SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 28
วิชา RT318 การเขียนบท
รายการวิทยุกระจายเสียง
            อาจารย์สกุลศรี ศรี
            สารคาม               LOGO
สารคดีคออะไร
                                   ื
 สารคดีคอรายการสารคดีเป็นรายการที่มุ่งเน้นเสนอ
             ื
  ข้อเท็จจริง ให้ความรู้ ข้อมูล และเหตุการณ์ที่เป็น
  ประโยชน์ต่อผู้ชม มุงให้ผู้ชมเมื่อชมแล้วมีแรง
                       ่
  บันดาลใจให้กระทำา หรือไม่กระทำาอย่างใดอย่าง
  หนึ่ง เรื่องราวที่เสนอเป็นเรื่องจริง
 สารคดีคือ รูปแบบรายการที่บอกเล่าเรื่องราว ให้
  สาระ ข้อเท็จจริง หรือ ความรู้ แบบ มีความคิด
  สร้างสรรค์
 การเขียนบทสารคดี จำาเป็นต้องคำานึง 2 ประเด็น
  หลักคือ
สารคดีคออะไร
                                   ื
 งานสารคดีเป็นเรื่องของความคิด การคิดที่ต้องมอง
  เรื่องราวที่เราอยากนำาเสนอให้รอบด้าน อย่างที่เคย
  กล่าวไปแล้วว่า การสื่อสารข้อเท็จจริง ไม่ว่าจะเป็น
  รายการข่าวหรือสารคดี คนนำาเสนอต้องมองเรื่องรา
  วนั้นๆ ให้เป็น Crystal ที่มีมุมที่หลากหลาย


             Crystal เป็นอย่างไร...
Crystal จะให้ภาพที่แตกต่าง ในการมองจาก
  มุมที่ต่างกัน ง่ายๆ แค่เรา
มองเงาสะท้อนของเราบน Crystal เราก็จะเห็น
  รูปลักษณ์ของใบหน้าเรา
มิตในงานสารคดี
                             ิ
 มิตด้านกว้าง คือ รอบทุกประเด็น หมายความว่า มี
     ิ
 ประเด็นเรื่องอะไรที่จะเกี่ยวข้องกับหัวข้อเรื่องของ
 เราบ้าง มองได้ทั้งในแง่ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์
 จิตวิทยา ธรณีวทยา สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
                ิ
 และอื่นๆ อีกมากมาย เราต้องพยายามทำาลิสต์ออก
 มาให้ได้ มากที่สุด ว่ามีอะไรเกียวข้อง หรือ หัวข้อ
                                ่
 ของเราไปเชือมโยงถึงอะไรบ้าง
              ่
- ต้นกำาเนิด            มิตในงานสารคดี
                           ิ
-ลักษณะพิเศษ
                                  -ลำานำ้าโขงในอดีต
ของลำานำ้า
                                  เป็นอย่างไร
-ประเทศ/บริเวณ                    - เรื่องราว
ที่ผ่าน                           ประวัติศาสตร์ที่
-ลักษณะภูมิประ                    เกี่ยวกับลำานำ้าโขง
เทศเด่นๆ                          - การรบบริเวณนำ้า
                    แม่นำาโขง     โขง
                                  - เส้นทางการเดิน
 -ระบบนิเวศน์                   -ลำาอค้าขาย บ
                                  เรื นำ้าโขงกั
 - ธรรมชาติ                     ความเชือ ่
                                -ศิลปะแห่ง
 เปลี่ยนแปลง
 -พันธุ์ปลา                     ลำานำ้าโขง
 -สร้างเขือนกระทบ               -บทเพลง การ
          ่
 ลำานำ้าโขง                     ละเล่น www.themegallery.com
มิตในงานสารคดี
                        ิ
-ลักษณะของช้าง
- ทำาไมช้างหูโต
มีงวง
                             -ความสำาคัญของ
-วิวฒนาการของ
    ั                        ช้างใน
ช้าง                         ประวัติศาสตร์ช่วง
-ชนิดของช้าง                 ต่างๆ
                             -ช้างสำาคัญใน
                   ช้าง      ประวัติศาสตร์

