนางาน พัฒนาคน พัฒนาองค์กรให้เป็น ั องค์กรแห่งการเรียนรู้ และเกิดความเอื้ออาทรระหว่างกันในการทางาน O เป็นการดาเนินการเกี่ยวกับการกาหนดความรู้หลักที่จาเป็นหรือสาคัญต่องาน การเสาะหา ความรู้ที่ต้องการ การปรับปรุง หรือสร้างความรู้บางส่วนให้เหมาะกับงานของตน การ ประยุกต์ใช้ความรู้ในงานของตน การนาประสบการณ์จากการทางานและการประยุกต์ใช้ ความรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสกัด ”ขุมความรู้” การจดบันทึก “ขุมความรู้” และ “แก่น ความรู” สาหรับไว้ใช้งาน ปรับปรุงเป็นชุดความรู้ที่ครบถ้วน ลุ่มลึกและเชื่อมโยง เหมาะต่อ ้ การใช้งานมากขึ้น O แหล่งความรู้มี 2 แหล่งใหญ่ๆ คือ 1) ความรู้ที่มีอยู่ในตัวคน (Tacit knowledge) 2) ความรู้ชัดแจ้งที่ถูกบันทึกไว้เป็นตารา ทฤษฎี ต่างๆ (Explicit knowledge)
  • 4. การวิจัย Research O การแสวงหาความรู้โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการหา คาตอบ (Research as a method) เป็นองค์ความรู้ที่เรา สามารถทดสอบได้ ตรวจสอบได้ และหาที่ผิดได้ (Research as a body of knowledge) O ผลของการวิจัย ได้องค์ความรู้ใหม่ต่อยอดจากองค์ความรู้ที่มี อยู่เดิม องค์ความรู้ถูกสั่งสมต่อยอดขึ้นไปเรื่อยๆ
  • 5. ประเด็นปัญหาการวิจัย Concept Phenomena Ideology Curiosity Problematic variable
  • 6. การวิจัย VS การจัดการความรู้ การจัดการ งานวิจัย ความรู้ กิจกรรม นักวิจัย นักปฏิบัติงาน วิธีการ สร้างความรู้ และเผยแพร่ไปยังผู้ใช้ ใช้และสร้างความรู้พร้อมๆ กัน ความรู้ ความรู้ชดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็น ั ความรู้ฝงลึก (Tacit Knowledge) เป็น ั ความรู้ที่แยกส่วนชัดเจน และพิสูจน์ได้ใน ความรู้บรณาการที่ไม่ค่อยชัดเจน แต่พิสูจน์ ู เชิงทฤษฎี ได้จากการใช้ประโยชน์/ปฏิบติ ั ทักษะ วิเคราห์ข้อมูล สังเคราะห์ข้อมูล ผลลัพธ์ เอกสารรายงานวิจัย การจดบันทึกเพื่อการใช้งานต่อของผู้ปฏิบติ ั หรือเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่มา: ปรับปรุงจากประชาคมวิจย ปีที่ 12 ฉบับที่ 71, วิจารณ์ พานิช ั
  • 7. การจัดการความรู้ในงานวิจัย O มีมานานแล้ว O ในงานวิจัยที่มีที่ปรึกษางานวิจย ซึ่งทาหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง ั (Mentor) ผู้ให้คาปรึกษา (Consult) ผู้ฝึกสอน (Coaching) การทาหน้าที่ตาม O การใช้เครื่องมือการจัดการความรู้ (KM - tools) เพื่อ ถ่ายทอดประสบการณ์ (Socialization) ตามหลัก SECI Model
  • 8. SECI Model Source: Nonaka and Takeuchi, 1994
  • 9. งานวิจัยสถาบัน (Institutional Research) O การศึกษาตนเองเกี่ยวกับปัญหาทางการบริหารหรือเพื่อการประเมินผลโครงการที่สถาบันได้ดาเนินการ หรือเพื่อหาแนวทางที่จะทา ให้มูลค่าความพึงพอใจเพิ่มขึ้น O ข้อค้นพบจากงานวิจัยจะเป็นสารสนเทศ หรือความรู้ให้ผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจ แก้ไขและพัฒนาสถาบันให้ดารงอยู่ ทาหน้าที่ให้ บรรลุวตถุประสงค์ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ั O มีกระบวนการดังนี้ O ร่วมเลือกเรื่องหรือปัญหาที่จะทาการวิจัย O ร่วมพิจารณาหรือทบทวนเรืองหรือปัญหาที่จะทาการวิจัย ่ O ร่วมศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง O ร่วมกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัย O ร่วมกาหนดความสาคัญ หรือประโยชน์ของการวิจัย O ร่วมกาหนดขอบเขตการวิจย ั O ร่วมตั้งสมมติฐานการวิจย (ตามประเภทการวิจัย) ั O ร่วมออกแบบการวิจัย O ร่วมเขียนโครงการวิจัย O ร่วมสร้างเครื่องมือเพื่อจัดเก็บข้อมูล O ร่วมจัดเก็บข้อมูล
