SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 23
เครื่องใช้ไฟฟ้า คือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปอื่น เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่<br />1. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง<br />2. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน<br />3. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล<br />4. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง<br />1 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง<br />หลอดไฟ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นแสงสว่างให้เราสามารถมองเห็นสิ่งต่างๆ ได้ ซึ่ง โธมัส เอดิสัน เป็นผู้ประดิษฐ์หลอดไฟเป็นครั้งแรก โดยใช้คาร์บอนเส้นเล็กๆ เป็นไส้หลอดและได้มีการพัฒนาเรื่อยมาเป็นลำดับ<br />รูป หลอดไฟของเอดิสัน<br />ประเภทของหลอดไฟ<br />1. หลอดไฟฟ้าธรรมดา มีไส้หลอดที่ทำด้วยลวดโลหะที่มีจุดหลอมเหลวสูง เช่น ทังสเตนเส้นเล็กๆ ขดเอาไว้เหมือนขดลวดสปริงภายในหลอดแก้วสูบอากาศออกหมดแล้วบรรจุก๊าซเฉื่อย เช่น อาร์กอน (Ar) ไว้ ก๊าซนี้ช่วยป้องกันไม่ให้หลอดไฟฟ้าดำ ลักษณะของหลอดไฟเป็นดังรูป<br />หลักการทำงานของหลอดไฟฟ้าธรรมดา<br />กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอดซึ่งมีความต้านทานสูง พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ทำให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสงออกมาได้ การเปลี่ยนพลังงานเป็นดังนี้<br />พลังงานไฟฟ้า >>>พลังงานความร้อน >>>พลังงานแสง<br />2. หลอดเรื่องแสง หรือ หลอดฟลูออเรสเซนต์ (fluorescent) เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสงสว่าง ซึ่งมีการประดิษฐ์ในปี ค.ศ. 1938 โดยมีรูปร่างหลายแบบ อาจทำเป็นหลอดตรง สั้น ยาว ขดเป็นวงกลมหรือครึ่งวงกลม เป็นต้น<br />ส่วนประกอบของหลอดเรืองแสง<br />ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยู่ที่ปลายทั้ง 2 ข้าง ของหลอดแก้ว ซึ่งผิวภายในของหลอดฉาบด้วยสารเรื่องแสง อากาศในหลอดแก้วถูกสูบออกจนหมดแล้วใส่ไอปรอทไว้เล็กน้อย ดังรูป<br />หลักการทำงานของหลอดเรืองแสง<br />เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดทำให้ปรอทที่บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไอปรอทได้จะคายพลังงานไฟฟ้าให้ไอปรอท ทำให้อะตอมของไอปรอทอยู่ในภาวะถูกกระตุ้น และอะตอมปรอทจะคายพลังงานออกมาเพื่อลดระดับพลังงานของตนในรูปของรังสีอัลตราไวโอเลต เมื่อรังสีดังกล่าวกระทบสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวในของหลอดเรืองแสงนั้นก็จะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสีต่างๆ ตามชนิดของสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ภายในหลอดนั้น เช่น แคดเมียมบอเรทจะให้แสงสีชมพู ซิงค์ซิลิเคทให้แสงสีเขียว แมกนีเซียมทังสเตนให้แสงสีขาวอมฟ้า และยังอาจผสมสารเหล่านี้เพื่อให้ได้สีผสมที่แตกต่างออกไปอีกด้วย<br />อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อให้หลอดเรืองแสงทำงาน<br />1. สตาร์ตเตอร์ (starter) ทำหน้าที่เป็นสวิตซ์อัตโนมัติในขณะหลอดเรืองแสง ยังไม่ติดและหยุดทำงานเมื่อหลอดติดแล้ว<br />2. แบลลัสต์ (Ballast) ทำหน้าที่เพิ่มความต่างศักย์ เพื่อให้หลอดไฟเรืองแสงติดในตอนแรกและทำหน้าที่ ควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอด ให้ลดลงเมื่อหลอดติดแล้ว<br />2. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน<br />ส่วน ประกอบที่สำคัญจากเตารีดไฟฟ้า เตารีดไฟฟ้าประกอบด้วยส่วนประกอบที่สำคัญ คือ แผ่นความเทอร์โมสตัท แผ่นขดลวดความร้อน แผ่นทับผ้า และปุ่มปรับความร้อนเตารีดไฟฟ้าใช้แผ่นขดลวดความร้อนทำด้วยลวดนิโครมแผ่น แบนๆ วงสับไปมาไม่ได้ทำเป็นขดลวดเหมือนเตาไฟฟ้า หรือ อาจที่เรียกว่า ไส้เตารีด ซึ่งจะสอดอยู่ภายในระหว่างไมก้า (Mica) 2 แผ่น ไมก้านี้เป็นวัตถุทนไฟและเป็นฉนวนด้วย <br />     เหตุ ที่ต้องใช้ไมก้ามากั้นนั้น เนื่องจากเตารีดต้องการน้ำหนังจึงจะทำให้ผ้าเรียบได้ ดังนั้นเตารีดจะมีเฉพาะแต่ไส้เตารีดจึงต้องมีฐานโลหะที่หนัง เมื่อไส้เตารีดร้อนก็จะทำให้ฐานโลหะร้อนตามด้วย <br />หลักการทำงานของเตารีดไฟฟ้า<br />โดย ทั่วไปเตารีดไฟฟ้าเมื่อใช้เต้าเสียบเสียบเต้ารับแล้ว กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านขดลวดให้ความร้อน คือแถบลวดนิโครม หรือขดลวดความร้อน และจะถ่ายเทความร้อนให้กับแผ่นทับผ้า ทำให้แผ่นทับผ้าร้อน การตั้งอุณหภูมิให้มีความร้อนมากหรือน้อยเท่าไร ขึ้นอยู่ชนิดของผ้าที่จะรีด เช่นผ้าไนลอนหรือผ้าแพรต้องใช้อุณหภูมิไม่สูงมากนัก แต่ถ้าเป็นผ้าหนาต้องใช้อุณหภูมิสูง การตั้งความร้อนมีปุ่มปรับความร้อน ซึ่งจะไปกดแผ่นโลหะคู่ให้ตัดไฟตามอุณหภูมิที่ต้องการ <br />  ชนิดของเตารีดฟ้า<br />เตารีดไฟฟ้าแบ่งได้ 3 ชนิด คือ <br />1.เตารีดไฟฟ้าแบบธรรมดา เตารีดไฟฟ้าชนิดนี้เป็นเตารีดไฟฟ้าที่ให้ความร้อนแก่เตารีดตลอดเวลาไม่ สามารถปรับอุณหภูมิได้ เมื่อใช้เตารีดเสียบเต้ารับแล้วขดลวดความร้อนจะไห้ความร้อนตลอดเวลาเมื่อ ต้องการลดอุณหภูมิต้องดึงเต้าเสียบออก และถ้าต้องการเพิ่มอุณหภูมิก็ใช้เต้าเสียบเสียบเต้ารับใหม่อีกครั้ง ซึ่งเตารีดชนิดนี้ไม่นิยมกันเพราะเกิดอันตรายได้ง่าย <br />2.เตารีดไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ เตารีดชนิดนี้เป็นเตารีดไฟฟ้าที่มีเครื่องปรับอุณหภูมิหรือเทอร์โมสตัท สามารถตั้งอุณหภูมิตามที่ต้องการได้เพื่อให้ได้อุณหภูมิที่เหมาะสมกับผ้าที่ ต้องการรีด <br />3.เตารีดไฟฟ้าชนิดไอน้ำ เตารีดชนิดนี้เป็นเตารีดไฟฟ้าที่มีที่เก็บน้ำไว้ในตัวเตารีดด้วยทำให้ผู้ใช้ ไม่ต้องพรมน้ำตลอดเวลารีดผ้า เมื่อเตารีดร้อนก็จะทำให้น้ำภาชนะภายในที่เก็บเดือดเป็นไป เมื่อต้องการใช้น้ำก็กดปุ่มให้ไปน้ำพุ่งออกมา จึงรีดผ้าได้เรียบดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามที่ใช้ในเตารีดชนิดนี้ต้องเป็นน้ำสะอาด มิฉะนั้นแล้วจะเกิดเป็นตระกอนอุดตันได้ <br />หม้อหุงข้าวไฟฟ้า<br />........ <br />ส่วนประกอบของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า<br />หม้อหุงข้าวไฟฟ้ามีส่วนประกอบที่สำคัญ ได้แก่ แผ่นแผ่กระจายความร้อนหรือแผ่นความร้อน เทอร์โมสตัท ที่ใช้ควบคุมอุณหภูมิ สวิตซ ์ หลอดไฟบอกสภาวะการทำงาน หม้อหุงข้าวชั้นใน และ หม้อหุงข้าวชั้นนอก ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ <br />1.แผ่นความร้อน เป็นแผ่นโลหะผสมให้ความร้อนแก่หม้อหุงข้าวชั้นใน อยู่ส่วนล่างของหม้อ มีขดลวดความร้อนแฝงอยู่ในโลหะผสมนี้   ขดลวดความร้อนก็คือ ขดลวดนิโครม เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านความร้อนจากลวดนิโครมส่งไปยังแผ่นความร้อน บริเวณส่วนกลางของแผ่นความร้อนจะมีลักษณะเป็นช่องวงกลม ซึ่งเป็นช่องว่างของเทอร์โมสตัท <br />2.หลอดไฟบอกสภาวะการทำงาน โดยปกติมี 2 หลอดได้แก่ หลอดไฟที่ใช้กับวงจรการหุงข้าว และหลอดไฟที่ใช้กับวงจรอุ่นข้าว <br />3.หม้อข้าวชั้นใน ส่วนนี้มีความสำคัญมากทำด้วยอลูมิเนียมหรือโลหะผสม และต้องไม่บุบเบี้ยวง่าย มิฉะนั้นแล้วจะทำให้บริเวณก้นหม้อ สัมผัสกับความร้อนได้ไม่ดี <br />4.หม้อข้าวชั้นนอก ส่วนนี้ทำด้วยโลหะที่พ่นสีให้มีลวดลายที่สวยงาม และมีหูจับสองด้าน บริเวณด้านล่างติดกับแผ่นความร้อน มีสวิตซ์ติดอยู่และมีเต้าเสียบที่ใช้กับเต้ารับวงจรไฟฟ้าในบ้าน <br />5.เทอร์โมสตัท เป็นอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิความร้อนอัตโนมัติ การทำงานของเทอร์โมสตัทหม้อหุงข้าวไฟฟ้าต่างจากอุปกรณ์ชนิดอื่นๆเพราะไม่สามารถใช้แผ่นโลหะคู่ได้ <br />หลักการทำงานของเทอร์โมสตัท<br />  หลักการทำงานของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า<br />.เมื่อผู้ใช้ใส่ข้าวและน้ำในหม้อชั้นในตามสัดส่วนที่กำหนดและวางหม้อชั้นในลงในที่แล้วก้นหม้อจะกดเทอร์โมสตัทที่อยู่ตรงกลางของแผ่น  ความร้อน พร้อมที่จะทำงานเมื่อเรากดสวิตซ์ ON แล้ว คันกระเดื่องจะดันให้แท่งแม่เหล็กเลื่อนขึ้นไปดูดกับแท่งแม่เหล็กอันบนที่ อยู่ใน ทรงกระบอก ทำให้คันโยกปล่อยให้หน้าสัมผัสเตะกัน กระแสไฟฟ้าไหลผ่านจุดสัมผัสผ่านลวดความร้อน ทำให้แผ่นความร้อนมีอุณหภูมิสูงขึ้น เมื่อข้าวเดือดจะเกิดความร้อนสะสมอยู่ภายในหม้อมากและเนื่องจากเราใส่น้ำและ ข้าวสัดส่วนที่บริษัทผู้ผลิตกำหนดไว้ เมื่อน้ำเดือดกลายเป็นไอ ข้าวก็จะสุกพอดี เมื่อน้ำภายในหม้อหมดอุณหภูมิของหม้อชั้นในสูงเกิน 100 องศาเซลเซียสโดยสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะไม่มีน้ำคอยรักษาอุณหภูมิแล้ว ความร้อนภายในหม้อจะทำให้แท่งแม่เหล็กกลายสภาพเป็นแม่เหล็กขดสปริงก็ดันให้แท่งแม่เหล็กอันล่างเลือนลงคันกระเดื่องก็จะดันให้หน้าสัมผัสแยกออกจากกัน ทำให้วงจรเปิดของกระแสไฟฟ้าจึงไหลเข้าสู่ลวดความร้อนไม่ได้ ถึงแม้จะไม่มีไฟฟ้าผ่านภายใน  หม้อหุงข้าวยังมีความร้อนอยู่ จึงทำให้ข้าวสุกและระอุได้พอดีในหม้อหุงข้าวบางแบบ จะมีสวิตซ์อุ่นข้าวโดยมีเทอโมสตัทตัดวงจรไฟฟ้าแล้ว เปลี่ยนมาเป็นสวิตซ์อุ่นข้าวแทน <br />เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล<br />หลักการทำงานของ พัดลมไฟฟ้า ของ BMW E36<br />หลักการทำงานของ พัดลมไฟฟ้า สำหรับ 4 สูบ<br />1. ถ้าสวิทกุญแจอยู่ตำแหน่ง off (พร้อมที่จะดึงกุญแจออกได้) จากวงจร พัดลมมันจะดับครับ<br />2. ถ้าสวิทกุญแจอยู่ตำแหน่ง run (เช่น เวลาเราดับเครื่องโดยบิดกุญแจมากิ๊กเดียว ไม่ใช่ 2 กิ๊กมาตำแหน่ง off ) จะเป็นดังนี้<br />2.1 พัดลม high speed จะติดเมื่อ pressure ของน้ำยาแอร์ สูงกว่า 18 bar(จนกว่า pressure จะลงมาที่ 15 bar) quot;