 -ช้างเป็นพาหนะ
 -การใช้ประโยชน์            -ช้างใน
 ช้าง                       วรรณกรรม
 -ควาญช้าง
 -การรณรงค์ชวย
             ่
                                 www.themegallery.com
มิตในงานสารคดี
                              ิ
 มิติดานยาว คือ ต้องเสนอข้อมูลให้มองเห็น
         ้
   พัฒนาการอันยาวไกลจากอดีตสู่ปัจจุบัน หรือ จาก
   ยุคหนึ่งสู่ยุคหนึ่ง อาจเป็นการเล่าเป็นช่วงเป็นตอน
   ไล่เรียงจากอดีตมาปัจจุบัน หรือ ใช้การเปรียบเทียบ
   ให้เห็นว่า เมื่อก่อนเป็นอย่างไร และเดี๋ยวนี้เป็นเช่น
   ไร
เช่น
   “เจ้าพระยา ปรากฏเป็นลากลักษณ์อักษรครั้งแรกใน
   ประวัตศาสตร์คือในสนธิสัญญาที่สยามทำากับ
           ิ
   ฝรั่งเศส สมัยพระนารายณ์ / การเปลี่ยนทางเดินของ
   สายนำ้าเจ้าพระยาทำาให้มีการขุดคลองลัดและก่อเกิด
   ชุมชนบางเกาะหรือบางกอก / ปัจจุบันแม่นำ้า
มิตในงานสารคดี
                              ิ
 มิตด้านลึก คือการสะท้อนจิตวิญญาณของผู้คนที่
       ิ
   ผูกพันอยู่กบสิ่งนั้น หรือความรู้สึกของใครคนหนึ่ง
                ั
   ต่อเรื่องนั้น ซึงจะทำาให้เกิดอารมณ์ด้านใดด้านหนึ่ง
                   ่
   เช่น ตืนเต้น ตื่นตาใจ ยินดี เศร้า สนุกสนาน ตลก
           ่
   หรือประทับใจมากๆ
 ทำาให้สารคดีมีชวต มีความใกล้ชิดกับชีวตของคน
                      ี ิ                     ิ
   ฟัง สามารถสะท้อนประเด็น และ ทำาให้ผฟังคล้อย
                                           ู้
   ตาม ช่วยทำาให้เกิดสำานึก
เช่น
    “นายสตีฟ แวน บีค ชาวอเมริกันผูผูกพันกับสายนำ้า
                                       ้
   พายเรือลำาเล็กๆ ล่องลงมาที่อ่าวไทย แล้วให้
   สัมภาษณ์ว่า ในแต่ละวันเขานับหมาเน่าตายลอยนำ้า
แก่นเรือง คือ หัวใจ
                              ่
 แก่นเรื่องคือ ประเด็นหลักที่ผเขียนบทต้องการนำา
                               ู้
 เสนอ คือสิ่งสำาคัญที่สุดที่อยากให้ผฟังได้รู้ แล้ว
                                     ู้
 ประเด็น หรือ เนื้อหาอื่นๆ จะเป็นองค์ประกอบที่จะ
 นำามาสู่แก่นเรือง คลีคลายแก่นเรื่อง หรือ ทำาให้แก่น
                ่     ่
 เรื่องชัดเจนมากขึ้น คือ เมือเล่าประเด็นต่างๆ แล้ว
                            ่
 ตอนจบสุดท้าย ผูฟังต้องได้รับสารตามที่ตองใจไว้
                   ้                       ้
 ตามแก่นเรื่อง

 กำาหนดทิศทาง ประเด็นต่างๆ จะนำาไปสู่แก่นเรื่อง
 หรือ บอกสิ่งสำาคัญที่สุดที่ผเขียนต้องการให้ผฟังรู้
                             ู้              ู้
 -- จะไม่สะเปะสะปะ
แก่นเรือง คือ หัวใจ
                              ่
 เช่น ถ้ากำาหนดแก่นเรื่องว่า แม่นำ้าเจ้าพระยาเป็น
  แม่นำ้าสายหลักของประเทศ เป็นบ่อเกิดรากฐาน
  อารยธรรมไทย ปัญหาที่เกิดกับเจ้าพระยาส่งผลกระ
  ทบต่อคนส่วนใหญ่ .....
 ประวัติศาสตร์         กิจกรรม
ของเจ้าพระยาที่      วัฒนธรรม ที่        การใช้ประโยชน์
 เชื่อมโยงกับ        เกี่ยวข้องกับ       แม่นำ้าเจ้าพระยา
 ชุมชนทีอยู่ริม
          ่           เจ้าพระยา            จากอดีตถึง
  เจ้าพระยา                                  ปัจจุบัน
    เจ้าพระยาประสบ
                          เจ้าพระยากับ
     ปัญหาอะไรอยู่
                              ความ
     ปัญหาเกิดจาก
                          เปลี่ยนแปลง
     อะไร กระทบคน
                           และ อนาคต
         อย่างไร
แก่นเรือง คือ หัวใจ
                                 ่
 ถ้ากำาหนดแก่นว่า “เจ้าพระยาในประเด็นปัญหาสิ่ง
  แวดล้อม”
                            ความ
 ลักษณะ ความ           เปลี่ยนแปลงที่      สาเหตุของ
    สำาคัญของ         เกิดขึ้น ในแง่สิ่ง    ปัญหาสิ่ง
เจ้าพระยาในอดีต           แวดล้อม           แวดล้อม

    ผลกระทบต่อคน
     ระบบนิเวศน์ที่         แนวทางแก้ไข
       เปลี่ยนไป
การนำาเสนอสารคดี ต้องคำานึงถึง...

รูปแบบการนำาเสนอที่ดี
 ทำายังไงให้ผฟังได้รับอรรถรส ความบันเทิง ความ
                ู้
 เพลิดเพลิน ซึงขึ้นอยู่กับวางโครงเรื่อง การดำาเนิน
                   ่
 เรื่องที่ดี การใช้ภาษา และ การเลือกใช้เสียงที่
 เหมาะสม รวมถึงเสียงผูบรรยาย ที่ต้องน่าฟัง ชวน
                         ้
 ให้ตดตาม ในขณะเดียวกันก็น่าเชื่อถือ
       ิ
การนำาเสนอสารคดี ต้องคำานึงถึง...
  เสียงอะไรที่ควรมีใน สารคดีบ้าง?
  อย่าลืม เสียงประกอบเสียงเพลง...เสียง
  สัมภาษณ์ ... เสียงบรรยาย ...
  3 ส่วนนี้ต้องใช้ให้เหมาะสม

 อย่าใช้เสียง sfx มากจนเกินไป และ ใช้ในที่ที่ไม่
  ควรใช้ ต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม
 อย่าลืมเสียงสัมภาษณ์ ใช้ผเชี่ยวชาญเล่าเรื่องแทน
                               ู้
  เรา
 เพลงที่มีเนื้อ ต้องระวังเนื้อหาที่ไม่สอดคล้อง ถ้าหา
  เพลงมีเนื้อไม่ได้ ใช้บรรเลง
การนำาเสนอสารคดี ต้องคำานึงถึง...