  • 10. การวิจัยในงาน (On the Job Research: OJR) O ความรูที่มีอยูมากมายในการทางานทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นงานประจาหรือไม่ใช่งานประจา ้ ่ เป็นความรู้ที่เรียนมาหรือไปฝึกอบรมมา (Explicit Knowledge: EK) O เกิดแนวคิดใหม่ ทาในสิ่งที่คนอื่นให้ความสนใจน้อย (Niche market) หรือในตลาดที่มีการ แข่งขันน้อย (Blue ocean) O ดึงเอาความรู้ความสามารถที่ส่งสมและตกผลึก ถูกจัดเก็บเอาไว้ (Tacit Knowledge: TK) ั ออกมาใช้ O วิธีการ OJR ผู้ปฏิบติงานสามารถใช้เป็นเครื่องมือเพื่อสร้างความรู้จากงานที่ทาเพื่อเป็น ั ฐานความรู้ที่ใช้พัฒนางานและเผยแพร่ให้เกิดการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ที่ทาให้เกิด กลุ่มผู้สนใจร่วมกับ (Community of Interest: CoI) ที่จะพัฒนาไปสู่การเป็นชุมชนนักปฏิบติั (Community of Practice: CoP) ที่มีธรรมชาติการเรียนรู้ตอดเวลาเพื่อสร้างนวัตกรรมมา ขับเคลื่อนองค์กรให้มีผลปฏิบติที่เป็นเลิศ (Learning Organization: LO) ั
  • 11. งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น O กระบวนการ ที่คนในชุมชนได้มาร่วมคิดทบทวนสถานการณ์ ตั้งคาถาม วางแผน หาข้อมูล ทดลองทา วิเคราะห์ สรุปคาตอบ และถอดบทเรียนเพื่อปรับปรุงงานต่อไป O เป็นเครื่องมือที่เน้นการให้ “คน” ในชุมชน เข้ามาร่วมในกระบวนการวิจย ั ตั้งแต่การเริ่มคิด การตั้งคาถาม การวางแผน และค้นหาคาตอบอย่างเป็นระบบ โดย มีการเรียนรู้จากการปฏิบติจริง (Action Research) ทาให้ชุมชนได้เรียนรู้ ได้ผลงาน ั และเก่งขึ้นในการแก้ปัญหาของตนเอง ตลอดจนยกระดับการแก้ปัญหาให้มีความ น่าเชื่อถือสูง และสามารถ ใช้กระบวนการนี้ ในการแก้ไขปัญหาอื่นๆ O มีกระบวนการศึกษาเรียนรูอย่างเป็นเหตุ ้ เป็นผล มากกว่า “ผลลัพธ์” ซึ่ง จะต้องอาศัย “เวที” เป็นเครื่องมือ เพื่อให้คนในชุมชนได้มีส่วนร่วมใช้ “ปัญญา” ใน กระบวนการวิจัย
  • 12. ลักษณะสาคัญงานวิจัยเพือท้องถิ่น ่ O เป็นเรื่องที่คนท้องถิ่นเห็นว่าสาคัญ O ชุมชนมีส่วนร่วม ในกระบวนการค้นหาคาตอบร่วมกัน O มีการดาเนินงานรวบรวมข้อมูล และทดลองปฏิบัติการ O เป็นการวิจยปลายทาง เพื่อทดลองประยุกต์ใช้ความรู้ หรือเทคโนโลยี ั ในบริบทของท้องถิ่น O อาจมีการสร้างทฤษฎีใหม่จากข้อมูลภายในประเทศ O เป็นการวิจัยแบบองค์รวม (Holistic หรือ Integrated)
  • 13. ระบบการวิจัยเพือท้องถิ่น ่ O ระบบทรัพยากร O หน่วยงานจัดการงานวิจยเพือท้องถิน ั ่ ่ O นักบริหารวิจยเพือท้องถิน ั ่ ่ O สถาบันวิจยเพือท้องถิน ั ่ ่ O นักวิจัยเพือท้องถิน ่ ่ O นักวิจัยเชิงทฤษฎี O ระบบข้อมูลเพือการวิจยท้องถิน ่ ั ่