หรือquot;
 อุณ. หม้อน้ำสูงกว่า 88 องศาc<br />2.2 พัดลม low speed จะติดเมื่อ high speed relay ไม่ได้ทำงานquot;
และquot;
 อุณ. หม้อน้ำสูงกว่า 80 องศาc<br />ข้อสังเกตุ 4 สูบจะใช้ motor ตัวเดียว แต่ใช้ R drop เอาสำหรับ low speed ของ 6 สูบ จะต่างกัน เดี๋ยวมาดูกัน<br />วิธีประหยัดไฟฟ้าเกี่ยวกับพัดลม<br />1. พฤติกรรมการใช้พัดลม<br />    1.1 เลิกเปิดพัดลมทิ้งไว้เมื่อไม่มีใครอยู่<br />    1.2 ถ้าใช้พัดลมที่มีระบบรีโมคอนโทรล ต้องถอดปลั๊กทันทีที่เลิกใช้งาน<br />    1.3 เปิดลมแรงให้กับพอดี เพราะยิ่งเปิดลมแรงขึ้น ยิ่งใช้ไฟมากขึ้น<br />2. การดูแลและบำรุงรักษาพัดลม<br />    2.1 หมั่นทำความสะอาดใบพัด ตะแกรงครอบและแผงหุ้มมอเตอร์ พัดลม อย่าให้มีฝุ่นเกาะ<br />    2.2 อย่าให้ใบพัดโค้งงอผิดส่วน ความแรงจะลดลง<br />    2.3 ตั้งพัดลมในที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก<br />3. การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง<br />    - เลือกซื้อพัดลมที่มีเครื่องหมายมาตรฐานรับรอง เพราะพัดลมที่ไม่ได้มาตรฐาน มักเสียง่าย และทำให้สิ้นเปลืองไฟฟ้า<br />การทำงานของ เครื่องปรับอากาศ <br />          1. คอมเพรสเซอร์ (Compressor) ของแอร์ แอร์บ้าน ทำหน้าที่ขับเคลื่อนสารทำ ความเย็นหรือน้ำยา (Refrigerant) ในระบบ โดยทำให้สารทำความเย็นมีอุณหภูมิ และความดันสูงขึ้น          2. คอยล์ร้อน (Condenser) ทำหน้าที่ระบายความร้อนของสารทำความเย็น          3. คอยล์เย็น (Evaporator) ทำหน้าที่ดูดซับความร้อนภายในห้องมาสู่สารทำความเย็น          4. อุปกรณ์ลดความดัน (Throttling Device) ทำหน้าที่ลดความดันและอุณหภูมิของสาร ทำความเย็น โดยทั่วไปจะใช้เป็น แค็ปพิลลารี่ทิ้วบ์ (Capillary tube) หรือ เอ็กสแปนชั่นวาล์ว (Expansion Valve)ระบบการทำความเย็นที่เรากำลังกล่าวถึงคือระบบอัดไอ (Vapor-Compression Cycle) ซึ่งมีหลักการทำงานง่ายๆคือ การทำให้สารทำความเย็น (น้ำยา) ไหลวนไปตามระบบ โดยผ่านส่วนประกอบหลักทั้ง 4 อย่างต่อเนื่องเป็น วัฏจักรการทำความเย็น (Refrigeration Cycle) โดยมีกระบวนการดังนี้<br />          1) เริ่มต้นโดยคอมเพรสเซอร์ทำหน้าที่ดูดและอัดสารทำความเย็นเพื่อเพิ่มความดัน และอุณหภูมิของน้ำยา แล้วส่งต่อเข้าคอยล์ร้อน          2) น้ำยาจะไหลวนผ่านแผงคอยล์ร้อนโดยมีพัดลมเป่าเพื่อช่วยระบายความร้อน ทำให้น้ำยาจะที่ออกจากคอยล์ร้อนมีอุณหภูมิลดลง (ความดันคงที่) จากนั้นจะถูกส่งต่อให้อุปกรณ์ลดความดัน          3) น้ำยาที่ไหลผ่านอุปกรณ์ลดความดันจะมีความดันและอุณหภูมิที่ต่ำมาก แล้วไหลเข้าสู่คอยล์เย็น (หรือที่นิยมเรียกกันว่า การฉีดน้ำยา)          4) จากนั้นน้ำยาจะไหลวนผ่านแผงคอยล์เย็นโดยมีพัดลมเป่าเพื่อช่วยดูดซับความร้อน จากภายในห้อง เพื่อทำให้อุณหภูมิห้องลดลง ซึ่งทำให้น้ำยาที่ออกจากคอยล์เย็นมีอุณหภูมิที่สูงขึ้น (ความดันคงที่) จากนั้นจะถูกส่งกลับเข้าคอมเพรสเซอร์เพื่อทำการหมุนเวียนน้ำยาต่อไปหลังจากที่เรารู้การทำงานของวัฏจักรการทำความเย็นแล้วก็พอจะสรุปง่ายๆได้ดังนี้          1) สารทำความเย็นหรือน้ำยา ทำหน้าที่เป็นตัวกลางดูดเอาความร้อนภายในห้อง (Indoor) ออกมานอกห้อง (Outdoor) จากนั้นน้ำยาจะถูกทำให้เย็นอีกครั้งแล้วส่งกลับเข้าห้องเพื่อดูดซับความร้อน อีก โดยกระบวนการนี้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตลอดการทำงานของคอมเพรสเซอร์          2) คอมเพรสเซอร์เป็นอุปกรณ์ชนิดเดียวในระบบที่ทำหน้าที่ขับเคลื่อนน้ำยาผ่าน ส่วนประกอบหลัก คือคอยล์ร้อน อุปกรณ์ลดความดัน และคอยล์เย็น โดยจะเริ่มทำงานเมื่ออุณหภูมิภายในห้องสูงเกินอุณหภูมิที่เราตั้งไว้ และจะหยุดทำงานเมื่ออุณหภูมิภายในห้องต่ำกว่าอุณหภูมิที่เราตั้งไว้ ดังนั้นคอมเพรสเซอร์จะเริ่ม และหยุดทำงานอยู่ตลอดเวลาเป็นระยะๆ เพื่อรักษาอุณหภูมิห้องให้สม่ำเสมอตามที่เราต้องการ<br />วิธีการประหยัดไฟจากเครื่องปรับอากาศ<br />การใช้เครื่องปรับอากาศให้มีความเย็นที่สบายต่อร่างกายจะประหยัดค่าไฟฟ้าอย่างได้ผล ซึ่งควรปฏิบัติดังนี้           - ควรเลือกใช้ขนาดที่เหมาะสมกับขนาดห้อง           - ควรใช้ผ้าม่านกั้นประตู หน้าต่าง เพื่อป้องกันความร้อนจากภายนอก           - ตั้งปุ่มปรับอุณหภูมิให้เหมาะสมต่อร่างกาย (ประมาณ 26 ํ C)           - หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศ           - ปฏิบัติตามคำแนะนำที่แนบมากับเครื่องปรับอากาศหมายเหตุ หากความชื้นอากาศภายในห้องมาก ทำให้เครื่องปรับอากาศทำงานหนักขึ้น<br />หลักการทำงานของเครื่องซักผ้า<br />ระบบการทำงานของเครื่องซักผ้า  เครื่องซักผ้าแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ เครื่องซักผ้าแบบกึ่ง อัตโนมัติและเครื่องซักผ้าแบบอัตโนมัติ เครื่องซักผ้าแต่ละชนิดมีหลักการทำงานที่แตกต่างกัน ดังนั้น<br /> เครื่องซักผ้าแบบกึ่งอัตโนมัติ <br />มีลักษณะเป็นเครื่องซักผ้าแบบถังตั้ง คือ ถังฝาเปิดอยู่ด้านบนประกอบด้วยถังสองถัง ถังหนึ่งสำหรับซักและอีกถังหนึ่งสำหรับปั่นแห้งหรือถังสลัดน้ำ ถังทั้งสองใบจะตั้งอยู่ในแนวตั้ง มีหลักการทำงาน คือ เครื่องจะดูดหรือปั๊มน้ำเข้าเครื่อง จากนั้นจะซักผ้าโดยการหมุนถังซักไปมาเพื่อทำให้เกิดแรงเหวี่ยงภายในจนเกิดการกระแทกระหว่างผ้า ผงซักฟอก และน้ำเพื่อให้ผ้าสะอาด เมื่อซักเสร็จก็จะถ่ายน้ำออกเพื่อนำน้ำดีเข้ามาอีก ซึ่งระยะเวลาที่ซักกับจำนวนรอบที่เปลี่ยนน้ำแล้วแต่การตั้งค่าของผู้ใช้งาน  ขั้นตอนสุดท้ายเครื่องซักผ้าจะถ่ายน้ำออกจนหมด จากนั้นผู้ใช้ต้องเปลี่ยนผ้าจากถังซักไปยังถังปั่นแห้ง ซึ่งจะหมุนปั่นผ้าด้วยความเร็วสูงเพื่อสลัดน้ำที่อยู่ในผ้าออกเพื่อให้ผ้าแห้งเร็วขึ้น<br />  เครื่องซักผ้าแบบอัตโนมัติ<br />          เครื่องซักผ้าแบบอัตโนมัติที่ใช้ในปัจจุบันแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ เครื่องซักผ้าแบบถังตั้งและเครื่องซักผ้าแบบถังนอน<br />1.เครื่องซักผ้าแบบถังตั้งลักษณะและระบบการทำงานเหมือนกับเครื่องซักผ้าแบบกึ่งอัตโนมัติแต่มีการปั่นแห้งหรือสลัดน้ำในถังเดียวกับถังสำหรับซักผ้าโดยในถังซักจะประกอบด้วยถัง 2 ชั้น โดยถังด้านในจะหมุน ส่วนถังด้านนอกจะอยู่กับที่ เครื่องซักผ้าแบบนี้จะปั่นแห้งสลับไปกับการซักผ้า จึงรีดน้ำออกจากเนื้อผ้าได้มากกว่าเครื่องซักผ้าแบบกึ่งอัตโนมัติ<br /> 2.เครื่องซักผ้าแบบถังนอนจะมีการซักผ้าและปั่นแห้งหรือสลัดน้ำในถังใบเดียวกัน โดยเครื่องซักผ้าแบบถังนอน ภายในเครื่องจะประกอบด้วยถัง 2 ชั้น ติดตั้งอยู่ในแนวนอน ขณะทำงานถังด้านนอกอยู่กับที่เพื่อใช้เก็บน้ำที่ดูดเข้ามา ส่วนถังในจะหมุนไปมาเพื่อให้ผ้าถูกเหวี่ยงขึ้นข้างบนแล้วตกลงมากระแทกกับน้ำและผงซักฟอก เพื่อให้ผ้าสะอาด เครื่องซักผ้าแบบนี้ไม่จำเป็นต้องใช้มอเตอร์ที่มีกำลังสูงเหมือนเครื่องซักผ้าแบบถังตั้ง เนื่องจากใช้หลักของแรงดึงดูดช่วยในการซัก<br />การประหยัด<br />วิธีใช้เครื่องซักผ้าไฟฟ้าให้ประหยัด ควรปฏิบัติดังนี้           - ควรใส่งผ้าที่จะซักตามคำแนะนำของแต่ละเครื่อง           - หากมีผ้าต้องซัก 1-2 วิ้น ควรซักด้วยมือ           - หากมีแสงแดดไม่ควรใช้เครื่องอบแห้ง ควรจะนำเสื้อผ้าที่ซักเสร็จมาตากแดด<br />หลักการทำงานของโทรทัศน์<br />โทรทัศน์จะมีการส่งสัญญาณภาพและเสียงมาด้วยกัน (แต่แยกความถี่ของการส่งที่ต่างกัน) โดยเมื่อมาถึงเครื่องรับสัญญาณดังกล่าวจะถูกแยกแยะไป โดยสัญญาณของเสียงก็จะไปเข้าที่ภาครับเสียง เพื่อทำการ ปรับแต่งลดและขยายสัญญาณให้มีความเหมาะสม ส่วนสัญญาณภาพจะถูกนำไปทำการปรับแต่งด้วยเช่นกัน เช่นสัญญาณสี และส่งต่อไปยังภาคขยายโดยการควบคุมขนาดของภาพให้มีความเหมาะสม โดยการส่งเข้าหน้าจอภาพนั้นจะใช้หลักการของการควบคุมภาพตามแนวตั้งและแนวนอน เพื่อให้เกิดการเบี่ยงเบนของลำแสงอิเล็กตรอนเพื่อให้เกิดภาพที่หน้าจอ โดยในแต่ละขั้นตอนและกระบวนการจะถูกควบคุมด้วยแหล่งจ่ายไฟเพื่อให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์<br />การประหยัด<br />  1.1 เลิกเปิดโทรทัศน์ทิ้งไว้โดยไม่มีคนดู    1.2 เลิกปรับจอภาพให้สว่างเกิดความจำเป็น เพราะหลอดภาพจะมีอายุการใช้งานสิ้นและสิ้นเปลืองไฟ    1.3 เลิกเปิดโทรทัศน์หลายเครื่องเพื่อดูเรื่องเดียวกันในเวลาเดียวกัน    1.4 เลิกเปิดโทรทัศน์ล่วงหน้าเพื่อรอดูรายการที่ชื่นชอบ เปิดดูรายการเมื่อถึงเวลาที่ออกอากาศ    1.5 เลิกปิดโทรทัศน์ด้วยตัวรีโมทคอนโทรล เพราะเปลืองไฟ ควรปิดสวิตช์ที่ตัวเครื่อง    1.6 เลิกเปิดโทรทัศน์โดยต่อสายผ่านเข้าเครื่องวิดีโอ เพราะต้องสิ้นเปลืองไฟฟ้าให้กับวีดีโอโดยไม่จำเป็น<br />พลังงานเสียง<br />หลักการทำงานของลำโพง<br />..