เนืำอหาที่ดี
  ต้องได้ความรู้ใหม่ๆ ได้รู้เรื่องที่ไม่เคยรู้ ได้สาระ
  และ ส่งเสริมปัญญา สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึนได้จากการ
                                            ้
  กำาหนดแก่นที่ชดเจน การมองเรื่องให้ได้ครบมิติ
                 ั
  การจับประเด็นที่น่าสนใจ ครบด้าน ข้อมูลต้องถูก
  ต้องแม่นยำา

 ค้นคว้า สำาคัญมาก ยิงค้นมาก ยิ่งรู้มาก ยิ่งรอบด้าน
                     ่

                    =   ข้อมูล
การนำาเสนอสารคดี ต้องคำานึงถึง...
ข้อมูลที่เอามาใช้ในงานสารคดีควร เป็นข้อมูลทั้ง
   กายภาพ และ จินตภาพ
 ข้อมูลกายภาพ คือข้อเท็จจริงทางภูมิศาสตร์
   ประวัตศาสตร์ เช่น แม่นำ้าโขงยาวกีกิโลเมตร มีการ
          ิ                          ่
   ขุดลอกคลองลัดบางกอกน้อยมีปี พ.ศ. ใด พื้นที่ราบ
   ลุ่มแม่นำ้าเจ้าพระยากินบริเวณกีตารางกิโลเมตร
                                  ่
พวกนี้เป็นข้อมูลตายตัว เป็นตัวเลข เป็นสิ่งที่ไม่
   เปลียนแปลง หรือ เปลี่ยนน้อย หา
        ่
ได้จากเอกสาร หนังสือต่างๆ

 ข้อมูลทางจินตภาพ เป็นข้อมูลเกียวกับทัศนะ ความ
                                ่
  คิด ความรูสึก
            ้
การนำาเสนอสารคดี ต้องคำานึงถึง...

แง่คิด มุมมองทีดี
               ่
สารคดีที่มีคุณค่า นอกจากจะให้ข้อเท็จจริงแล้ว
  มักให้แง่คิด หรือ
มุมมองที่ดีด้วย โดยเฉพาะทำาให้เกิดสำานึกใน
  ทางสร้างสรรค์

เช่น สำานึกที่รักและหวงแหนแม่นำ้าอันเป็น
  เส้นเลือดหล่อเลี้ยงชีวิตและ
วัฒนธรรม
ประเภทสารคดี

สารคดีสัำน
เป็นรายการความรู้ที่เนือหาไม่เจาะลึก ความ
                       ้
  ยาวประมาณ 1-5 นาที
ออกอากาศเป็นประจำาในหัวเรื่องและวันเวลา
  เดิม ใช้ผู้ประกาศคนเดิม
 บรรยายคนเดียว
 บรรยายสองเสียง – สลับกันพูด / สนทนา
  กัน
 บรรยายหลายเสียง – จำาลองเหตุการณ์
ประเภทสารคดี

สารคดียาว
นำาเสนอเนื้อหาในเชิงลึก มีระยะเวลายาว ส่วน
  มาก ประมาณ 15-30
นาที มีความหลากหลายในการนำาเสนอ มิติของ
  เนือหาทั้งกว้าง ยาว ลึก
     ้
เป็นได้ทั้ง สารคดีท่องเที่ยว ประวัติศาสตร์
  ความรู้ทั่วไป สารคดีข่าว
สารคดีเชิงวิเคราะห์ เป็นต้น
ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี

 ค้นคว้า ค้นคว้า และ ค้นคว้า
 กำาหนดแก่นเรือง
                ่
 กำาหนดประเด็น
 กำาหนดองค์ประกอบในการนำาเสนอ
 รวบรวมข้อมูล
 วางโครงเรือง
             ่
 เขียนบท
ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี

ค้นคว้า ค้นคว้า และ ค้นคว้า
การจะได้แก่นเรื่อง หรือ ประเด็นมานัำน มา
  จากการค้นคว้า หรือ หา
ข้อมูลจากสื่อต่างๆ ว่ามีเรื่องอะไรที่น่าสนใจ
การค้นคว้าทำาได้...
 จากเอกสาร หนังสือ เว็บไซด์
  หนังสือพิมพ์ นิตยสาร
 การพูดคุยกับผู้อน ื่
 ประสบการณ์ของผู้เขียนบท
ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี

กำาหนดแก่นเรื่อง
ถามตัวเองว่า “ต้องการบอกอะไรกับคน
 ฟัง”


กำาหนดประเด็น
ถามตัวเองว่า “อยากเสนอเรื่องนัำนในแง่มุม
  ใดบ้าง ที่จะสอดคล้อง และ
นำาไปสู่แก่นเรื่อง หาประเด็นหลัก ประเด็น
  รอง เพื่อเชื่อมโยง และ
ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี

ประเด็นที่ดี

 เป็นความสนใจของคน (Human Interest)
 เป็นการสร้างสรรค์ใหม่ (Creative) เสนอเรื่องใหม่ อัพเดทจาก
  สิ่งที่คนเสนอไปแล้ว ไม่ซำ้ารอยเดิม
 ก่อให้เกิดทัศนคติเชิงบวก (Positive) ทำาให้เกิดการคิดตามใน
  เชิงสร้างสรรค์
 มีเรื่องของอารมณ์ความรู้สึกมาเกี่ยวข้อง (Emotion) คือไม่ใช่
  เสนอข้อมูล ข้อเท็จจริงแห้ง แต่มีจินตนาการ
 เป็นประเด็นที่ผเขียนรู้จริง มีข้อมูล น่าเชื่อถือ
                  ู้
 เป็นประเด็นที่ชัดเจน ไม่ซับซ้อน หรือ ผูเขียนต้องสามารถ
                                            ้
  อธิบายให้ฟังง่ายได้
ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี

กำาหนดองค์ประกอบในการนำาเสนอ
ใช้เสียงอะไรบ้าง เสียงสัมภาษณ์ใคร
 บรรยายกี่คน ประเด็น: ปัญหาสิ่ง องค์
                      แวดล้อม         ประกอบ??
 เจ้าพระยา                            -Sfx
  แก่น “สิ่ง    ประเด็น: ผลกระทบต่อ
แวดล้อมใน            คนริมแม่นำ้า     -
เจ้าพระยา”                            สัมภาษณ์
                   ประเด็น: สิ่งที่   - เพลง
                  เปลี่ยนแปลงไป
                                      - vox pop
               ประเด็น: การแก้ปัญหา
ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี

ค้นคว้าเพิ่ม และ รวบรวมข้อมูลเพื่อ
  เขียน
 สัมภาษณ์
 ลงพืำนที่เก็บเสียงบรรยากาศ คุยกับ
 คนในพืำนที่ ไปให้เห็นกับตา จะได้เขียน
 บรรยายได้ถูก
 หาข้อมูลเพิ่มเติมจากเอกสาร และ สื่อ
 ต่าง ๆ (ต้องเช็คข้อมูลด้วย)
ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี

การวางโครงเรือง
             ่
ว่าจะเริ่มเรื่องยังไง เรียงประเด็นก่อนหลังอย่างไร แบ่ง
   เป็นช่วง เป็นตอนอย่างไร
จะใช้เสียงอะไรตรงไหน ใช้เสียงสัมภาษณ์อะไร ตอน
   ไหน และ จะปิดท้ายให้
ประทับใจอย่างไร

ต้องมีจังหวะ ในการดำาเนินเรื่อง คือ ต้องคิดว่า เปิด
   เรื่องน่าสนใจแล้ว ดำาเนินเรื่อง
ไปถึงตรงไหนที่คนจะเริ่มเบื่อ ก็สลับเอาสิ่งที่ตนตาตื่น
                                              ื่
   ใจมาคั่นให้มีสีสัน และ
ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี

การเขียนบท
นำาข้อมูลทั้งหมดที่มี ทั้งจากเอกสาร สัมภาษณ์ และ
   การสังเกตการณ์ มาประมวล
เป็นเรื่อง ตามที่วางโครงเรื่องไว้


             มีความนำา (เปิดเรื่อง)
                 เนือหา และ
                    ้
                      สรุป
ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี

การเขียนบท
นำาข้อมูลทั้งหมดที่มี ทั้งจากเอกสาร สัมภาษณ์ และ
   การสังเกตการณ์ มาประมวล
เป็นเรื่อง ตามที่วางโครงเรื่องไว้


    มีความนำา (เปิดเรื่อง) เนื้อหา และ สรุป

ปล่อยความคิดให้ลื่นไหลออกมา เวลาเขียน นึกภาพ
  นึกว่าเราอยากได้ยิน หรือ
อยากหลับตาแล้วเห็นภาพอะไร จะช่วยให้เรามี
วางแผนสารคดี จากหัวข้อนี....
                        ำ



        blog
 โทรศัทพ์สาร
   ธารณะ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
Rose Banioki
 
ไม้ตะกู
ไม้ตะกูไม้ตะกู
ไม้ตะกู
chokchai57
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
guestefb2bbf
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒
Rose Banioki
 

Was ist angesagt? (12)

พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
Learn c21
Learn c21Learn c21
Learn c21
 
ไม้ตะกู
ไม้ตะกูไม้ตะกู
ไม้ตะกู
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๑
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๙
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๐๒
 

Andere mochten auch

Making a radio documentary
Making a radio documentaryMaking a radio documentary
Making a radio documentary
Iestyn Williams
 
Script For 9 Minute Documentary
Script For 9 Minute DocumentaryScript For 9 Minute Documentary
Script For 9 Minute Documentary
JoshGmanMcLean
 
Scriptwriting Assignment 1
Scriptwriting Assignment 1Scriptwriting Assignment 1
Scriptwriting Assignment 1
bethkidd
 
Documentary types and tips
Documentary types and tipsDocumentary types and tips
Documentary types and tips
Mudassar Lone
 
FM Radio Program Script
FM Radio Program ScriptFM Radio Program Script
FM Radio Program Script
Roxanne Robes
 
Types of documentary
Types of documentaryTypes of documentary
Types of documentary
Paigew84
 
Bill Nichols - 6 Types of Documentary
Bill Nichols - 6 Types of DocumentaryBill Nichols - 6 Types of Documentary
Bill Nichols - 6 Types of Documentary
Emma Willcox
 
Voice over script
Voice over scriptVoice over script
Voice over script
mollyapple
 
Voiceover script for our documentary
Voiceover script for our documentaryVoiceover script for our documentary
Voiceover script for our documentary
driss123
 
Consider how documentaries have evolved?
Consider how documentaries have evolved?Consider how documentaries have evolved?
Consider how documentaries have evolved?
Emma Willcox
 

Andere mochten auch (20)

Making a radio documentary
Making a radio documentaryMaking a radio documentary
Making a radio documentary
 
Script For 9 Minute Documentary
Script For 9 Minute DocumentaryScript For 9 Minute Documentary
Script For 9 Minute Documentary
 
Scriptwriting Assignment 1
Scriptwriting Assignment 1Scriptwriting Assignment 1
Scriptwriting Assignment 1
 