  • 14. ผลทีคาดหวังของงานวิจัยเพือท้องถิ่น ่ ่ 1. ในระดับโครงการ 1.1 ชุมชนสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง สามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยอาศัย การ ตัดสินใจ ผ่านข้อมูล ความรู้ที่ได้จากการศึกษา 1.2 เกิดความรู้ในท้องถิ่น และเป็นประโยชน์กับท้องถิ่นโดยตรง 1.3 เกิดกระบวนการเรียนรู้ โดยคนท้องถิ่นเอง ทาให้คนท้องถิ่น “เก่ง” ขึ้น 1.4 เกิดกลไกการจัดการ หรือองค์กรภายในชุมชน ที่จะดาเนินงานต่อไป 2. ในระดับเหนือโครงการ องค์ความรู้ทีได้จากโครงการวิจยเพื่อท้องถิ่นสามารถ ่ ั นามาสังเคราะห์ เชื่อมโยงระหว่างงานวิจัย และพัฒนา เพื่อยกระดับองค์ความรู้ และ สามารถผลักดันแนวคิด มาตรการ นโยบาย หรือระบบ และกลไก ภายในประเทศ ที่ จะเอื้อต่อการพัฒนา คุณภาพชีวิตของชุมชนท้องถิ่นมากขึ้น
  • 15. รูปแบบการสนับสนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น การวิจยแบบเต็มรูปแบบ (PAR) ั “เป็นปัญหาของชาวบ้าน ชาวบ้านเป็นทีมวิจย และมีปฏิบติการเพือแก้ปญหา” ั ั ่ ั สร้างความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ชุมชนสั่งสมมา และจากบทเรียนการทางานของ ท้องถิ่นในอดีต เพื่อนาความรู้ที่ได้ไปใช้ในการทดลอง แก้ปัญหาของตนเอง ทั้งระดับบุคคล ครอบครัว กลุ่มคน ชุมชน ท้องถิ่น และระดับเครือข่าย ผ่านการวางแผน ดาเนินการ ติดตาม ประเมิน สรุปผล และรับผิดชอบร่วมกันของชุมชน เน้นกระบวนการแก้ปัญหาสังคมในทุกประเด็น ศึกษากระบวนการเคลื่อนตัวของ ชุมชนท้องถิ่น ในบริบทหนึ่งๆ ต่อการแก้ปญหาที่ชุมชนท้องถิ่นร่วมกันดาเนินการ ั เน้นการทดลองเปรียบเทียบ และทดสอบปัจจัย ต่างๆ ศึกษา ทดลอง ทดสอบหลายๆ ทางเลือก เพื่อหาทางเลือกที่มีประสิทธิภาพ คุ้มค่าและคุ้มทุน ที่สุด โดยเน้นการพึ่งตนเองเป็น หลัก
  • 16. รูปแบบการสนับสนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น การวิจยทางเลือกใหม่เพือท้องถิน ั ่ ่ พัฒนามาจากแบบแรก เพื่อให้สอดคล้องกับศักยภาพ ของท้องถิ่น และกลุ่มคน การวิจยเบื้องต้น เป็นกระบวนการพัฒนาโจทย์วิจัย และการรวบรวมความรู้ รวมถึงการ ั เตรียมชุมชน เตรียมทีมวิจัยชาวบ้าน เพื่อวางแผน และแก้ปัญหาในเบื้องต้น หรือพัฒนา ไปสู่งานวิจย ั เต็มรูปแบบต่อไป การวิจยทีเน้นการถอดความรู้และรวบรวมองค์ความรู้จากการทางานพัฒนาของ ั ่ ชุมชน เป็นเรื่องทีชุมชนอยากรู้ อยากรวบรวมความรูของตนเอง และชุมชนร่วมกัน ทางานวิจย โดย ่ ้ ั ไม่ได้มุ่ง แก้ปัญหาชุมชนมากนัก การวิจยเชิงความร่วมมือ เป็นการสนับสนุน การสร้างความรู้ ร่วมกับหน่วยงาน หรือภาคี ั อื่นๆ เพื่อให้เกิดความร่วมมือ ในการทางานเพื่อชุมชนท้องถิ่น เป็นความร่วมมือ ทั้งในแง่การมี เป้าหมายเพื่อท้องถิ่น ความร่วมมือของคนหรือทีมงาน การสนับสนุนปัจจัย และทุนดาเนินการร่วมกัน งานวิจัยลักษณะนี้ จะมุ่งสร้างวิธีการทางาน ที่เป็นทางเลือกใหม่ ของภาคีภายนอก ร่วมกับคน ท้องถิ่น ต่อการพัฒนา และแก้ปัญหาท้องถิ่น โดยมุ่งสร้างสิ่งต่อไปนี้
  • 17. แหล่งทุนสนับสนุนการวิจัยเพือท้องถิ่น ่ O ในองค์กร (มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่) O สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจย (สกว.) ั O สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) O องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น