ตัวลำโพง ประกอบด้วย โครงลำโพงและ จะมีแม่เหล็กถาวรติดอยู่ี พร้อมเหล็กปะกับบน-ล่าง ซึ่งจะมีแกนโผล่ขึ้นมาด้านบนทำให้เกิดเป็นช่องว่างแคบๆ เป็นวงกลมเราเรียกว่าช่องแก็ปแม่เหล็ก (Magnetic Gap) ซึ่งแรงแม่เหล็กทั้งหมดจะถูกส่งมารวมกันอย่างหนาแน่นที่ตรงนี้ ถ้าแม่เหล็กมีขนาดเล็กก็ให้แรงน้อย (วัตต์ต่ำ) ขนาดใหญ่ก็มีแรงมาก (วัตต์สูง) ในปัจจุบันจะมีลำโพงที่ออกแบบให้มีวัตต์สูงเป็นพิเศษ โดยใช้แม่เหล็กขนาดใหญ่ และบางแบบจะซ้อน 2 หรือ 3 ชั้น จะได้วัตต์สูงขึ้นอีกมาก<br />.วอยซ์คอยล์ คือขดลวดกำเนิดเสียง จะลอยอยู่ภายในช่องแก็ปแม่เหล็กนี้ ซึ่งมันจะรับพลังงานไฟฟ้าจากเครื่องขยายที่ป้อนเข้าไปจะทำให้มันเกิดอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้นโดยกลับขั้วไปมาตามสัญญาณทางไฟฟ้าที่ป้อนเข้ามา เพราะสัญญาณเอ้าพุทจากเครื่องขยายนั้นเป็นสัญญาณไฟสลับ ทำให้เกิดการดูดหรือผลักกันกับแม่เหล็กถาวรที่ก้นลำโพง เป็นการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล ส่งแรงการสั่นสะเทือนนี้ผ่านไปยังกรวย (Cone) ที่เชื่อมติดกับตัววอยซ์คอยล์อยู่ให้สั่นตามไปด้วย โดยมีสไปเดอร์ (Spider) และขอบ(Surround) เป็นตัวคอยยึดให้ทั้งชุดที่ขยับเข้าออกนี้ได้ศูนย์กลางอยู่ตลอดเวลาไม่เซไปเซมา เพื่อผลักอากาศให้เป็นคลื่นวิ่งมาเข้าหูของเราให้ได้ยินเป็นเสียงต่างๆนั่นเอง เจ้าตัววอยซ์คอยล์นี้ก็มีหลายแบบ คือ แบบ 2 ชั้น 4 ชั้น แบบเปลือกกระดาษ/ไฟเบอร์/ไมก้า หรือแบบเปลือกโลหะ แบบที่เป็น 4 ชั้นและมีเปลือกเป็นโลหะก็จะมีวัตต์สูงกว่า มีความทนทานมากกว่าแบบอื่น เพราะเมื่อวอยซ์คอยล์ทำงานไปนั้นมันจะมีความร้อนเกิดขึ้น ถ้าใช้วอยซ์ 4 ชั้นลวดจะมีขนาดใหญ่กว่ากระแสผ่านได้มากกว่า และมีเปลือกโลหะที่ช่วยระบายความร้อนออกจากขดลวดได้ก็จะได้วอยซ์คอยล์ที่มีความทนทานมากขึ้นอีกมาก<br />การประหยัด<br />หลักการทำงานของไมโครโฟน<br />ไมโครโฟนและลำโพง(Microphone,Speaker)ไมโครโฟน จะทำหน้าที่แปลงสัญญาณเสียงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า มีสัญลักษณ์คือ  ไมโครโฟนมีหลายชนิดเช่น คาร์บอน(Carbon) ใช้หลักการของตัวต้านทาน มีหลักการทำงานคือ สัญญาณเสียงที่เข้าสู่ไมโครโฟน จะทำให้ไดอะแฟรมเคลื่อนไหว แล้วเกิดแรงกดดันต่อแคปซูลที่บรรจุผงถ่านเปลี่ยนแปลง ทำให้ค่าความต่านทานของแคปซูลเปลี่ยนไป กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านแคปซูลก็จะเกิดสัญญาณความถี่สูงต่ำตามสัญญาณเสียงเป็น สัดส่วนเดียวกัน ไดนามิก(Dynamic) ใช้หลักการของไดนาโม มีหลักการทำงานคือ สัญญาณเสียงที่เข้าสู่ไมโครโฟน จะทำให้ไดอะแฟรมเคลื่อนที่ดันให้ขดลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กที่เกิดจาก แม่เหล็กทรงกระบอก ทำให้เกิดสัญญาณไฟฟ้าความถี่สูงต่ำตามสัญญาณเสียงที่ได้รับ คอนเดนเซอร์(Condenser) ใช้หลักการของตัวเก็บประจุ มีหลักการทำงานคือ สัญญาณเสียงที่เข้าสู่ไมโครโฟน จะทำให้ไดอะแฟรมเคลื่อนที่ดันให้ระยะห่าง ระหว่างแผ่นโลหะเปลี่ยนแปลง ทำให้ค่าความจุไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงไปตามสัญญาณเสียงที่ได้รับ คริ สตัล(Crystal) มีหลักการทำงานคือ สัญญาณเสียงที่เข้าสู่ไมโครโฟน จะทำให้แผ่นบางๆของ Piezo Electronic Material ถูกกดงอด้วยสัญญาณเสียง ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า ความถี่สูงต่ำตามสัญญาณเสียงที่ได้รับเป็นสัดส่วนเดียวกัน<br />พลังงานความร้อน<br />เตาไฟฟ้า<br />ตาเหนี่ยวนำ ไฟฟ้า หรือเตาแม่เหล็กไฟฟ้า อาศัยความร้อนจากการเหนี่ยวนำไฟฟ้า ที่ภาชนะที่เหนี่ยวนำไฟฟ้าได้ เช่น<br />เหล็ก หรือเหล็กสเตนเลสบางชนิด <br />อุปกรณ์ที่ไม่เหนี่ยวนำแม่เหล็ก จะไม่สามารถทำให้เกิดความร้อนได้  เช่นอลูมิเนียม แก้ว เซรามิค หรือเหล็กสเตนเลสหลายชนิด   <br />    เตาแม่เหล็ก ไฟฟ้า ให้พลังงานความร้อนได้รวดเร็วกว่าเตาแบบธรรมดา และสูญเสียพลังงานน้อยกว่า เช่น<br />ไม่มีความร้อนที่แผ่ไปในอากาศ เหมือนเตาความร้อนทั่วๆไป แต่พลังงานนั้นจะถ่ายทอดไปที่ตัวภาชนะโดยตรง <br />ที่สำคัญคือความเสี่ยง หรืออันตรายจากการไหม้ ลุกติดไฟ ยังลดลง เพราะเตาได้ความร้อนจริงๆ จากตัวภาชนะอีกที <br />พลังงานความร้อนเกิดขึ้น มีต้นกำเนิดจากกระแสไฟฟ้าที่ไปสร้างสนามแม่เหล็ก ที่เตาแม่เหล็กไฟฟ้า  <br />ขนาดกระแสไฟฟ้านี้จึงแปรผันตามความร้อนที่เกิดที่ตัวภาชนะ ตามหลักการเปลี่ยนรูปของพลังงาน<br />ฉะนั้นการควบคุมความร้อนจึงสามารถทำได้ โดยควบคุมขนาดกระแสไฟฟ้า ที่ผ่านไปที่ขดลวดเหนี่ยวนำไฟฟ้า<br />โดยเพิ่มหรือลดความต้านทานในวงจร อีกทั้งตรวจจับขนาดกระแสไฟฟ้า ที่ลดต่ำลงกรณียกภาชนะออก เพื่อปิดเตา โดยอัตโนมัติ   <br />การประหยัด<br />  1.ทำกับข้าวต้องมีแผนการประกอบอาหารแต่ละครั้ง ควรเตรียมเครื่องปรุงต่าง ๆ ให้พร้อมเสียก่อน แล้วจึงเปิดสวิตช์เตาไฟฟ้า ตั้งกระทะประกอบอาหารแต่ละอย่างติดต่อกันไปรวดเดียวจนเสร็จ2.ใช้ภาชนะก้นแบนภาชนะที่ใช้ควรเป็นชนิดก้นแบนพอดีกับเตา ไม่เล็ก ไม่ใหญ่จนเกินไป และใช้ภาชนะที่มีเนื้อโลหะรับความร้อนได้ดี ซึ่งถูกออกแบบให้ใช้กับเตาไฟฟ้า3.อาหารแช่แข็ง ทำให้หายแข็งก่อนโดยการนำอาหารลงมาแช่ที่ชั้นล่างก่อนการ ประกอบอาหารเป็นเวลานานพอสมควร4.ในการประกอบอาหารใส่น้ำแต่พอควร5.ควรใช้เตาชนิดมองไม่เห็นขดลวด เพราะจะไม่มีความร้อนสูญเปล่าและปลอดภัยกว่า6.อย่าเปิดเตาบ่อย ๆ และขณะใช้งานควรวางบนพื้นที่ทนไฟหรือไม่ติดไฟ7.ก่อนประกอบอาหารเสร็จควรปิดสวิตช์เตาไฟฟ้าเพราะความร้อนที่สะสมอยู่มีเพียงพอ8.ควรระวังไม่ให้ความร้อนจากเตาไฟฟ้าสัมผัสสายไฟฟ้า เพราะจะทำให้เปลือกสาย (ฉนวน) เสียหายได้และไม่ควรตั้งวางใกล้วัสดุติดไฟ เช่น กระดาษ <br />เตารีด<br />..โดยทั่วไปเตารีดไฟฟ้าเมื่อใช้เต้าเสียบเสียบเต้ารับแล้ว กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านขดลวดให้ความร้อน คือแถบลวดนิโครม หรือขดลวดความร้อน และจะถ่ายเทความร้อนให้กับแผ่นทับผ้า ทำให้แผ่นทับผ้าร้อน การตั้งอุณหภูมิให้มีความร้อนมากหรือน้อยเท่าไร ขึ้นอยู่ชนิดของผ้าที่จะรีด เช่นผ้าไนลอนหรือผ้าแพรต้องใช้อุณหภูมิไม่สูงมากนัก แต่ถ้าเป็นผ้าหนาต้องใช้อุณหภูมิสูง การตั้งความร้อนมีปุ่มปรับความร้อน ซึ่งจะไปกดแผ่นโลหะคู่ให้ตัดไฟตามอุณหภูมิที่ต้องการ<br />การประหยัด<br />ควรรีดผ้าคราวละมากๆ ติดต่อกันจนเสร็จ และควรเริ่มรีดผ้าบางๆ ก่อนในขณะที่เตารีดยังไม่ร้อน และก่อนรีดเสร็จประมาณ 2-3 นาทีให้ถอดปลั๊กออก<br />.2. เมื่อไม่ได้ใช้งานควรถอดปลั๊กออก และก่อนจะเก็บควรทิ้งให้เตารีดเย็นก่อน<br />หม้อหุงข้าวไฟฟ้า<br />เมื่อผู้ใช้ใส่ข้าวและน้ำในหม้อชั้นในตามสัดส่วนที่กำหนดและวางหม้อชั้นในลงในที่แล้วก้นหม้อจะกดเทอร์โมสตัทที่อยู่ตรงกลางของแผ่นความร้อน พร้อมที่จะทำงานเมื่อเรากดสวิตซ์ ON แล้ว คันกระเดื่องจะดันให้แท่งแม่เหล็กเลื่อนขึ้นไปดูดกับแท่งแม่เหล็กอันบนที่ อยู่ในทรงกระบอก ทำให้คันโยกปล่อยให้หน้าสัมผัสเตะกัน กระแสไฟฟ้าไหลผ่านจุดสัมผัสผ่านลวดความร้อน ทำให้แผ่นความร้อนมีอุณหภูมิสูงขึ้น เมื่อข้าวเดือดจะเกิดความร้อนสะสมอยู่ภายในหม้อมากและเนื่องจากเราใส่น้ำและ ข้าวสัดส่วนที่บริษัทผู้ผลิตกำหนดไว้ เมื่อน้ำเดือดกลายเป็นไอ ข้าวก็จะสุกพอดี เมื่อน้ำภายในหม้อหมดอุณหภูมิของหม้อชั้นในสูงเกิน 100 องศาเซลเซียสโดยสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะไม่มีน้ำคอยรักษาอุณหภูมิแล้ว ความร้อนภายในหม้อจะทำให้แท่งแม่เหล็กกลายสภาพเป็นแม่เหล็กขดสปริงก็ดันให้แท่งแม่เหล็กอันล่างเลือนลงคันกระเดื่องก็จะดันให้หน้าสัมผัสแยกออกจากกัน ทำให้วงจรเปิดของกระแสไฟฟ้าจึงไหลเข้าสู่ลวดความร้อนไม่ได้ ถึงแม้จะไม่มีไฟฟ้าผ่านภายในหม้อหุงข้าวยังมีความร้อนอยู่ จึงทำให้ข้าวสุกและระอุได้พอดีในหม้อหุงข้าวบางแบบ จะมีสวิตซ์อุ่นข้าวโดยมีเทอโมสตัทตัดวงจรไฟฟ้าแล้วเปลี่ยนมาเป็นสวิตซ์อุ่นข้าวแทน<br />
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 