Documentary types and tips
Documentary types and tipsDocumentary types and tips
Documentary types and tips
 
Radiodocu
RadiodocuRadiodocu
Radiodocu
 
FM Radio Program Script
FM Radio Program ScriptFM Radio Program Script
FM Radio Program Script
 
Types of documentary
Types of documentaryTypes of documentary
Types of documentary
 
Documentary Script
Documentary Script Documentary Script
Documentary Script
 
How to make radio features
How to make radio featuresHow to make radio features
How to make radio features
 
Dark Passenger - The Audio Script
Dark Passenger - The Audio ScriptDark Passenger - The Audio Script
Dark Passenger - The Audio Script
 
Styles of Documentary
Styles of DocumentaryStyles of Documentary
Styles of Documentary
 
Bill Nichols - 6 Types of Documentary
Bill Nichols - 6 Types of DocumentaryBill Nichols - 6 Types of Documentary
Bill Nichols - 6 Types of Documentary
 
Final Radio Show Script
Final Radio Show ScriptFinal Radio Show Script
Final Radio Show Script
 
วัฒนธรรมไทย ป.2+533+55t2his p02 f06-1page
วัฒนธรรมไทย ป.2+533+55t2his p02 f06-1pageวัฒนธรรมไทย ป.2+533+55t2his p02 f06-1page
วัฒนธรรมไทย ป.2+533+55t2his p02 f06-1page
 
Voice over script
Voice over scriptVoice over script
Voice over script
 
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
 
What is a soap opera
What is a soap operaWhat is a soap opera
What is a soap opera
 
Voiceover script for our documentary
Voiceover script for our documentaryVoiceover script for our documentary
Voiceover script for our documentary
 
soap opera genre target audience task
soap opera genre target audience tasksoap opera genre target audience task
soap opera genre target audience task
 
Consider how documentaries have evolved?
Consider how documentaries have evolved?Consider how documentaries have evolved?
Consider how documentaries have evolved?
 

Mehr von Sakulsri Srisaracam

ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
Sakulsri Srisaracam
 

Mehr von Sakulsri Srisaracam (20)

คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytellingคู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
 
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movementการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
 
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
 
Online community & journalism
Online community & journalismOnline community & journalism
Online community & journalism
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting process
 
Reseachconvergence
ReseachconvergenceReseachconvergence
Reseachconvergence
 
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSocial Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
 
Social TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for DocumentarySocial TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for Documentary
 
Newsreportprocess
NewsreportprocessNewsreportprocess
Newsreportprocess
 
Social Media & Journalism
Social Media & JournalismSocial Media & Journalism
Social Media & Journalism
 
Digital Media & University
Digital Media & UniversityDigital Media & University
Digital Media & University
 