Was ist angesagt? (20)

แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แนวข้อสอบการค้นคว้าอิสระ Ps796›
แนวข้อสอบการค้นคว้าอิสระ Ps796›แนวข้อสอบการค้นคว้าอิสระ Ps796›
แนวข้อสอบการค้นคว้าอิสระ Ps796›
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 

Andere mochten auch

ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า1560100453451
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้ากระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าadriamycin
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันPapungkorn
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า1560100453451
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.PdfKanoknat Kaosim
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าRattanapron Tacomdee
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านSujareenoot
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2rattanapon
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าrattanapon
 
การเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคารการเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคารChatu Tiktuk
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าRattanapron Tacomdee
 
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"Fátima Brás
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการjustymew
 

Andere mochten auch (20)

ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
 
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้ากระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
 
ใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหารใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหาร
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
การเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคารการเดินสายไฟในอาคาร
การเดินสายไฟในอาคาร
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
Resposta à Petição "( NÃO) PROGRESSÃO NA CARREIRA EM 2010"
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
 

Ähnlich wie เครื่องใช้ไฟฟ้า

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiriporn Somkrue
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.PdfPanatsaya
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong2012
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong20155
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าUp To You's Toey
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าUp To You's Toey
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าUp To You's Toey
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าtwosoraya25
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
งาน Sideshare
งาน Sideshareงาน Sideshare
งาน SideshareThananop
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าpeerada55
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1thanawan302
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอwantnan
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอBoyz Bill
 

Ähnlich wie เครื่องใช้ไฟฟ้า (20)

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งาน Sideshare
งาน Sideshareงาน Sideshare
งาน Sideshare
 
งาน Sideshare
งาน Sideshareงาน Sideshare
งาน Sideshare
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
Vvv
VvvVvv
Vvv
 

Mehr von aing_siripatra (15)

วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 

เครื่องใช้ไฟฟ้า

  • 1. เครื่องใช้ไฟฟ้า คือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปอื่น เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่<br />1. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง<br />2. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน<br />3. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล<br />4. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง<br />1 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง<br />หลอดไฟ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นแสงสว่างให้เราสามารถมองเห็นสิ่งต่างๆ ได้ ซึ่ง โธมัส เอดิสัน เป็นผู้ประดิษฐ์หลอดไฟเป็นครั้งแรก โดยใช้คาร์บอนเส้นเล็กๆ เป็นไส้หลอดและได้มีการพัฒนาเรื่อยมาเป็นลำดับ<br />รูป หลอดไฟของเอดิสัน<br />ประเภทของหลอดไฟ<br />1. หลอดไฟฟ้าธรรมดา มีไส้หลอดที่ทำด้วยลวดโลหะที่มีจุดหลอมเหลวสูง เช่น ทังสเตนเส้นเล็กๆ ขดเอาไว้เหมือนขดลวดสปริงภายในหลอดแก้วสูบอากาศออกหมดแล้วบรรจุก๊าซเฉื่อย เช่น อาร์กอน (Ar) ไว้ ก๊าซนี้ช่วยป้องกันไม่ให้หลอดไฟฟ้าดำ ลักษณะของหลอดไฟเป็นดังรูป<br />หลักการทำงานของหลอดไฟฟ้าธรรมดา<br />กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอดซึ่งมีความต้านทานสูง พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ทำให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสงออกมาได้ การเปลี่ยนพลังงานเป็นดังนี้<br />พลังงานไฟฟ้า >>>พลังงานความร้อน >>>พลังงานแสง<br />2. หลอดเรื่องแสง หรือ หลอดฟลูออเรสเซนต์ (fluorescent) เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสงสว่าง ซึ่งมีการประดิษฐ์ในปี ค.ศ. 1938 โดยมีรูปร่างหลายแบบ อาจทำเป็นหลอดตรง สั้น ยาว ขดเป็นวงกลมหรือครึ่งวงกลม เป็นต้น<br />ส่วนประกอบของหลอดเรืองแสง<br />ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยู่ที่ปลายทั้ง 2 ข้าง ของหลอดแก้ว ซึ่งผิวภายในของหลอดฉาบด้วยสารเรื่องแสง อากาศในหลอดแก้วถูกสูบออกจนหมดแล้วใส่ไอปรอทไว้เล็กน้อย ดังรูป<br />หลักการทำงานของหลอดเรืองแสง<br />เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดทำให้ปรอทที่บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไอปรอทได้จะคายพลังงานไฟฟ้าให้ไอปรอท ทำให้อะตอมของไอปรอทอยู่ในภาวะถูกกระตุ้น และอะตอมปรอทจะคายพลังงานออกมาเพื่อลดระดับพลังงานของตนในรูปของรังสีอัลตราไวโอเลต เมื่อรังสีดังกล่าวกระทบสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวในของหลอดเรืองแสงนั้นก็จะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสีต่างๆ ตามชนิดของสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ภายในหลอดนั้น เช่น แคดเมียมบอเรทจะให้แสงสีชมพู ซิงค์ซิลิเคทให้แสงสีเขียว แมกนีเซียมทังสเตนให้แสงสีขาวอมฟ้า และยังอาจผสมสารเหล่านี้เพื่อให้ได้สีผสมที่แตกต่างออกไปอีกด้วย<br />อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อให้หลอดเรืองแสงทำงาน<br />1. สตาร์ตเตอร์ (starter) ทำหน้าที่เป็นสวิตซ์อัตโนมัติในขณะหลอดเรืองแสง ยังไม่ติดและหยุดทำงานเมื่อหลอดติดแล้ว<br />2. แบลลัสต์ (Ballast) ทำหน้าที่เพิ่มความต่างศักย์ เพื่อให้หลอดไฟเรืองแสงติดในตอนแรกและทำหน้าที่ ควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอด ให้ลดลงเมื่อหลอดติดแล้ว<br />2. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน<br />ส่วน ประกอบที่สำคัญจากเตารีดไฟฟ้า เตารีดไฟฟ้าประกอบด้วยส่วนประกอบที่สำคัญ คือ แผ่นความเทอร์โมสตัท แผ่นขดลวดความร้อน แผ่นทับผ้า และปุ่มปรับความร้อนเตารีดไฟฟ้าใช้แผ่นขดลวดความร้อนทำด้วยลวดนิโครมแผ่น แบนๆ วงสับไปมาไม่ได้ทำเป็นขดลวดเหมือนเตาไฟฟ้า หรือ อาจที่เรียกว่า ไส้เตารีด ซึ่งจะสอดอยู่ภายในระหว่างไมก้า (Mica) 2 แผ่น ไมก้านี้เป็นวัตถุทนไฟและเป็นฉนวนด้วย <br /> เหตุ ที่ต้องใช้ไมก้ามากั้นนั้น เนื่องจากเตารีดต้องการน้ำหนังจึงจะทำให้ผ้าเรียบได้ ดังนั้นเตารีดจะมีเฉพาะแต่ไส้เตารีดจึงต้องมีฐานโลหะที่หนัง เมื่อไส้เตารีดร้อนก็จะทำให้ฐานโลหะร้อนตามด้วย <br />หลักการทำงานของเตารีดไฟฟ้า<br />โดย ทั่วไปเตารีดไฟฟ้าเมื่อใช้เต้าเสียบเสียบเต้ารับแล้ว กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านขดลวดให้ความร้อน คือแถบลวดนิโครม หรือขดลวดความร้อน และจะถ่ายเทความร้อนให้กับแผ่นทับผ้า ทำให้แผ่นทับผ้าร้อน การตั้งอุณหภูมิให้มีความร้อนมากหรือน้อยเท่าไร ขึ้นอยู่ชนิดของผ้าที่จะรีด เช่นผ้าไนลอนหรือผ้าแพรต้องใช้อุณหภูมิไม่สูงมากนัก แต่ถ้าเป็นผ้าหนาต้องใช้อุณหภูมิสูง การตั้งความร้อนมีปุ่มปรับความร้อน ซึ่งจะไปกดแผ่นโลหะคู่ให้ตัดไฟตามอุณหภูมิที่ต้องการ <br />  ชนิดของเตารีดฟ้า<br />เตารีดไฟฟ้าแบ่งได้ 3 ชนิด คือ <br />1.เตารีดไฟฟ้าแบบธรรมดา เตารีดไฟฟ้าชนิดนี้เป็นเตารีดไฟฟ้าที่ให้ความร้อนแก่เตารีดตลอดเวลาไม่ สามารถปรับอุณหภูมิได้ เมื่อใช้เตารีดเสียบเต้ารับแล้วขดลวดความร้อนจะไห้ความร้อนตลอดเวลาเมื่อ ต้องการลดอุณหภูมิต้องดึงเต้าเสียบออก และถ้าต้องการเพิ่มอุณหภูมิก็ใช้เต้าเสียบเสียบเต้ารับใหม่อีกครั้ง ซึ่งเตารีดชนิดนี้ไม่นิยมกันเพราะเกิดอันตรายได้ง่าย <br />2.เตารีดไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ เตารีดชนิดนี้เป็นเตารีดไฟฟ้าที่มีเครื่องปรับอุณหภูมิหรือเทอร์โมสตัท สามารถตั้งอุณหภูมิตามที่ต้องการได้เพื่อให้ได้อุณหภูมิที่เหมาะสมกับผ้าที่ ต้องการรีด <br />3.เตารีดไฟฟ้าชนิดไอน้ำ เตารีดชนิดนี้เป็นเตารีดไฟฟ้าที่มีที่เก็บน้ำไว้ในตัวเตารีดด้วยทำให้ผู้ใช้ ไม่ต้องพรมน้ำตลอดเวลารีดผ้า เมื่อเตารีดร้อนก็จะทำให้น้ำภาชนะภายในที่เก็บเดือดเป็นไป เมื่อต้องการใช้น้ำก็กดปุ่มให้ไปน้ำพุ่งออกมา จึงรีดผ้าได้เรียบดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามที่ใช้ในเตารีดชนิดนี้ต้องเป็นน้ำสะอาด มิฉะนั้นแล้วจะเกิดเป็นตระกอนอุดตันได้ <br />หม้อหุงข้าวไฟฟ้า<br />........ <br />ส่วนประกอบของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า<br />หม้อหุงข้าวไฟฟ้ามีส่วนประกอบที่สำคัญ ได้แก่ แผ่นแผ่กระจายความร้อนหรือแผ่นความร้อน เทอร์โมสตัท ที่ใช้ควบคุมอุณหภูมิ สวิตซ ์ หลอดไฟบอกสภาวะการทำงาน หม้อหุงข้าวชั้นใน และ หม้อหุงข้าวชั้นนอก ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ <br />1.แผ่นความร้อน เป็นแผ่นโลหะผสมให้ความร้อนแก่หม้อหุงข้าวชั้นใน อยู่ส่วนล่างของหม้อ มีขดลวดความร้อนแฝงอยู่ในโลหะผสมนี้ ขดลวดความร้อนก็คือ ขดลวดนิโครม เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านความร้อนจากลวดนิโครมส่งไปยังแผ่นความร้อน บริเวณส่วนกลางของแผ่นความร้อนจะมีลักษณะเป็นช่องวงกลม ซึ่งเป็นช่องว่างของเทอร์โมสตัท <br />2.หลอดไฟบอกสภาวะการทำงาน โดยปกติมี 2 หลอดได้แก่ หลอดไฟที่ใช้กับวงจรการหุงข้าว และหลอดไฟที่ใช้กับวงจรอุ่นข้าว <br />3.หม้อข้าวชั้นใน ส่วนนี้มีความสำคัญมากทำด้วยอลูมิเนียมหรือโลหะผสม และต้องไม่บุบเบี้ยวง่าย มิฉะนั้นแล้วจะทำให้บริเวณก้นหม้อ สัมผัสกับความร้อนได้ไม่ดี <br />4.หม้อข้าวชั้นนอก ส่วนนี้ทำด้วยโลหะที่พ่นสีให้มีลวดลายที่สวยงาม และมีหูจับสองด้าน บริเวณด้านล่างติดกับแผ่นความร้อน มีสวิตซ์ติดอยู่และมีเต้าเสียบที่ใช้กับเต้ารับวงจรไฟฟ้าในบ้าน <br />5.เทอร์โมสตัท เป็นอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิความร้อนอัตโนมัติ การทำงานของเทอร์โมสตัทหม้อหุงข้าวไฟฟ้าต่างจากอุปกรณ์ชนิดอื่นๆเพราะไม่สามารถใช้แผ่นโลหะคู่ได้ <br />หลักการทำงานของเทอร์โมสตัท<br />  หลักการทำงานของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า<br />.เมื่อผู้ใช้ใส่ข้าวและน้ำในหม้อชั้นในตามสัดส่วนที่กำหนดและวางหม้อชั้นในลงในที่แล้วก้นหม้อจะกดเทอร์โมสตัทที่อยู่ตรงกลางของแผ่น ความร้อน พร้อมที่จะทำงานเมื่อเรากดสวิตซ์ ON แล้ว คันกระเดื่องจะดันให้แท่งแม่เหล็กเลื่อนขึ้นไปดูดกับแท่งแม่เหล็กอันบนที่ อยู่ใน ทรงกระบอก ทำให้คันโยกปล่อยให้หน้าสัมผัสเตะกัน กระแสไฟฟ้าไหลผ่านจุดสัมผัสผ่านลวดความร้อน ทำให้แผ่นความร้อนมีอุณหภูมิสูงขึ้น เมื่อข้าวเดือดจะเกิดความร้อนสะสมอยู่ภายในหม้อมากและเนื่องจากเราใส่น้ำและ ข้าวสัดส่วนที่บริษัทผู้ผลิตกำหนดไว้ เมื่อน้ำเดือดกลายเป็นไอ ข้าวก็จะสุกพอดี เมื่อน้ำภายในหม้อหมดอุณหภูมิของหม้อชั้นในสูงเกิน 100 องศาเซลเซียสโดยสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะไม่มีน้ำคอยรักษาอุณหภูมิแล้ว ความร้อนภายในหม้อจะทำให้แท่งแม่เหล็กกลายสภาพเป็นแม่เหล็กขดสปริงก็ดันให้แท่งแม่เหล็กอันล่างเลือนลงคันกระเดื่องก็จะดันให้หน้าสัมผัสแยกออกจากกัน ทำให้วงจรเปิดของกระแสไฟฟ้าจึงไหลเข้าสู่ลวดความร้อนไม่ได้ ถึงแม้จะไม่มีไฟฟ้าผ่านภายใน หม้อหุงข้าวยังมีความร้อนอยู่ จึงทำให้ข้าวสุกและระอุได้พอดีในหม้อหุงข้าวบางแบบ จะมีสวิตซ์อุ่นข้าวโดยมีเทอโมสตัทตัดวงจรไฟฟ้าแล้ว เปลี่ยนมาเป็นสวิตซ์อุ่นข้าวแทน <br />เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล<br />หลักการทำงานของ พัดลมไฟฟ้า ของ BMW E36<br />หลักการทำงานของ พัดลมไฟฟ้า สำหรับ 4 สูบ<br />1. ถ้าสวิทกุญแจอยู่ตำแหน่ง off (พร้อมที่จะดึงกุญแจออกได้) จากวงจร พัดลมมันจะดับครับ<br />2. ถ้าสวิทกุญแจอยู่ตำแหน่ง run (เช่น เวลาเราดับเครื่องโดยบิดกุญแจมากิ๊กเดียว ไม่ใช่ 2 กิ๊กมาตำแหน่ง off ) จะเป็นดังนี้<br />2.1 พัดลม high speed จะติดเมื่อ pressure ของน้ำยาแอร์ สูงกว่า 18 bar(จนกว่า pressure จะลงมาที่ 15 bar) quot; หรือquot; อุณ. หม้อน้ำสูงกว่า 88 องศาc<br />2.2 พัดลม low speed จะติดเมื่อ high speed relay ไม่ได้ทำงานquot; และquot; อุณ. หม้อน้ำสูงกว่า 80 องศาc<br />ข้อสังเกตุ 4 สูบจะใช้ motor ตัวเดียว แต่ใช้ R drop เอาสำหรับ low speed ของ 6 สูบ จะต่างกัน เดี๋ยวมาดูกัน<br />วิธีประหยัดไฟฟ้าเกี่ยวกับพัดลม<br />1. พฤติกรรมการใช้พัดลม<br /> 1.1 เลิกเปิดพัดลมทิ้งไว้เมื่อไม่มีใครอยู่<br /> 1.2 ถ้าใช้พัดลมที่มีระบบรีโมคอนโทรล ต้องถอดปลั๊กทันทีที่เลิกใช้งาน<br /> 1.3 เปิดลมแรงให้กับพอดี เพราะยิ่งเปิดลมแรงขึ้น ยิ่งใช้ไฟมากขึ้น<br />2. การดูแลและบำรุงรักษาพัดลม<br /> 2.1 หมั่นทำความสะอาดใบพัด ตะแกรงครอบและแผงหุ้มมอเตอร์ พัดลม อย่าให้มีฝุ่นเกาะ<br /> 2.2 อย่าให้ใบพัดโค้งงอผิดส่วน ความแรงจะลดลง<br /> 2.3 ตั้งพัดลมในที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก<br />3. การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง<br /> - เลือกซื้อพัดลมที่มีเครื่องหมายมาตรฐานรับรอง เพราะพัดลมที่ไม่ได้มาตรฐาน มักเสียง่าย และทำให้สิ้นเปลืองไฟฟ้า<br />การทำงานของ เครื่องปรับอากาศ <br />          1. คอมเพรสเซอร์ (Compressor) ของแอร์ แอร์บ้าน ทำหน้าที่ขับเคลื่อนสารทำ ความเย็นหรือน้ำยา (Refrigerant) ในระบบ โดยทำให้สารทำความเย็นมีอุณหภูมิ และความดันสูงขึ้น          2. คอยล์ร้อน (Condenser) ทำหน้าที่ระบายความร้อนของสารทำความเย็น          3. คอยล์เย็น (Evaporator) ทำหน้าที่ดูดซับความร้อนภายในห้องมาสู่สารทำความเย็น          4. อุปกรณ์ลดความดัน (Throttling Device) ทำหน้าที่ลดความดันและอุณหภูมิของสาร ทำความเย็น โดยทั่วไปจะใช้เป็น แค็ปพิลลารี่ทิ้วบ์ (Capillary tube) หรือ เอ็กสแปนชั่นวาล์ว (Expansion Valve)ระบบการทำความเย็นที่เรากำลังกล่าวถึงคือระบบอัดไอ (Vapor-Compression Cycle) ซึ่งมีหลักการทำงานง่ายๆคือ การทำให้สารทำความเย็น (น้ำยา) ไหลวนไปตามระบบ โดยผ่านส่วนประกอบหลักทั้ง 4 อย่างต่อเนื่องเป็น วัฏจักรการทำความเย็น (Refrigeration Cycle) โดยมีกระบวนการดังนี้<br />          1) เริ่มต้นโดยคอมเพรสเซอร์ทำหน้าที่ดูดและอัดสารทำความเย็นเพื่อเพิ่มความดัน และอุณหภูมิของน้ำยา แล้วส่งต่อเข้าคอยล์ร้อน          2) น้ำยาจะไหลวนผ่านแผงคอยล์ร้อนโดยมีพัดลมเป่าเพื่อช่วยระบายความร้อน ทำให้น้ำยาจะที่ออกจากคอยล์ร้อนมีอุณหภูมิลดลง (ความดันคงที่) จากนั้นจะถูกส่งต่อให้อุปกรณ์ลดความดัน          3) น้ำยาที่ไหลผ่านอุปกรณ์ลดความดันจะมีความดันและอุณหภูมิที่ต่ำมาก แล้วไหลเข้าสู่คอยล์เย็น (หรือที่นิยมเรียกกันว่า การฉีดน้ำยา)          4) จากนั้นน้ำยาจะไหลวนผ่านแผงคอยล์เย็นโดยมีพัดลมเป่าเพื่อช่วยดูดซับความร้อน จากภายในห้อง เพื่อทำให้อุณหภูมิห้องลดลง ซึ่งทำให้น้ำยาที่ออกจากคอยล์เย็นมีอุณหภูมิที่สูงขึ้น (ความดันคงที่) จากนั้นจะถูกส่งกลับเข้าคอมเพรสเซอร์เพื่อทำการหมุนเวียนน้ำยาต่อไปหลังจากที่เรารู้การทำงานของวัฏจักรการทำความเย็นแล้วก็พอจะสรุปง่ายๆได้ดังนี้          1) สารทำความเย็นหรือน้ำยา ทำหน้าที่เป็นตัวกลางดูดเอาความร้อนภายในห้อง (Indoor) ออกมานอกห้อง (Outdoor) จากนั้นน้ำยาจะถูกทำให้เย็นอีกครั้งแล้วส่งกลับเข้าห้องเพื่อดูดซับความร้อน อีก โดยกระบวนการนี้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตลอดการทำงานของคอมเพรสเซอร์          