Irregularverb
IrregularverbIrregularverb
Irregularverb
 
Agreement of verb
Agreement of verbAgreement of verb
Agreement of verb
 
Adjectiveadverb
AdjectiveadverbAdjectiveadverb
Adjectiveadverb
 
Conjunctions
ConjunctionsConjunctions
Conjunctions
 
Conjunctions
ConjunctionsConjunctions
Conjunctions
 
Adjective & Adverb
Adjective & AdverbAdjective & Adverb
Adjective & Adverb
 
News21century
News21century News21century
News21century
 
Radio drama
Radio dramaRadio drama
Radio drama
 
TV Production 2
TV Production 2TV Production 2
TV Production 2
 

Radio Documentary

  • 1. วิชา RT318 การเขียนบท รายการวิทยุกระจายเสียง อาจารย์สกุลศรี ศรี สารคาม LOGO
  • 2. สารคดีคออะไร ื  สารคดีคอรายการสารคดีเป็นรายการที่มุ่งเน้นเสนอ ื ข้อเท็จจริง ให้ความรู้ ข้อมูล และเหตุการณ์ที่เป็น ประโยชน์ต่อผู้ชม มุงให้ผู้ชมเมื่อชมแล้วมีแรง ่ บันดาลใจให้กระทำา หรือไม่กระทำาอย่างใดอย่าง หนึ่ง เรื่องราวที่เสนอเป็นเรื่องจริง  สารคดีคือ รูปแบบรายการที่บอกเล่าเรื่องราว ให้ สาระ ข้อเท็จจริง หรือ ความรู้ แบบ มีความคิด สร้างสรรค์  การเขียนบทสารคดี จำาเป็นต้องคำานึง 2 ประเด็น หลักคือ
  • 3. สารคดีคออะไร ื  งานสารคดีเป็นเรื่องของความคิด การคิดที่ต้องมอง เรื่องราวที่เราอยากนำาเสนอให้รอบด้าน อย่างที่เคย กล่าวไปแล้วว่า การสื่อสารข้อเท็จจริง ไม่ว่าจะเป็น รายการข่าวหรือสารคดี คนนำาเสนอต้องมองเรื่องรา วนั้นๆ ให้เป็น Crystal ที่มีมุมที่หลากหลาย Crystal เป็นอย่างไร... Crystal จะให้ภาพที่แตกต่าง ในการมองจาก มุมที่ต่างกัน ง่ายๆ แค่เรา มองเงาสะท้อนของเราบน Crystal เราก็จะเห็น รูปลักษณ์ของใบหน้าเรา
  • 4. มิตในงานสารคดี ิ  มิตด้านกว้าง คือ รอบทุกประเด็น หมายความว่า มี ิ ประเด็นเรื่องอะไรที่จะเกี่ยวข้องกับหัวข้อเรื่องของ เราบ้าง มองได้ทั้งในแง่ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ จิตวิทยา ธรณีวทยา สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ิ และอื่นๆ อีกมากมาย เราต้องพยายามทำาลิสต์ออก มาให้ได้ มากที่สุด ว่ามีอะไรเกียวข้อง หรือ หัวข้อ ่ ของเราไปเชือมโยงถึงอะไรบ้าง ่
  • 5. - ต้นกำาเนิด มิตในงานสารคดี ิ -ลักษณะพิเศษ -ลำานำ้าโขงในอดีต ของลำานำ้า เป็นอย่างไร -ประเทศ/บริเวณ - เรื่องราว ที่ผ่าน ประวัติศาสตร์ที่ -ลักษณะภูมิประ เกี่ยวกับลำานำ้าโขง เทศเด่นๆ - การรบบริเวณนำ้า แม่นำาโขง โขง - เส้นทางการเดิน -ระบบนิเวศน์ -ลำาอค้าขาย บ เรื นำ้าโขงกั - ธรรมชาติ ความเชือ ่ -ศิลปะแห่ง เปลี่ยนแปลง -พันธุ์ปลา ลำานำ้าโขง -สร้างเขือนกระทบ -บทเพลง การ ่ ลำานำ้าโขง ละเล่น www.themegallery.com
  • 6. มิตในงานสารคดี ิ -ลักษณะของช้าง - ทำาไมช้างหูโต มีงวง -ความสำาคัญของ -วิวฒนาการของ ั ช้างใน ช้าง ประวัติศาสตร์ช่วง -ชนิดของช้าง ต่างๆ -ช้างสำาคัญใน ช้าง ประวัติศาสตร์ -ช้างเป็นพาหนะ -การใช้ประโยชน์ -ช้างใน ช้าง วรรณกรรม -ควาญช้าง -การรณรงค์ชวย ่ www.themegallery.com
  • 7. มิตในงานสารคดี ิ  มิติดานยาว คือ ต้องเสนอข้อมูลให้มองเห็น ้ พัฒนาการอันยาวไกลจากอดีตสู่ปัจจุบัน หรือ จาก ยุคหนึ่งสู่ยุคหนึ่ง อาจเป็นการเล่าเป็นช่วงเป็นตอน ไล่เรียงจากอดีตมาปัจจุบัน หรือ ใช้การเปรียบเทียบ ให้เห็นว่า เมื่อก่อนเป็นอย่างไร และเดี๋ยวนี้เป็นเช่น ไร เช่น “เจ้าพระยา ปรากฏเป็นลากลักษณ์อักษรครั้งแรกใน ประวัตศาสตร์คือในสนธิสัญญาที่สยามทำากับ ิ ฝรั่งเศส สมัยพระนารายณ์ / การเปลี่ยนทางเดินของ สายนำ้าเจ้าพระยาทำาให้มีการขุดคลองลัดและก่อเกิด ชุมชนบางเกาะหรือบางกอก / ปัจจุบันแม่นำ้า
  • 8. มิตในงานสารคดี ิ  มิตด้านลึก คือการสะท้อนจิตวิญญาณของผู้คนที่ ิ ผูกพันอยู่กบสิ่งนั้น หรือความรู้สึกของใครคนหนึ่ง ั ต่อเรื่องนั้น ซึงจะทำาให้เกิดอารมณ์ด้านใดด้านหนึ่ง ่ เช่น ตืนเต้น ตื่นตาใจ ยินดี เศร้า สนุกสนาน ตลก ่ หรือประทับใจมากๆ  ทำาให้สารคดีมีชวต มีความใกล้ชิดกับชีวตของคน ี ิ ิ ฟัง สามารถสะท้อนประเด็น และ ทำาให้ผฟังคล้อย ู้ ตาม ช่วยทำาให้เกิดสำานึก เช่น “นายสตีฟ แวน บีค ชาวอเมริกันผูผูกพันกับสายนำ้า ้ พายเรือลำาเล็กๆ ล่องลงมาที่อ่าวไทย แล้วให้ สัมภาษณ์ว่า ในแต่ละวันเขานับหมาเน่าตายลอยนำ้า