2) คอมเพรสเซอร์เป็นอุปกรณ์ชนิดเดียวในระบบที่ทำหน้าที่ขับเคลื่อนน้ำยาผ่าน ส่วนประกอบหลัก คือคอยล์ร้อน อุปกรณ์ลดความดัน และคอยล์เย็น โดยจะเริ่มทำงานเมื่ออุณหภูมิภายในห้องสูงเกินอุณหภูมิที่เราตั้งไว้ และจะหยุดทำงานเมื่ออุณหภูมิภายในห้องต่ำกว่าอุณหภูมิที่เราตั้งไว้ ดังนั้นคอมเพรสเซอร์จะเริ่ม และหยุดทำงานอยู่ตลอดเวลาเป็นระยะๆ เพื่อรักษาอุณหภูมิห้องให้สม่ำเสมอตามที่เราต้องการ<br />วิธีการประหยัดไฟจากเครื่องปรับอากาศ<br />การใช้เครื่องปรับอากาศให้มีความเย็นที่สบายต่อร่างกายจะประหยัดค่าไฟฟ้าอย่างได้ผล ซึ่งควรปฏิบัติดังนี้           - ควรเลือกใช้ขนาดที่เหมาะสมกับขนาดห้อง           - ควรใช้ผ้าม่านกั้นประตู หน้าต่าง เพื่อป้องกันความร้อนจากภายนอก           - ตั้งปุ่มปรับอุณหภูมิให้เหมาะสมต่อร่างกาย (ประมาณ 26 ํ C)           - หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศ           - ปฏิบัติตามคำแนะนำที่แนบมากับเครื่องปรับอากาศหมายเหตุ หากความชื้นอากาศภายในห้องมาก ทำให้เครื่องปรับอากาศทำงานหนักขึ้น<br />หลักการทำงานของเครื่องซักผ้า<br />ระบบการทำงานของเครื่องซักผ้า เครื่องซักผ้าแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ เครื่องซักผ้าแบบกึ่ง อัตโนมัติและเครื่องซักผ้าแบบอัตโนมัติ เครื่องซักผ้าแต่ละชนิดมีหลักการทำงานที่แตกต่างกัน ดังนั้น<br /> เครื่องซักผ้าแบบกึ่งอัตโนมัติ <br />มีลักษณะเป็นเครื่องซักผ้าแบบถังตั้ง คือ ถังฝาเปิดอยู่ด้านบนประกอบด้วยถังสองถัง ถังหนึ่งสำหรับซักและอีกถังหนึ่งสำหรับปั่นแห้งหรือถังสลัดน้ำ ถังทั้งสองใบจะตั้งอยู่ในแนวตั้ง มีหลักการทำงาน คือ เครื่องจะดูดหรือปั๊มน้ำเข้าเครื่อง จากนั้นจะซักผ้าโดยการหมุนถังซักไปมาเพื่อทำให้เกิดแรงเหวี่ยงภายในจนเกิดการกระแทกระหว่างผ้า ผงซักฟอก และน้ำเพื่อให้ผ้าสะอาด เมื่อซักเสร็จก็จะถ่ายน้ำออกเพื่อนำน้ำดีเข้ามาอีก ซึ่งระยะเวลาที่ซักกับจำนวนรอบที่เปลี่ยนน้ำแล้วแต่การตั้งค่าของผู้ใช้งาน ขั้นตอนสุดท้ายเครื่องซักผ้าจะถ่ายน้ำออกจนหมด จากนั้นผู้ใช้ต้องเปลี่ยนผ้าจากถังซักไปยังถังปั่นแห้ง ซึ่งจะหมุนปั่นผ้าด้วยความเร็วสูงเพื่อสลัดน้ำที่อยู่ในผ้าออกเพื่อให้ผ้าแห้งเร็วขึ้น<br /> เครื่องซักผ้าแบบอัตโนมัติ<br /> เครื่องซักผ้าแบบอัตโนมัติที่ใช้ในปัจจุบันแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ เครื่องซักผ้าแบบถังตั้งและเครื่องซักผ้าแบบถังนอน<br />1.เครื่องซักผ้าแบบถังตั้งลักษณะและระบบการทำงานเหมือนกับเครื่องซักผ้าแบบกึ่งอัตโนมัติแต่มีการปั่นแห้งหรือสลัดน้ำในถังเดียวกับถังสำหรับซักผ้าโดยในถังซักจะประกอบด้วยถัง 2 ชั้น โดยถังด้านในจะหมุน ส่วนถังด้านนอกจะอยู่กับที่ เครื่องซักผ้าแบบนี้จะปั่นแห้งสลับไปกับการซักผ้า จึงรีดน้ำออกจากเนื้อผ้าได้มากกว่าเครื่องซักผ้าแบบกึ่งอัตโนมัติ<br /> 2.เครื่องซักผ้าแบบถังนอนจะมีการซักผ้าและปั่นแห้งหรือสลัดน้ำในถังใบเดียวกัน โดยเครื่องซักผ้าแบบถังนอน ภายในเครื่องจะประกอบด้วยถัง 2 ชั้น ติดตั้งอยู่ในแนวนอน ขณะทำงานถังด้านนอกอยู่กับที่เพื่อใช้เก็บน้ำที่ดูดเข้ามา ส่วนถังในจะหมุนไปมาเพื่อให้ผ้าถูกเหวี่ยงขึ้นข้างบนแล้วตกลงมากระแทกกับน้ำและผงซักฟอก เพื่อให้ผ้าสะอาด เครื่องซักผ้าแบบนี้ไม่จำเป็นต้องใช้มอเตอร์ที่มีกำลังสูงเหมือนเครื่องซักผ้าแบบถังตั้ง เนื่องจากใช้หลักของแรงดึงดูดช่วยในการซัก<br />การประหยัด<br />วิธีใช้เครื่องซักผ้าไฟฟ้าให้ประหยัด ควรปฏิบัติดังนี้           - ควรใส่งผ้าที่จะซักตามคำแนะนำของแต่ละเครื่อง           - หากมีผ้าต้องซัก 1-2 วิ้น ควรซักด้วยมือ           - หากมีแสงแดดไม่ควรใช้เครื่องอบแห้ง ควรจะนำเสื้อผ้าที่ซักเสร็จมาตากแดด<br />หลักการทำงานของโทรทัศน์<br />โทรทัศน์จะมีการส่งสัญญาณภาพและเสียงมาด้วยกัน (แต่แยกความถี่ของการส่งที่ต่างกัน) โดยเมื่อมาถึงเครื่องรับสัญญาณดังกล่าวจะถูกแยกแยะไป โดยสัญญาณของเสียงก็จะไปเข้าที่ภาครับเสียง เพื่อทำการ ปรับแต่งลดและขยายสัญญาณให้มีความเหมาะสม ส่วนสัญญาณภาพจะถูกนำไปทำการปรับแต่งด้วยเช่นกัน เช่นสัญญาณสี และส่งต่อไปยังภาคขยายโดยการควบคุมขนาดของภาพให้มีความเหมาะสม โดยการส่งเข้าหน้าจอภาพนั้นจะใช้หลักการของการควบคุมภาพตามแนวตั้งและแนวนอน เพื่อให้เกิดการเบี่ยงเบนของลำแสงอิเล็กตรอนเพื่อให้เกิดภาพที่หน้าจอ โดยในแต่ละขั้นตอนและกระบวนการจะถูกควบคุมด้วยแหล่งจ่ายไฟเพื่อให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์<br />การประหยัด<br />  1.1 เลิกเปิดโทรทัศน์ทิ้งไว้โดยไม่มีคนดู    1.2 เลิกปรับจอภาพให้สว่างเกิดความจำเป็น เพราะหลอดภาพจะมีอายุการใช้งานสิ้นและสิ้นเปลืองไฟ    1.3 เลิกเปิดโทรทัศน์หลายเครื่องเพื่อดูเรื่องเดียวกันในเวลาเดียวกัน    1.4 เลิกเปิดโทรทัศน์ล่วงหน้าเพื่อรอดูรายการที่ชื่นชอบ เปิดดูรายการเมื่อถึงเวลาที่ออกอากาศ    1.5 เลิกปิดโทรทัศน์ด้วยตัวรีโมทคอนโทรล เพราะเปลืองไฟ ควรปิดสวิตช์ที่ตัวเครื่อง    1.6 เลิกเปิดโทรทัศน์โดยต่อสายผ่านเข้าเครื่องวิดีโอ เพราะต้องสิ้นเปลืองไฟฟ้าให้กับวีดีโอโดยไม่จำเป็น<br />พลังงานเสียง<br />หลักการทำงานของลำโพง<br />..ตัวลำโพง ประกอบด้วย โครงลำโพงและ จะมีแม่เหล็กถาวรติดอยู่ี พร้อมเหล็กปะกับบน-ล่าง ซึ่งจะมีแกนโผล่ขึ้นมาด้านบนทำให้เกิดเป็นช่องว่างแคบๆ เป็นวงกลมเราเรียกว่าช่องแก็ปแม่เหล็ก (Magnetic Gap) ซึ่งแรงแม่เหล็กทั้งหมดจะถูกส่งมารวมกันอย่างหนาแน่นที่ตรงนี้ ถ้าแม่เหล็กมีขนาดเล็กก็ให้แรงน้อย (วัตต์ต่ำ) ขนาดใหญ่ก็มีแรงมาก (วัตต์สูง) ในปัจจุบันจะมีลำโพงที่ออกแบบให้มีวัตต์สูงเป็นพิเศษ โดยใช้แม่เหล็กขนาดใหญ่ และบางแบบจะซ้อน 2 หรือ 3 ชั้น จะได้วัตต์สูงขึ้นอีกมาก<br />.วอยซ์คอยล์ คือขดลวดกำเนิดเสียง จะลอยอยู่ภายในช่องแก็ปแม่เหล็กนี้ ซึ่งมันจะรับพลังงานไฟฟ้าจากเครื่องขยายที่ป้อนเข้าไปจะทำให้มันเกิดอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้นโดยกลับขั้วไปมาตามสัญญาณทางไฟฟ้าที่ป้อนเข้ามา เพราะสัญญาณเอ้าพุทจากเครื่องขยายนั้นเป็นสัญญาณไฟสลับ ทำให้เกิดการดูดหรือผลักกันกับแม่เหล็กถาวรที่ก้นลำโพง เป็นการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล ส่งแรงการสั่นสะเทือนนี้ผ่านไปยังกรวย (Cone) ที่เชื่อมติดกับตัววอยซ์คอยล์อยู่ให้สั่นตามไปด้วย โดยมีสไปเดอร์ (Spider) และขอบ(Surround) เป็นตัวคอยยึดให้ทั้งชุดที่ขยับเข้าออกนี้ได้ศูนย์กลางอยู่ตลอดเวลาไม่เซไปเซมา เพื่อผลักอากาศให้เป็นคลื่นวิ่งมาเข้าหูของเราให้ได้ยินเป็นเสียงต่างๆนั่นเอง เจ้าตัววอยซ์คอยล์นี้ก็มีหลายแบบ คือ แบบ 2 ชั้น 4 ชั้น แบบเปลือกกระดาษ/ไฟเบอร์/ไมก้า หรือแบบเปลือกโลหะ แบบที่เป็น 4 ชั้นและมีเปลือกเป็นโลหะก็จะมีวัตต์สูงกว่า มีความทนทานมากกว่าแบบอื่น เพราะเมื่อวอยซ์คอยล์ทำงานไปนั้นมันจะมีความร้อนเกิดขึ้น ถ้าใช้วอยซ์ 4 ชั้นลวดจะมีขนาดใหญ่กว่ากระแสผ่านได้มากกว่า และมีเปลือกโลหะที่ช่วยระบายความร้อนออกจากขดลวดได้ก็จะได้วอยซ์คอยล์ที่มีความทนทานมากขึ้นอีกมาก<br />การประหยัด<br />หลักการทำงานของไมโครโฟน<br />ไมโครโฟนและลำโพง(Microphone,Speaker)ไมโครโฟน จะทำหน้าที่แปลงสัญญาณเสียงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า มีสัญลักษณ์คือ  ไมโครโฟนมีหลายชนิดเช่น คาร์บอน(Carbon) ใช้หลักการของตัวต้านทาน มีหลักการทำงานคือ สัญญาณเสียงที่เข้าสู่ไมโครโฟน จะทำให้ไดอะแฟรมเคลื่อนไหว แล้วเกิดแรงกดดันต่อแคปซูลที่บรรจุผงถ่านเปลี่ยนแปลง ทำให้ค่าความต่านทานของแคปซูลเปลี่ยนไป กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านแคปซูลก็จะเกิดสัญญาณความถี่สูงต่ำตามสัญญาณเสียงเป็น สัดส่วนเดียวกัน ไดนามิก(Dynamic) ใช้หลักการของไดนาโม มีหลักการทำงานคือ สัญญาณเสียงที่เข้าสู่ไมโครโฟน จะทำให้ไดอะแฟรมเคลื่อนที่ดันให้ขดลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กที่เกิดจาก แม่เหล็กทรงกระบอก ทำให้เกิดสัญญาณไฟฟ้าความถี่สูงต่ำตามสัญญาณเสียงที่ได้รับ คอนเดนเซอร์(Condenser) ใช้หลักการของตัวเก็บประจุ มีหลักการทำงานคือ สัญญาณเสียงที่เข้าสู่ไมโครโฟน จะทำให้ไดอะแฟรมเคลื่อนที่ดันให้ระยะห่าง ระหว่างแผ่นโลหะเปลี่ยนแปลง ทำให้ค่าความจุไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงไปตามสัญญาณเสียงที่ได้รับ คริ สตัล(Crystal) มีหลักการทำงานคือ สัญญาณเสียงที่เข้าสู่ไมโครโฟน จะทำให้แผ่นบางๆของ Piezo Electronic Material ถูกกดงอด้วยสัญญาณเสียง ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า ความถี่สูงต่ำตามสัญญาณเสียงที่ได้รับเป็นสัดส่วนเดียวกัน<br />พลังงานความร้อน<br />เตาไฟฟ้า<br />ตาเหนี่ยวนำ ไฟฟ้า หรือเตาแม่เหล็กไฟฟ้า อาศัยความร้อนจากการเหนี่ยวนำไฟฟ้า ที่ภาชนะที่เหนี่ยวนำไฟฟ้าได้ เช่น<br />เหล็ก หรือเหล็กสเตนเลสบางชนิด <br />อุปกรณ์ที่ไม่เหนี่ยวนำแม่เหล็ก จะไม่สามารถทำให้เกิดความร้อนได้ เช่นอลูมิเนียม แก้ว เซรามิค หรือเหล็กสเตนเลสหลายชนิด <br /> เตาแม่เหล็ก ไฟฟ้า ให้พลังงานความร้อนได้รวดเร็วกว่าเตาแบบธรรมดา และสูญเสียพลังงานน้อยกว่า เช่น<br />ไม่มีความร้อนที่แผ่ไปในอากาศ เหมือนเตาความร้อนทั่วๆไป แต่พลังงานนั้นจะถ่ายทอดไปที่ตัวภาชนะโดยตรง <br />ที่สำคัญคือความเสี่ยง หรืออันตรายจากการไหม้ ลุกติดไฟ ยังลดลง เพราะเตาได้ความร้อนจริงๆ จากตัวภาชนะอีกที <br />พลังงานความร้อนเกิดขึ้น มีต้นกำเนิดจากกระแสไฟฟ้าที่ไปสร้างสนามแม่เหล็ก ที่เตาแม่เหล็กไฟฟ้า <br />ขนาดกระแสไฟฟ้านี้จึงแปรผันตามความร้อนที่เกิดที่ตัวภาชนะ ตามหลักการเปลี่ยนรูปของพลังงาน<br />ฉะนั้นการควบคุมความร้อนจึงสามารถทำได้ โดยควบคุมขนาดกระแสไฟฟ้า ที่ผ่านไปที่ขดลวดเหนี่ยวนำไฟฟ้า<br />โดยเพิ่มหรือลดความต้านทานในวงจร อีกทั้งตรวจจับขนาดกระแสไฟฟ้า ที่ลดต่ำลงกรณียกภาชนะออก เพื่อปิดเตา โดยอัตโนมัติ <br />การประหยัด<br /> 1.ทำกับข้าวต้องมีแผนการประกอบอาหารแต่ละครั้ง ควรเตรียมเครื่องปรุงต่าง ๆ ให้พร้อมเสียก่อน แล้วจึงเปิดสวิตช์เตาไฟฟ้า ตั้งกระทะประกอบอาหารแต่ละอย่างติดต่อกันไปรวดเดียวจนเสร็จ2.ใช้ภาชนะก้นแบนภาชนะที่ใช้ควรเป็นชนิดก้นแบนพอดีกับเตา ไม่เล็ก ไม่ใหญ่จนเกินไป และใช้ภาชนะที่มีเนื้อโลหะรับความร้อนได้ดี ซึ่งถูกออกแบบให้ใช้กับเตาไฟฟ้า3.อาหารแช่แข็ง ทำให้หายแข็งก่อนโดยการนำอาหารลงมาแช่ที่ชั้นล่างก่อนการ ประกอบอาหารเป็นเวลานานพอสมควร4.ในการประกอบอาหารใส่น้ำแต่พอควร5.ควรใช้เตาชนิดมองไม่เห็นขดลวด เพราะจะไม่มีความร้อนสูญเปล่าและปลอดภัยกว่า6.อย่าเปิดเตาบ่อย ๆ และขณะใช้งานควรวางบนพื้นที่ทนไฟหรือไม่ติดไฟ7.ก่อนประกอบอาหารเสร็จควรปิดสวิตช์เตาไฟฟ้าเพราะความร้อนที่สะสมอยู่มีเพียงพอ8.ควรระวังไม่ให้ความร้อนจากเตาไฟฟ้าสัมผัสสายไฟฟ้า เพราะจะทำให้เปลือกสาย (ฉนวน) เสียหายได้และไม่ควรตั้งวางใกล้วัสดุติดไฟ เช่น กระดาษ <br />เตารีด<br />..โดยทั่วไปเตารีดไฟฟ้าเมื่อใช้เต้าเสียบเสียบเต้ารับแล้ว กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านขดลวดให้ความร้อน คือแถบลวดนิโครม หรือขดลวดความร้อน และจะถ่ายเทความร้อนให้กับแผ่นทับผ้า ทำให้แผ่นทับผ้าร้อน การตั้งอุณหภูมิให้มีความร้อนมากหรือน้อยเท่าไร ขึ้นอยู่ชนิดของผ้าที่จะรีด เช่นผ้าไนลอนหรือผ้าแพรต้องใช้อุณหภูมิไม่สูงมากนัก แต่ถ้าเป็นผ้าหนาต้องใช้อุณหภูมิสูง การตั้งความร้อนมีปุ่มปรับความร้อน ซึ่งจะไปกดแผ่นโลหะคู่ให้ตัดไฟตามอุณหภูมิที่ต้องการ<br />การประหยัด<br />ควรรีดผ้าคราวละมากๆ ติดต่อกันจนเสร็จ และควรเริ่มรีดผ้าบางๆ ก่อนในขณะที่เตารีดยังไม่ร้อน และก่อนรีดเสร็จประมาณ 2-3 นาทีให้ถอดปลั๊กออก<br />.2. เมื่อไม่ได้ใช้งานควรถอดปลั๊กออก และก่อนจะเก็บควรทิ้งให้เตารีดเย็นก่อน<br />หม้อหุงข้าวไฟฟ้า<br />เมื่อผู้ใช้ใส่ข้าวและน้ำในหม้อชั้นในตามสัดส่วนที่กำหนดและวางหม้อชั้นในลงในที่แล้วก้นหม้อจะกดเทอร์โมสตัทที่อยู่ตรงกลางของแผ่นความร้อน พร้อมที่จะทำงานเมื่อเรากดสวิตซ์ ON แล้ว คันกระเดื่องจะดันให้แท่งแม่เหล็กเลื่อนขึ้นไปดูดกับแท่งแม่เหล็กอันบนที่ อยู่ในทรงกระบอก ทำให้คันโยกปล่อยให้หน้าสัมผัสเตะกัน กระแสไฟฟ้าไหลผ่านจุดสัมผัสผ่านลวดความร้อน ทำให้แผ่นความร้อนมีอุณหภูมิสูงขึ้น เมื่อข้าวเดือดจะเกิดความร้อนสะสมอยู่ภายในหม้อมากและเนื่องจากเราใส่น้ำและ ข้าวสัดส่วนที่บริษัทผู้ผลิตกำหนดไว้ เมื่อน้ำเดือดกลายเป็นไอ ข้าวก็จะสุกพอดี เมื่อน้ำภายในหม้อหมดอุณหภูมิของหม้อชั้นในสูงเกิน 100 องศาเซลเซียสโดยสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะไม่มีน้ำคอยรักษาอุณหภูมิแล้ว ความร้อนภายในหม้อจะทำให้แท่งแม่เหล็กกลายสภาพเป็นแม่เหล็กขดสปริงก็ดันให้แท่งแม่เหล็กอันล่างเลือนลงคันกระเดื่องก็จะดันให้หน้าสัมผัสแยกออกจากกัน ทำให้วงจรเปิดของกระแสไฟฟ้าจึงไหลเข้าสู่ลวดความร้อนไม่ได้ ถึงแม้จะไม่มีไฟฟ้าผ่านภายในหม้อหุงข้าวยังมีความร้อนอยู่ จึงทำให้ข้าวสุกและระอุได้พอดีในหม้อหุงข้าวบางแบบ จะมีสวิตซ์อุ่นข้าวโดยมีเทอโมสตัทตัดวงจรไฟฟ้าแล้วเปลี่ยนมาเป็นสวิตซ์อุ่นข้าวแทน<br />