  • 9. แก่นเรือง คือ หัวใจ ่  แก่นเรื่องคือ ประเด็นหลักที่ผเขียนบทต้องการนำา ู้ เสนอ คือสิ่งสำาคัญที่สุดที่อยากให้ผฟังได้รู้ แล้ว ู้ ประเด็น หรือ เนื้อหาอื่นๆ จะเป็นองค์ประกอบที่จะ นำามาสู่แก่นเรือง คลีคลายแก่นเรื่อง หรือ ทำาให้แก่น ่ ่ เรื่องชัดเจนมากขึ้น คือ เมือเล่าประเด็นต่างๆ แล้ว ่ ตอนจบสุดท้าย ผูฟังต้องได้รับสารตามที่ตองใจไว้ ้ ้ ตามแก่นเรื่อง  กำาหนดทิศทาง ประเด็นต่างๆ จะนำาไปสู่แก่นเรื่อง หรือ บอกสิ่งสำาคัญที่สุดที่ผเขียนต้องการให้ผฟังรู้ ู้ ู้ -- จะไม่สะเปะสะปะ
  • 10. แก่นเรือง คือ หัวใจ ่  เช่น ถ้ากำาหนดแก่นเรื่องว่า แม่นำ้าเจ้าพระยาเป็น แม่นำ้าสายหลักของประเทศ เป็นบ่อเกิดรากฐาน อารยธรรมไทย ปัญหาที่เกิดกับเจ้าพระยาส่งผลกระ ทบต่อคนส่วนใหญ่ ..... ประวัติศาสตร์ กิจกรรม ของเจ้าพระยาที่ วัฒนธรรม ที่ การใช้ประโยชน์ เชื่อมโยงกับ เกี่ยวข้องกับ แม่นำ้าเจ้าพระยา ชุมชนทีอยู่ริม ่ เจ้าพระยา จากอดีตถึง เจ้าพระยา ปัจจุบัน เจ้าพระยาประสบ เจ้าพระยากับ ปัญหาอะไรอยู่ ความ ปัญหาเกิดจาก เปลี่ยนแปลง อะไร กระทบคน และ อนาคต อย่างไร
  • 11. แก่นเรือง คือ หัวใจ ่  ถ้ากำาหนดแก่นว่า “เจ้าพระยาในประเด็นปัญหาสิ่ง แวดล้อม” ความ ลักษณะ ความ เปลี่ยนแปลงที่ สาเหตุของ สำาคัญของ เกิดขึ้น ในแง่สิ่ง ปัญหาสิ่ง เจ้าพระยาในอดีต แวดล้อม แวดล้อม ผลกระทบต่อคน ระบบนิเวศน์ที่ แนวทางแก้ไข เปลี่ยนไป
  • 12. การนำาเสนอสารคดี ต้องคำานึงถึง... รูปแบบการนำาเสนอที่ดี ทำายังไงให้ผฟังได้รับอรรถรส ความบันเทิง ความ ู้ เพลิดเพลิน ซึงขึ้นอยู่กับวางโครงเรื่อง การดำาเนิน ่ เรื่องที่ดี การใช้ภาษา และ การเลือกใช้เสียงที่ เหมาะสม รวมถึงเสียงผูบรรยาย ที่ต้องน่าฟัง ชวน ้ ให้ตดตาม ในขณะเดียวกันก็น่าเชื่อถือ ิ
  • 13. การนำาเสนอสารคดี ต้องคำานึงถึง... เสียงอะไรที่ควรมีใน สารคดีบ้าง? อย่าลืม เสียงประกอบเสียงเพลง...เสียง สัมภาษณ์ ... เสียงบรรยาย ... 3 ส่วนนี้ต้องใช้ให้เหมาะสม  อย่าใช้เสียง sfx มากจนเกินไป และ ใช้ในที่ที่ไม่ ควรใช้ ต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม  อย่าลืมเสียงสัมภาษณ์ ใช้ผเชี่ยวชาญเล่าเรื่องแทน ู้ เรา  เพลงที่มีเนื้อ ต้องระวังเนื้อหาที่ไม่สอดคล้อง ถ้าหา เพลงมีเนื้อไม่ได้ ใช้บรรเลง
  • 14. การนำาเสนอสารคดี ต้องคำานึงถึง... เนืำอหาที่ดี ต้องได้ความรู้ใหม่ๆ ได้รู้เรื่องที่ไม่เคยรู้ ได้สาระ และ ส่งเสริมปัญญา สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึนได้จากการ ้ กำาหนดแก่นที่ชดเจน การมองเรื่องให้ได้ครบมิติ ั การจับประเด็นที่น่าสนใจ ครบด้าน ข้อมูลต้องถูก ต้องแม่นยำา ค้นคว้า สำาคัญมาก ยิงค้นมาก ยิ่งรู้มาก ยิ่งรอบด้าน ่ = ข้อมูล
  • 15. การนำาเสนอสารคดี ต้องคำานึงถึง... ข้อมูลที่เอามาใช้ในงานสารคดีควร เป็นข้อมูลทั้ง กายภาพ และ จินตภาพ  ข้อมูลกายภาพ คือข้อเท็จจริงทางภูมิศาสตร์ ประวัตศาสตร์ เช่น แม่นำ้าโขงยาวกีกิโลเมตร มีการ ิ ่ ขุดลอกคลองลัดบางกอกน้อยมีปี พ.ศ. ใด พื้นที่ราบ ลุ่มแม่นำ้าเจ้าพระยากินบริเวณกีตารางกิโลเมตร ่ พวกนี้เป็นข้อมูลตายตัว เป็นตัวเลข เป็นสิ่งที่ไม่ เปลียนแปลง หรือ เปลี่ยนน้อย หา ่ ได้จากเอกสาร หนังสือต่างๆ  ข้อมูลทางจินตภาพ เป็นข้อมูลเกียวกับทัศนะ ความ ่ คิด ความรูสึก ้
  • 16. การนำาเสนอสารคดี ต้องคำานึงถึง... แง่คิด มุมมองทีดี ่ สารคดีที่มีคุณค่า นอกจากจะให้ข้อเท็จจริงแล้ว มักให้แง่คิด หรือ มุมมองที่ดีด้วย โดยเฉพาะทำาให้เกิดสำานึกใน ทางสร้างสรรค์ เช่น สำานึกที่รักและหวงแหนแม่นำ้าอันเป็น เส้นเลือดหล่อเลี้ยงชีวิตและ วัฒนธรรม
  • 17. ประเภทสารคดี สารคดีสัำน เป็นรายการความรู้ที่เนือหาไม่เจาะลึก ความ ้ ยาวประมาณ 1-5 นาที ออกอากาศเป็นประจำาในหัวเรื่องและวันเวลา เดิม ใช้ผู้ประกาศคนเดิม  บรรยายคนเดียว  บรรยายสองเสียง – สลับกันพูด / สนทนา กัน  บรรยายหลายเสียง – จำาลองเหตุการณ์
  • 18. ประเภทสารคดี สารคดียาว นำาเสนอเนื้อหาในเชิงลึก มีระยะเวลายาว ส่วน มาก ประมาณ 15-30 นาที มีความหลากหลายในการนำาเสนอ มิติของ เนือหาทั้งกว้าง ยาว ลึก ้ เป็นได้ทั้ง สารคดีท่องเที่ยว ประวัติศาสตร์ ความรู้ทั่วไป สารคดีข่าว สารคดีเชิงวิเคราะห์ เป็นต้น
  • 19. ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี  ค้นคว้า ค้นคว้า และ ค้นคว้า  กำาหนดแก่นเรือง ่  กำาหนดประเด็น  กำาหนดองค์ประกอบในการนำาเสนอ  รวบรวมข้อมูล  วางโครงเรือง ่  เขียนบท
  • 20. ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี ค้นคว้า ค้นคว้า และ ค้นคว้า การจะได้แก่นเรื่อง หรือ ประเด็นมานัำน มา จากการค้นคว้า หรือ หา ข้อมูลจากสื่อต่างๆ ว่ามีเรื่องอะไรที่น่าสนใจ การค้นคว้าทำาได้...  จากเอกสาร หนังสือ เว็บไซด์ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร  การพูดคุยกับผู้อน ื่  ประสบการณ์ของผู้เขียนบท
  • 21. ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี กำาหนดแก่นเรื่อง ถามตัวเองว่า “ต้องการบอกอะไรกับคน ฟัง” กำาหนดประเด็น ถามตัวเองว่า “อยากเสนอเรื่องนัำนในแง่มุม ใดบ้าง ที่จะสอดคล้อง และ นำาไปสู่แก่นเรื่อง หาประเด็นหลัก ประเด็น รอง เพื่อเชื่อมโยง และ
  • 22. ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี ประเด็นที่ดี  เป็นความสนใจของคน (Human Interest)  เป็นการสร้างสรรค์ใหม่ (Creative) เสนอเรื่องใหม่ อัพเดทจาก สิ่งที่คนเสนอไปแล้ว ไม่ซำ้ารอยเดิม  ก่อให้เกิดทัศนคติเชิงบวก (Positive) ทำาให้เกิดการคิดตามใน เชิงสร้างสรรค์  มีเรื่องของอารมณ์ความรู้สึกมาเกี่ยวข้อง (Emotion) คือไม่ใช่ เสนอข้อมูล ข้อเท็จจริงแห้ง แต่มีจินตนาการ  เป็นประเด็นที่ผเขียนรู้จริง มีข้อมูล น่าเชื่อถือ ู้  เป็นประเด็นที่ชัดเจน ไม่ซับซ้อน หรือ ผูเขียนต้องสามารถ ้ อธิบายให้ฟังง่ายได้
  • 23. ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี กำาหนดองค์ประกอบในการนำาเสนอ ใช้เสียงอะไรบ้าง เสียงสัมภาษณ์ใคร บรรยายกี่คน ประเด็น: ปัญหาสิ่ง องค์ แวดล้อม ประกอบ?? เจ้าพระยา -Sfx แก่น “สิ่ง ประเด็น: ผลกระทบต่อ แวดล้อมใน คนริมแม่นำ้า - เจ้าพระยา” สัมภาษณ์ ประเด็น: สิ่งที่ - เพลง เปลี่ยนแปลงไป - vox pop ประเด็น: การแก้ปัญหา
  • 24. ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี ค้นคว้าเพิ่ม และ รวบรวมข้อมูลเพื่อ เขียน  สัมภาษณ์  ลงพืำนที่เก็บเสียงบรรยากาศ คุยกับ คนในพืำนที่ ไปให้เห็นกับตา จะได้เขียน บรรยายได้ถูก  หาข้อมูลเพิ่มเติมจากเอกสาร และ สื่อ ต่าง ๆ (ต้องเช็คข้อมูลด้วย)
  • 25. ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี การวางโครงเรือง ่ ว่าจะเริ่มเรื่องยังไง เรียงประเด็นก่อนหลังอย่างไร แบ่ง เป็นช่วง เป็นตอนอย่างไร จะใช้เสียงอะไรตรงไหน ใช้เสียงสัมภาษณ์อะไร ตอน ไหน และ จะปิดท้ายให้ ประทับใจอย่างไร ต้องมีจังหวะ ในการดำาเนินเรื่อง คือ ต้องคิดว่า เปิด เรื่องน่าสนใจแล้ว ดำาเนินเรื่อง ไปถึงตรงไหนที่คนจะเริ่มเบื่อ ก็สลับเอาสิ่งที่ตนตาตื่น ื่ ใจมาคั่นให้มีสีสัน และ
  • 26. ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี การเขียนบท นำาข้อมูลทั้งหมดที่มี ทั้งจากเอกสาร สัมภาษณ์ และ การสังเกตการณ์ มาประมวล เป็นเรื่อง ตามที่วางโครงเรื่องไว้ มีความนำา (เปิดเรื่อง) เนือหา และ ้ สรุป
  • 27. ขัำนตอนในการเขียนบทสารคดี การเขียนบท นำาข้อมูลทั้งหมดที่มี ทั้งจากเอกสาร สัมภาษณ์ และ การสังเกตการณ์ มาประมวล เป็นเรื่อง ตามที่วางโครงเรื่องไว้ มีความนำา (เปิดเรื่อง) เนื้อหา และ สรุป ปล่อยความคิดให้ลื่นไหลออกมา เวลาเขียน นึกภาพ นึกว่าเราอยากได้ยิน หรือ อยากหลับตาแล้วเห็นภาพอะไร จะช่วยให้เรามี
  • 28. วางแผนสารคดี จากหัวข้อนี.... ำ blog โทรศัทพ์สาร ธารณะ